พุทธศาสนากับสิ่งแวดล้อม Buddhism and the Environment หมู่ 2 ดร.ธีรตั ม์ แสงแก้ว ผูบ้ รรยาย สรุปบทเรียน บทนา.

Download Report

Transcript พุทธศาสนากับสิ่งแวดล้อม Buddhism and the Environment หมู่ 2 ดร.ธีรตั ม์ แสงแก้ว ผูบ้ รรยาย สรุปบทเรียน บทนา.

พุทธศาสนากับสิ่งแวดล้อม
Buddhism and the Environment
01388222
หมู่ 2
ดร.ธีรตั ม์ แสงแก้ว
ผูบ้ รรยาย
สรุปบทเรียน
2
บทนา
2
ท่าทีต่าง ๆ ของมนุษย์ทม่ี ตี ่อธรรมชาติ โดย
ยึดมนุษย์เป็ นศูนย์กลาง นันคื
่ อ มิจฉาทิฎฐิ
หมายถึง การเห็นผิดเป็นชอบ
จริงๆแล้วมนุษย์กบั ธรรมชาติดารงชีวติ ได้ตอ้ ง
พึง่ พาอาศัยกัน
เพราะฉะนัน้ เราต้องปรับความคิดให้เป็ น
สัมมาทิฎฐิ ซึง่ หมายถึง การเห็นชอบ เห็นถูกต้อง
ตามทานองคลองธรรม
4
บทที่ 1
ลักษณะทัวไปของ
่
พระพุทธศาสนาและสิ่งแวดล้อม
พระพุทธศาสนามีความสัมพันธ์กบั ธรรมชาติ ธรรมชาติมี
ความเกีย่ วข้องทัง้ ประวัตพิ ระพุทธศาสนา และการแสวงหาคุณค่า
ทางชีวติ ของพระพุทธสาวกทัง้ หลาย ล้วนอาศัยธรรมชาติ เช่น
แม่น้า ปา่ ไม้ ถ้า ภูเขา เป็ นต้น
หากมนุษย์มคี ุณธรรมก็จะปฏิบตั ติ ่อธรรมชาติเช่นนัน้
ถ้ามนุษย์ทาลายธรรมชาติ จะเท่ากับว่ามนุษย์เราทาลายมนุ ษย์
ด้วยกันเอง ในทีส่ ดุ เผ่าพันธุม์ นุษย์จะสูญพันธุไ์ ปในที่สดุ
เพือ่ การอยูอ่ ย่างยังยื
่ นต่อไปและมนุษย์ทเ่ี กิดมาใหม่จาเป็ นต้องอนุรกั ษ์
6
และทดแทนคุณธรรมชาติทส่ี ญ
ู เสียไป
5
บทที่ 2
ปัญหาสิ่งแวดล้อมและ
การแก้ไขปัญหาปัจจุบนั
7
ปั ญหาสิง่ แวดล้อมในปั จจุบนั มีมากมาย
ทัง้ ปั ญหาขยะ ปั ญหาระบบนิเวศ ปั ญหามลพิษ
และอีกมากมาย
พวกเราในฐานะที่เป็ นส่วนหนึง่ ของสิง่ แวดล้อม
และต้องพึง่ พาสิง่ แวดล้อม ต้องหันมาช่วยกันอนุรกั ษ์
สิง่ แวดล้อมกัน โดยใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รวมไปถึงใช้วิธีการศึกษาและปลูกฝั งจริยธรรม
เพือ่ ให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างยัง่ ยืนและไม่
ก่อให้เกิดปั ญหาต่อสิง่ แวดล้อม
7
8
บทที่ 3 พระพุทธศาสนากับป่ าไม้
9
ความสาคัญและการอนุรกั ษ์ป่าไม้นนั้ สามารถศึกษา
ได้จากประวัติทางศาสนา พระสงฆ์ผูเ้ ป็ นสาวกของพระพุทธเจ้า
รวมถึงพระธรรมวินยั
หลักธรรมคาสอนเรือ่ งความเมตตา ความเอื้อเฟื้ อ
ความกตัญญูกตเวที และความเสียสละเพือ่ ส่วนรวม
ซึง่ จะมาเป็ นสิง่ ที่ช่วยมนุษย์ในการพัฒนาจิตใจ
ให้เกิดจิตสานึกและตระหนักถึงในคุณค่าตลอดจน
ความสาคัญของธรรมชาติแวดล้อม
10
บทที่ 4
พระพุทธศาสนากับสัตว์
11
พระพุทธเจ้าทรงเคยเกิดเป็ นสัตว์ชนิดต่างๆ
ครัง้ แล้วครัง้ เล่า เช่น ช้าง ลิง นก กระต่ายและอีก
มากมาย ในสังสารวัฏไม่มีใครอ้างได้วา่ ไม่เคย
เกิดเป็ นสัตว์ จึงกล่าวได้วา่ มนุษย์กบั สัตว์
ทัง้ หลายเป็ นพี่นอ้ งกัน เป็ นครอบครัวเดียวกัน
และต้องพึ่งพาอาศัยซึง่ กันและกัน เราซึง่ เป็ น
มนุษย์จะต้องนึกถึงใจเขาใจเรา เราจะต้องไม่ฆ่า
สัตว์เพราะการฆ่านัน้ จะเป็ นการสัง่ สมความ
โหดร้าย เกิดมาอีกในชาติภพใหม่จะมีอายุสนั้
ถ้าอยากอายุยนื ก็รูไ้ ว้วา่ อย่าทากรรมชัว่
11
13
12
บทที่ 5 พระพุทธศาสนากับการอนุรกั ษ์นา้
ชาวพุทธเชือ่ ว่านา้ เป็ นธาตุหนึ่งในบรรดาธาตุส่ี การให้นา้ แก่ผทู ้ ่ี
กระหายเป็ นบุญกุศล
ในพระธรรมวินยั ของพระสงฆ์ได้มีการกล่าวถึงสิง่ ทีห่ า้ มกระทา
กับแหล่งนา้ ตัวอย่างพระธรรมวินยั เช่น ห้ามพระสงฆ์ทาลายต้นไม้
ห้ามไม่ให้ขุดดิน ห้ามถ่ายอุจจาระ ปั สสาวะ หรือบ้วนนา้ ลายลงใน
แม่นา้ เป็ นต้น
ในคัมภีรท์ างพระพุทธศาสนา สะท้อนให้เห็นถึงความสาคัญ
ของแหล่งนา้ และมีความพยายามที่จะรักษาแหล่งทรัพยากรด้วยความ
เคารพและตระหนักที่จะอนุรกั ษ์แหล่งนา้ ไว้ให้ดที ่ีสดุ
14
บทที่ 6
ปรัชญาสิง่ แวดล้อม
ในพระพุทธศาสนา
15
ปรัชญาสิง่ แวดล้อมในพระพุทธศาสนานัน้
เป็ นการมองมนุษย์กบั ธรรมชาติตา่ งพึ่งพาอาศัย
ซึง่ กันและกัน ไม่สามารถแยกออกจากกันได้
เพราะมนุษย์เป็ นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ พุทธ
ปรัชญาจึงมองธรรมชาติแบบองค์รวม
คาสอนพื้นฐานทางพระพุทธศาสนา คือ
ไตรลักษณ์ เป็ นกฎธรรมดาของสรรพสิง่ ทัง้ ปวง
ได้แก่ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
16
ขันธ์ 5 สิง่ ทีเ่ ป็ นนามธรรมและรูปธรรมทีร่ วมกันเป็ นชีวติ
ได้แก่ รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาขขันธ์
ปฏิจจสมุปบาท สิง่ ทีอ่ งิ กันอาศัยกันเกิดขึ้น
ซึง่ พระพุทธศาสนาปฏิเสธเหตุผล 3 ข้อ
1. บังเอิญ
2. เทพดลบันดาล
3. กรรมเก่า
อริยสัจ4 ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ
ได้แก่ ทุกข์ สมุทยั นิโรธ มรรค
17
บทที่ 7
หลักการแก้ไขปั ญหา
และการอนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อม
18
หลักจริยธรรมทางพุทธศาสนา จะมาเป็ นสิง่ ทีท่ าให้จติ ใจมนุษย์มี
คุขค่ายิง่ ขึ้น
ซึง่ มีหลักคาสอนพื้นฐาน คือ
1. ความกตัญญูกตเวที เป็ นหลักธรรมทีเ่ น้นให้มนุษย์เห็นคุขค่า
ของธรรมชาติ เพราะธรรมชาติมีบุญคุขต่อมนุษย์
2.หลักการรูจ้ กั การประมาณในการบริโภค หรือ โภชเนมัตตัญญุ
ตา เป็ นการเดินทางสายกลาง ไม่บริโภคตามความต้องการของตน
หรือสนองตัขหาของตน
19
3. ศีล5 เน้นการอยูร่ ว่ มกันระหว่างมนุษย์กบั ธรรมชาติ
4. หลักสันโดษ ความพอใจในสิง่ ทีต่ นหามาได้
5. หลักอหิงสา การไม่เบียดเบียนซึง่ กันและกันระหว่างมนุษย์กบั ธรรมชาติ
6. เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ ช่วยให้มนุษย์รูจ้ กั ธรรมชาติในระดับที่
จาเป็ นมาสนองความต้องการเท่านัน้
7. สมาธิ การทาจิตใจให้บริสุทธิ์ ทาให้การกระทาผิด
ทางกายและวาจาลดลง
8. ปั ญญา ความรูท้ วั่ ถึงเหตุถึงผล ทาให้รูว้ า่ สิง่ ใดควรทาไม่ควรทา
นิพพาน สภาพทีด่ บั กิเลสและทุกข์แล้ว
20
บทที่ 8
พระสงฆ์กบั การอนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อม
21
พระสงฆ์ในทุกๆรูปที่ได้กล่าวไว้ในบทที่ 8 เป็ นผูม้ ี
บทบาทและเป็ นแกนนาในการอนุ รกั ษ์ส่ิงแวดล้อมทาง
ธรรมชาติ และยัง ท าหน้า ที่พ ฒ
ั นาศี ล ธรรม ยกระดับ
จิตใจให้กบั ชุมชนต่างๆ เพื่อให้มีความรับผิดชอบชัว่ ดี
มีระเบียบวินยั ในการดารงชีวติ
ในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมนัน้ จะสาเร็จได้ ต้องอาศัย
ความรู ค้ วามเข้า ใจ ความส านึ ก คุข ค่า ของธรรมชาติ
ตลอดจนความร่วมมือจากชาวบ้านในชุมชน
21
22
พุทธทาสภิกขุ พระอาจารย์ปสันโน ภิ23กขุ
ข้อเสนอแนะ
24
จากที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จะเห็นได้ว่ามนุษย์และ
ธรรมชาติเป็ นพี่นอ้ งกัน มนุษย์กบั ธรรมชาติจะอยู่ได้ก็
ต้องพึ่งพากันและกัน ธรรมชาติไม่ ได้เป็ นของใครเพียง
คนเดีย ว พวกเราในฐานะผู เ้ ป็ นมนุ ษ ย์ จะต้อ งมี จิต ใจ
ส านึ ก รัก หวงแหน ดู แ ล ท านุ บ ารุ ง และทดแทน
คุณธรรมชาติ เพือ่ ให้ธรรมชาติอยู่อย่างยัง่ ยืนยาวต่อไป
25
มนุษย์ สัตว์ ธรรมชาติ
ดารงอยูอ่ ย่างอิงอาศัยซึ่งกันและกัน
ขอให้โชคดีในการสอบได้เกรด A ทุกคน
สวัสดี
27