ประโยชน์ของการแกว่งแขน

Download Report

Transcript ประโยชน์ของการแกว่งแขน

Slide 1

From: [email protected]
Date: Thu, 18 Feb 2010 09:45:29 +0700

เรามาแกว่งแขนบาบัดวันละ 15 นาทีก่อนเริ่ มงานกันเถอะ
---------------------------ประโยชน์ของการแกว่งแขน
ผมเป็ นคน นอนไม่ค่อยหลับ และความดันโลหิ ตสู ง
ผมเกือบตายเพราะเชื่อหมอสมัยใหม่ จนต้องเข้าห้องไอซี ยเู ป็ นเวลา 7 วัน
หลังจากนั้น ผมเสื่ อมศรัทธาหมอสมัยใหม่ ผมจาเป็ นต้องมีทางออก
มิถุนายน 2547
ภรรยาผม เป็ นทันตแพทย์ มาบอกผมว่า มีคนไข้ที่เป็ น โรคความดันโลหิ ตสู ง
และคลอเรสตรอรอล สู ง ได้หายจากโรคดังกล่าวภายใน 3 เดือน โดยการแก่วงแขน วันละ 2, 000 ครั้ง ทุกวัน ผมไม่
ค่อยสนใจเท่าไหร่
กรกฎาคม . 2547
ผมได้ไปงานวันเกิดของลุงของภรรยา ลุงอายุ 83 ปี แต่สุขภาพและท่าทาง
ไม่ต่างจากคนอายุ 40 ปี เคลื่อนไหวว่องไว พูดจาเสี ยงดังฟังชัด
มิหนาซ้ ายังขับรถไปไหมมาไหนเอง ผมก็เลยถามลุงว่า
ลุงมีเคล็ดลับในการบารุ งสุ ขภาพ อย่างไร ? ลุงบอกว่า ลุงแกว่งแขนวันละ 1,000 ครั้ง ทุกวัน
ผมก็เริ่ มสนใจว่าการแก่วงแขนเป็ นอย่างไร
ก็เลยเดินหาหนังสื อเกี่ยวกับเรื่ องนี้ บังเอิญโชคดี ไปเจอในร้านหนังสื อเล็ก
ราคา 20 บาท แล้ว ผมก็ ฝึ กการแก่วงแขน ตามหนังสื อช่วง 15 นาทีก่อนนอน จานวน
1,000 ครั้งทุกวัน ผมนอนหลับได้สนิททุกคืน
มิหนาซ้ ายังต้องนอนกลางวันหลังอาหารเที่ยงอีก
19 สิ งหาคม 2547
ผมกินอาหารกลางวัน ปรากฏว่าผม เจ็บขากรรไกรด้านขวาขณะเคี้ยวอาหาร


Slide 2

 คล้ายๆกระดูกบนล่าง หลุดออกจากกันและกัน ทาให้เวลาเคี้ยวจึงเจ็บปวดมาก ผมรี บไปโรงพยาบาลศิคริ นทร์ หมอผูเ้ ชี่ยวชาญติดประชุม ผมต้อง
รอครึ่ งชัว่ โมง ขณะที่รอนั้น ผมโทรบอกภรรยาเกี่ยวกับอาการดังกล่าว
 ภรรยาผมบอกให้กลับบ้านเถอะ เพราะประเทศไทยยังไม่มีหมอผูเ้ ชี่ยวชาญบริ เวณขากรรไกร อย่างมาก หมอก็ให้ยาคลายกล้ามเนื้อและยาแก้ปวด
ผมก็ไม่เชื่อ จนผมได้พบหมอ ก็เป็ นจริ งอย่างที่ภรรยาผมพูด หมอให้ยาคลายกล้ามเนื้อและยาแก้ปวด ตอนเย็นผมทรมานมากในการกินอาหาร
แล้ว ก่อนนอนผมก็แกว่งแขนตามปกติ ขณะที่แกว่ง ก็เกิดความคิดว่า น่าจะเอากล้ามเนื้อไหล่ชนบริ เวณหลังหู ได้ผลครับ ภายใน 3 วัน อาการเจ็บ
ขาก รรไกรหาย โดยไม่ได้กินยาสักเม็ด
 6 ธันวาคม 2547
 ตื่นมาตอนเช้า เป็ นหวัดน้ ามูกไหลพร้อมจาม ในวันนั้นไปเล่นกอล์ฟกับลูกค้า
 ผมจามจนหมดแรง ขณะเล่นกอล์ฟ จนเล่นไม่ไหว จึงขอกลับก่อนในสภาพที่แย่มาก คืนนั้นผมก็แก่วงแขนตามปกติ และก็เกิดความคิดอีก ว่า การ
แกว่งแขน ก็เหมือนทาชี่กง คือพลังงานอยูท่ ี่มือหลังการทาชี่กง
 แกว่งแขนก็น่าจะเป็ นเหมือนกัน ดังนั้นพอ แกว่งแขนเสร็ จ
 ผมก็ใช้มือทั้งสองถูกนั จนเกิดความร้อน แล้วเอามือทั้งสองโปะที่จมูก
 เพื่อรักษาอาการหวัด แล้วถูใหม่ แล้วโปะอีก อย่างนั้นอยู่ 5 ครั้ง
 ตื่นเช้าขึ้นมา ไม่ปรากฏอาการหวัดเหลืออยูเ่ ลย
 และลูกค้าที่ผมเล่นกอลฟ์ ด้วยเมื่อวานมาเจอผม เขางงมากที่ผมหายภายในข้ามคืน
 14 ธันวาคม 2547
 ตอนบ่าย รู ้สึก เจ็บคอด้านซ้าย คล้ายอาการหวัด อีกครั้ง ผมก็ทาอีกครั้ง
 แต่เอามือทั้งสองลูบบริ เวณคอด้านซ้าย ทาอยู่ 5 ครั้ง ตื่นเช้าขึ้นมา
 ไม่ปรากฏอาการเจ็บคอเหลืออยูเ่ ลย
 ในช่วง ธันวาคม 2547 ถึง มกราคม 2548 ผมผ่านการเป็ นหวัด 4 ครั้ง
 แล้วก็หายภายในข้ามคืนทั้งสี่ ครั้ง ซึ่ งโดยปกติ
 การเป็ นหวัดครั้งหนึ่งจะใช้เวลาประมาณ 7 ถึง 10 วัน ถึงจะหาย
 มีอยูช่ ่วงหนึ่ง ผมมีอาการ เสี ยวฟันกราม ล่างซ้าย
 ภรรยาผมก็ตรวจดูวา่ มีฟันผุหรื อหิ นปูนเกาะหรื อเปล่า ปรากฏว่าไม่มีความผิดปกติใดๆ แต่ก็ยงั เสี ยวฟันซี่ น้ ีอยู่ ตอนช่วง แกว่งแขน
 ผมก็ใช้วธิ ี เดิมคือการให้กล้ามเนื้อไหล่กระแทกต้นคอด้านซ้าย
 อาการเสี ยวฟันดังกล่าวก็หายไป อาการ เหนื่อยง่าย
 ผมได้ กลั้นหายใจ ในขณะแกว่งแขน ประมาณ 30 รอบของการแกว่งแขน
 ทุกๆการแกว่งแขน 100 ครั้ง จากนั้นก็ปล่อยลมหายใจออกมา


Slide 3


























ผมรู ้สึกความร้อนวิง่ จากต้นคอขึ้นไปทัว่ สมอง นี่หรื อเปล่า
ที่ทาให้เส้นเลือดในสมองได้มีโอกาสออกกาลังกาย คือให้ มีการยืดหยุน่
ทาให้รักษาความดันโลหิ ตสู ง ขณะเดียวกัน อาการเหนื่อยง่ายของผมก็หายไป ผมได้แชร์ ประสบการณ์น้ ีให้คุณพิชยั ซึ่ งเขาเป็ น โรคปั สสาวะไม่สุด
และภรรยาเขาเป็ น โรค นอนไม่หลับสนิท คือนอนได้ 2-3 ชัว่ โมงแล้วก็ตื่น
พอเขาไป แกว่งแขน 1,000 ครั้งต่อวันสม่าเสมอ หนึ่งสัปดาห์ต่อมา
ผมก็เจอคุณพิชยั อีก ผมก็ถาม อาการปั สสาวะไม่สุด ข องเขาอีก
ปรากฏว่าเขาลืมปั ญหานี้ไปแล้ว เพราะมัน หายไปตั้งแต่สองวันแรกที่เขาแกว่งแขน ขณะเดียวกัน ภรรยาเขาก็นอนหลับได้สนิททุกคืน
ปั จจุบนั ทั้งคู่ก็ยงั คงแกว่งแขนวันละ 1,000 ครั้ง
และคุณพิชยั ได้ไปเหมาหนังสื อนี้ท้ งั หมดที่สานักพิมพ์มีอยู่ เพื่อนาไปแจกเพื่อนๆอีกคนหนึ่งคือคุณธานี ซึ่ งผมได้บอกเรื่ องการแกว่งแขนให้เขาฟัง
แล้วเขาก็เอาไปบอกให้พอ่ เขาซึ่ งมี อาการปวดเข่า หลังจากนั้น พ่อเขาแกว่งแขน ประมาณ 3 วัน พ่อเขาก็ หายจากอาการ ดังกล่าว ซึ่ งผมคิดว่าไม่
น่าจะเป็ นไปได้ บางครั้งคนเราอาจจะอุปโลก ขึ้นมาเพื่อหลอกตัวเองก็ได้
นี่เป็ นประสบการณ์จริ งที่ไม่มีการเสริ มแต่งใดๆ
เพราะผมไม่ได้ผลประโยชน์ใดๆจากการเผยแพร่ ประสบการณ์น้ ี
นอกจากการได้ช่วยให้ญาติมิตรหายจากการเป็ นโรคต่างๆ โดยไม่ตอ้ งกินยาของพวก ฝรั่ง ที่มีผลข้างเคียงระยะยาว
วิธีการแกว่งแขน
1. ยืนแยกเท้าเท่าความกว้างของไหล่ ย่อเข่าเล็กน้อย แขนทั้งสองแนบลาตัว ปลายลิ้นแตะเพดานบน
2 . จากนั้นยกแขนทั้งสองไปข้างหน้า แล้วผลักแขนทั้งสองไปข้างหลัง
แล้วให้แขนกลับมาเองโดยธรรมชาติ เหมือนกับลูกตุม้ นาฬิกา ไม่ชา้ ไม่เร็ วเกินไป บริ เวณลาคอและไหล่ควรจะผ่อนคลาย
3. หลับตาเพ่งสมาธิ ไปกับการนับจานวนครั้งในการแก่วงแขน ทุกๆ 100
ครั้งของการแก่วง ควรจะมีการกลั้นลมหายใจ จานวน 30 ครั้งของการแกว่ง
ควรจะแกว่งแขนต่อเนื่องกันวันละ500 ครั้งสาหรับผูท้ ี่ตอ้ งการให้ร่างกายแข็งแรง และ 1,000 ครั้ง ต่อวัน สาหรับผูม้ ีโรคประจาตัว
4. เวลาในการแกว่งที่ดีที่สุดคือก่อนอาบน้ าตอนเย็น หลังการแกว่งทุกครั้ง
ฝ่ ามือทั้งสองจะมีพลังงานสะสมอยู่ ให้เอาฝ่ ามือทั้งสองถูกนั ให้เกิดความร้อนแล้วไปลูบบริ เวณที่เราต้องการรักษา เช่น หัวใจ ท้อง หรื อจมูกคอเมื่อ
เป็ นหวัด
__________________


Slide 4

 วิธีแกว่งแขน เคล็ดวิชา ๑๖ ประการ ของกายบริ หารแกว่งแขน


๑. ส่ วนบนปล่อยให้วา่ ง
 ๒. ส่ วนล่างควรให้แน่น
 ๓.ศีรษะให้แขนลอย (มองตรงไม่กม้ ไม่เงยหน้า)
 ๔. ปล่อยให้เงียบสงบตามปกติ
 ๕. ทรวงอกเหมือปุยฝัาย (ปล่อยตามสบายไม่เกร็ ง)
 ๖. หลังยืดตรงให้ตระหง่าน
 ๗. บั้นเอวตั้งตรงเป็ นแกนเพลา
 ๘. ลาแขนแกว่งไกว
 ๙. ข้อศอกปล่อยให้ลดต่าตามธรรมชาติ
 ๑๐. ข้อมือปล่อยให้นกั หน่วง
 ๑๑. สองมือพายไปตามจังหวะแกว่งแขน
 ๑๒. ช่วงท้องปล่อยตามสบาย
 ๑๓. ช่วงขาผ่อนคลายยืนตรงตามธรรมชาติ
 ๑๔. บั้นท้ายควรให้งอนขึ้นเล็กน้อย
 ๑๕. ส้นเท้ายืนถ่วงน้ าหนักเสมือนก้อนหิ น
 ๑๖. ปลายนิ้วเท้าทั้ง ๒ ข้างต้องงอจิกแน่นกับพื้น คาอธิ บายเคล็ดวิชา ๑๖ ประการ
 ของกายบริ หารแกว่งแขน
 ๑. ส่ วนบนปล่อยให้วา่ ง หมายถึง ส่ วนบนของร่ างกายคือศีรษะ ควรปล่อยใหัวา่ งเปล่า อย่าคิดฟุ้ งช่าน มีสมาธิ แน่วแน่ควรทาอย่างตั้งอกตั้งใจมีสติ
 ๒. ส่ วนล่างควรให้แน่น หมายถึง ส่ วนล่างของร่ างกายใต้บ้ นั เอวลงไป ต้องให้ลมปราณสามารถเดินได้สะดวก เพื่อให้เกิดพลังสมบูรณ์ ฉะนั้นคาว่า
"ส่ วนบนว่าง ส่ วนล่างแน่น” จึงเป็ นหลักสาคัญอย่างยิง่ ในการบริ หารแกว่งแขน ขณะทากายบริ หารหากไม่สามารถเข้าถึงจุดนี้ได้แล้ว ก็จะทาให้ได้ผล
น้อยลงไปมาก ทีเดียว
 ๓. ศีรษะให้แขวนลอย หมายถึง ศีรษะของท่านจะต้องปล่อยสบายๆ ประหนึ่งว่ากาลังแขวนลอยไว้ในอากาศกล้ามเนื้อบริ เวณลาคอจะต้องปล่อยให้
ผ่อนคลายไม่เกร็ ง ไม่ควรโน้มศีรษะไปข้างหนัา หรื อหงายไปข้างหลัง หรื อเอียงไปข้าง ๆ ต้องมองตรงไม่กม้ ไม่เงยหน้า

๔. ปากปล่อยให้เงียบสงบตามปกติ หมายถึง ไม่ควรหุ บปากแน่น หรื ออ้าปากไปตามจังหวะที่ออกแรงแกว่งแขนไม่ควรให้ปากอ้าตามใจชอบ


Slide 5

 ให้หุบปากเพียงเล็กน้อยโดยผ่อนคลายกล้ามเนื้อคือ ไม่เม้มริ มฝี ปากจนแน่น
 ๕. ทรวงอกเหมือนปุยฝ้ าย คือกล้ามเนื้อทุกส่ วนบนทรวงอกต้องให้ผอ่ นคลายเป็ นธรรมชาติ เมื่อกล้ามเนึ้อไม่เกร็ ง ก็จะอ่อนนุ่มเหมือนปุยฝ้ าย
 ๖. หลังยืดตรงให้ตระหง่าน หมายความว่า ไม่แอ่นหน้าแอ่นหลัง หรื อก้มตัวจนหลังโก่ง ต้องปล่อยแผ่นหลังให้ยดื ตรงตาม ธรรมชาติ
 ๗. บั้นเอวตั้งตรงเป็ นแกนเพลา หมายถึง บั้นเอวต้องให้เหมือนเพลารถ ต้องให้อยูใ่ นลักษณะตรง
 ๘. ลาแขนแกว่งไกว หมายถึง แกว่งแขนทั้งสองขัางไปมา ได้จงั หวะอย่างสม่าเสมอ
 ๙. ข้อศอกปล่อยให้ลดต่าตามธรรมชาติ หมายถึง ขณะที่แกว่งแขนทั้ง ๒ ข้าง ไปข้างหน้าและข้างหลังนั้น อย่าให้แขนแข็งทื่อ ควรให้ขอ้ ศอกงอ
เล็กน้อยตามธรรมชาติ
 ๑๐. ข้อมือปล่อยให้หนักหน่วง หมายถึง ขณะที่แกว่งแขนทั้ง ๒ ข้างนั้นควรผ่อนคลายกล้ามเนื้อที่ขอ้ มือ เมื่อไม่เกร็ งแล้วจะรู้สึกคล้ายมือหนักเหมือน
เป็ นลูกตุม้ ถ่วงอยูป่ ลายแขน
 ๑๑. สองมือพายไปตามจังหวะแกว่งแขน หมายถึง ขณะที่แกว่งแขนนั้นฝ่ ามือด้านในหันไปด้านหลัง ทาท่าคล้ายกับกาลังพาย เรื อ
 ๑๒. ช่วงท้องปล่อยตามสบาย หมายถึง เมื่อกล้ามเนื้อบริ เวณช่องท้องถูกปล่อยให้ผอ่ นคลายแล้วจะรู ้ดีกว่าแข็งแกร่ งขึ้น
 ๑๓. ช่วงขาผ่อนคลาย หมายถึง ขณะที่ยนื ให้เท้าทั้งสองแยกห่างกันนั้นควรผ่อนคลายกล้ามเนื้อที่ช่วงขา
 ๑๔. บั้นท้าย ควรให้งอนขึ้นเล็กน้อย หมายถึง ระหว่างทากายบริ หารนั้น ต้องหดก้นคือขมิบทวารหนัก คล้ายยกสู งให้หดหายเข้าไปในลาไส้
 ๑๕. ส้นเท้ายืนถ่วงน้ าหนักเสมือนก้อนหิ น หมายถึงการยืนด้วยส้นเท้าที่มนั่ คงยึดแน่นเหมือนก้อนหิ นไม่มีการสัน่ คลอน
 ๑๖. ปลายนิ้วเท้าทั้ง ๒ ข้างต้องงอจิกแน่นกับพื้น หมายถึง ขณะที่ ยืนนั้น ปลายนิ้วเท้าทั้ง ๒ ข้างต้องงอจิกแน่นกับพื้นเพื่อยึดให้มนั่ คง