การสร้ างเสริมสุขภาพและ การป้องกันโรค ความหมายของการสร้ างเสริมสุขภาพ การสร้ างเสริมสุ ขภาพ หมายถึง กระบวนการของการเพิม่ สมรรถนะให้ คน สามารถควบคุมปัจจัยทีเ่ ป็ นตัวกาหนดสุ ขภาพและเป็ น ผลให้ บุคคลนั้นมีสุขภาพดีสามารถควบคุมพฤติกรรม ของตนเองให้ เหมาะสมรวมไปถึงการปรับสิ่ งแวดล้ อม ให้ เอือ้ ต่ อการมีสุขภาพทีด่

Download Report

Transcript การสร้ างเสริมสุขภาพและ การป้องกันโรค ความหมายของการสร้ างเสริมสุขภาพ การสร้ างเสริมสุ ขภาพ หมายถึง กระบวนการของการเพิม่ สมรรถนะให้ คน สามารถควบคุมปัจจัยทีเ่ ป็ นตัวกาหนดสุ ขภาพและเป็ น ผลให้ บุคคลนั้นมีสุขภาพดีสามารถควบคุมพฤติกรรม ของตนเองให้ เหมาะสมรวมไปถึงการปรับสิ่ งแวดล้ อม ให้ เอือ้ ต่ อการมีสุขภาพทีด่

การสร้ างเสริมสุขภาพและ
การป้องกันโรค
ความหมายของการสร้ างเสริมสุขภาพ
การสร้ างเสริมสุ ขภาพ
หมายถึง กระบวนการของการเพิม่ สมรรถนะให้ คน
สามารถควบคุมปัจจัยทีเ่ ป็ นตัวกาหนดสุ ขภาพและเป็ น
ผลให้ บุคคลนั้นมีสุขภาพดีสามารถควบคุมพฤติกรรม
ของตนเองให้ เหมาะสมรวมไปถึงการปรับสิ่ งแวดล้ อม
ให้ เอือ้ ต่ อการมีสุขภาพทีด่ ี
ปัจจัยทีท่ าให้ ชุมชนสุขภาพดี
แบ่ งเป็ น 3 ประการ คือ
1.คน - เกีย่ วข้ องภาวะสุ ขภาพของสมาชิกและความเข้ มแข็ง
ของ ครอบครัว
2.สถานที่ - เกีย่ วข้ องกับส่ งแวดล้ อมในชุมชน
3.ระบบสั งคม - เช่ น ระบบเศรษฐกิจ ระบบการเมือง เป็ น
ต้ น หากสั งคมมีประสิ ทธิภาพดีส่งผลให้ ชุมชนมีสุขภาพที่ดี
เต้ นแอโรบิคเพือ่ สุ ขภาพ
ทากิจกรรมร่ วมกันในชุมชน
ชุมชนสุขภาพดี
แนวทางในการสร้ างเสริมสุขภาพ
1. ดูแลรักษาความสะอาดของร่ างกาย
2. การโภชนาการ ทั้งอาหารและนา้
3. การออกกาลังกาย อย่ างน้ อยสั ปดาห์ ละ 3 วัน ครั้งละ 30-60 นาที ควรเลือก
กิจกรรมให้ เหมาะสมกับวัยและสุ ขภาพ
4. การพักผ่ อน
5. การส่ งเสริมสุ ขภาพจิต ผ่ อนคลายความตึงเครียด มองโลกในแง่ ดี ยอมรับ
ความแตกต่ างระหว่ างบุคคล มีอารมณ์ ขัน
6. การตรวจสุ ขภาพประจาปี (30 ปี ขึน้ ไป) เพือ่
-วัดความดันโลหิต
-วัดปริมาณไขมันในเลือด
-วัดกรดยูริคในเลือด หาโรคเกาต์ โรคไต
-ตรวจคลืน่ ไฟฟ้าหัวใจ
ดื่มน้ ำวันละ 8 แก้ว
ออกกาลังกายวันละนิดจิตแจ่ มใส
หัวเราะกันหน่ อยดีไหม
พักผ่ อนให้ เพียงพอ
ตรวจสุขภาพประจาปี
อาบนา้ เย็นจังเลย.....
ขอเพียงแค่ ยมิ้ ให้ กนั โลกใบนีก้ ส็ ดใสได้
แนวทางในการป้ องกันโรค
1.การสร้ างเสริมภูมคิ ุ้มกันโรค เช่ น การฉีดวัคีีน
2.การสุ ขาภิบาลสิ่ งแวดล้อม ไม่ ให้ เป็ นแหล่งเพาะ
หรือแพร่ พนั ธุ์ของเชื้อโรค เช่ น เรื่องนา้ ดืม่ อาหาร
อากาศ สารเคมี และการกาจัดสิ่ งปฏิกลู ขยะมูล
ฝอย แมลงนาโรค
3.อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน
ฉีดวัคีีนป้ องกันโรค
กาจัดเชื้อโรคในทุกๆที่
ทาความสะอาดถนน
สวมหมวกป้ องกัน
โรคทีเ่ ป็ นปัญหาในชุมชนและหลักการป้ องกันโรค
โรคทีเ่ ป็ นปัญหาในชุมชน หมายถึงโรคติดต่ อหรือ
โรคไม่ ตดิ ต่ อทีพ่ บได้ บ่อยในชุมชนในแต่ ละชุมชนจะ
เกิดโรคแตกต่ างกันไป เช่ น
1.ในชุมชนเมืองมักเจ็บป่ วยด้ วยโรคของความเครียด
เนื่องจากการรีบเร่ ง
2.ในชนบทมักเจ็บป่ วยด้ วยโรคที่เกิดจากการขาดการดูแล
เรื่องสิ่ งแวดล้ อมที่ดี
ความเครียดที่เกิดจากการรีบเร่ ง
ความเครียดเกิดได้ กบั คนทุกวัย
หลักการป้องกันโรคในชุมชน
แบ่ งได้ เป็ น 3 ระดับ
1.การป้ องกันโรคล่ วงหน้ า
วิธีนีไ้ ด้ ผลในการป้ องกันโรคดีทสี่ ุ ด โดยการปรับปรุง
ความเป็ นอยู่หรือสภาพแวดล้ อมในชุมชนให้ ดขี นึ้
2.การป้ องกันโรคในระยะที่เกิดขึน้ แล้ ว
โดยกาหนดแนวทางในการระงับกระบวนการเกิดโรค
ป้ องกันการแพร่ เชื้อในชุมชนเพือ่ ลดการเจ็บป่ วย
3. การป้ องกันภายหลังการเกิดโรค
เพือ่ ป้ องกันการเกิดความพิการหรือการไร้
สมรรถภาพที่จะประกอบอาชีพได้ ตามปกติ
หรือเพือ่ ลดผลเสี ยจากโรคแทรกี้ อน
ฉีดฆ่ ายุงลาย
ตัวอย่ างโครงการสร้ างเสริมสุขภาพ
1.โครงการเมืองน่ าอยู่สังคมน่ าอยู่
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 9
มีเป้ าหมายเพือ่ มุ่งสร้ างความเข้ มแข็งของชุ มชน และ
เพือ่ ให้ ประชาชนชุมชนทุกคนมีสุขภาพทีด่ ี ชุมชนที่
น่ าอยู่น้ันต้ องเป็ นชุมชนทีม่ ีความปลอดภัย มีการ
จัดการด้ านสุ ขาภิบาลสิ่ งแวดล้ อมทีด่ ี มีทสี่ าหรับ
พักผ่ อน และออกกาลังกาย
2.โครงการจัดตั้งศูนย์ สุขภาพชุมชน
เป็ นจุดบริการด่ านแรกทีป่ ระชาชนสามารถเข้ าถึง
การรักษาทางการแพทย์ และสาธารณะสุ ข การรักษา
และการฟื้ นฟูสมรรถภาพได้ ง่าย
3.โครงการขยับกายสบายชีวี
เพือ่ สนับสนุนให้ คนไทยในทุกชุมชนได้ มกี ารออ
กาลังกายมากขึน้ และส่ งเสริมให้ ประชาชนใน
ชุมชนมีพฤติกรรมการออกกาลังการมากขึน้
เพือ่ สร้ างความสมบูรณ์ แข็งแรงของร่ างกายและ
จิตใจ
4.โครงการสร้ างชุมชนเพือ่ สุ ขภาพ
เพือ่ ให้ ประชาชนในชุมชนทีม่ ีความสนใจในสิ่ งเดียวกันมารวมกลุ่น
กัน และจัดชมรมขึน้ การสร้ างชมรมแบ่ งเป็ น 3 ระดับ คือ
1.ชมรมจะจัดกิจกรรมสร้ างสุ ขภาพแก่ ชุมชน
2.เหมือนข้ อ1แต่ เพิม่ กิจกรรมเสริมทักษะทางอารมณ์ อนามัยชุมชน
และอโรคยา
3.เหมือนข้ อ2แต่ เพิม่ กิจกรรมการวิเคราะห์ ปัญหาสุ ขภาพของ
สมาชิก
สื่ อโฆษณากับการบริโภค
สื่ อโฆษณาเข้ ามามีบทบาทและมี
อิทธิพลต่ อการดารงชีวติ ประจาวันของคนใน
สั งคมเป็ นอย่ างมาก การจูงใจให้ ผู้บริโภคีื้อ
สิ นค้ า เพราะการโฆษณาเป็ นช่ องทางการตลาด
ของผู้ผลิต
ความหมายของสื่ อโฆษณา
สื่ อโฆษณา หมายถึง
เครื่องมือทางกันตลาดทีผ่ ู้ประกอบธุรกิจ
ใช้ เพือ่ การประชาสั มพันธ์ เสนอขายสิ นค้ า หรือ
ให้ บริการต่ อผู้บริโภค
ประเภทของสื่ อโฆษณา
1.การโฆษณาผ่ านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์
2.การโฆษณาผ่ านสื่ อสิ่ งพิมพ์
3.การโฆษณานอกสถานที่ ป้ายโฆษณา
4.การโฆษณาโดยใช้ จดหมายโดยตรง
5.การโฆษณาโดยใช้ สมุดโทรศัพท์ เช่ น โฆษณาในสมุด
โทรศัพท์ หน้ าเหลือง
6.การโฆษณาโดยการจัดแสดงสิ นค้ า
โฆษณาโดยการส่ งจดหมายถึงบ้ าน
สื่ อที่ออกมาทางสิ่ งตีพมิ พ์
การจัดบูทเพือ่ การเสนอสิ นค้ า
อิทธิพลของสื่ อโฆษณาทีม่ ตี ่ อผู้บริโภค
1.สร้ างความเข้ าใจในคุณสมบัตขิ องสิ นค้ าและบริการ
2.สร้ างแรงกระตุ้นให้ ผู้บริโภคต้ องการใช้
3.สร้ างความภูมิใจในสิ นค้ าและบริการ
4.สร้ างความตอกยา้ ความทรงจาของผู้บริโภค
5.สร้ างแรงจูงใจให้ เกิดความสนใจทีจ่ ะีื้อสิ นค้ าและ
บริการ
หลักการพิจารณาสื่ อโฆษณาเพือ่ การบริโภค
1.ข้ อความที่เป็ นเท็จ / เกินจริง
2.ข้ อความที่ก่อให้ เกิดความเข้ าใจผิด
3.ข้ อความทีส่ นับสนุนการกระทาผิดกฎหมาย /
ศีลธรรม / วัฒนธรรม
4.ข้ อความที่ทาให้ เกิดความแตกแยก
5.ข้ อความทีผ่ ดิ กฎกระทรวงเกีย่ วกับผู้ประกอบ
ธุรกิจ
โรคไม่ ตดิ ต่ อทีเ่ ป็ นปัญหาสุ ขภาพของคนไทย
โรคไม่ ติดต่ อ หมายถึง
โรคที่เกิดจากความผิดปกติหรือความเสื่ อม
โทรมทางร่ างกายและจิตใจ ไม่ สามารถที่จะติดต่ อ
ไปยังผู้อนื่ ได้
โรคไม่ ตดิ ต่ อ มีสาเหตุมาจากหลายสาเหตุ เช่ น
กรรมพันธุ์ การเจ็บป่ วยด้ วยโรคบางอย่ างเรื้อรัง
เป็ นเวลานาน
ตัวอย่ างโรคไม่ ติดต่ อที่สาคัญ
1.มะเร็งตับ แบ่ งเป็ น 2 ชนิดได้ แก่
1.มะเร็งของเีลล์ ตบั หมายถึง มะเร็งทีเ่ กิดจากเีลล์ ทอี่ ยู่ในตับ พบได้ ทุกภาค
ของประเทศ
สาเหตุ การกินอาหารที่มี สารอะฟลาท็อกซิน ทีม่ ีอยู่ในถัว่ ลิสง หอมแดง พริกแห้ ง
2. มะเร็งของเีลล์ ท่อนา้ ดี หมายถึง มะเร็งทีเ่ กิดจากเีลล์ ทบี่ ุภายในท่ อนา้ ดี ีึ่ง
พบมากในทางภาคอีสาน ผู้ทมี่ ีอายุ 35-55 ปี และพบมากในผู้ชายมากกว่ าผู้หญิง
สาเหตุ การกินอาหารที่มี สารไนโตรซามีน ทีม่ ีอยู่ในอาหารจาพวกโปรตีนหมัก เช่ น
ปลาร้ า แหนม และอาหารทีผ่ สมดินประสิ ว เช่ น กุนเชียง ไส้ หรอก เป็ นต้ น
ถั่วลิสง
หอมแดง
พริกแห้ ง
อาหารที่มีสาร
“ไนโตรซามีน”
ปลาร้ า
แหนม
กนุ เชียง
ไส้ กรอก
อาการของโรคมะเร็งตับ
ตอนแรก จะอ่ อนเพลีย เบื่ออาหาร ต่ อมา จะผอมอย่ างเร็ว
ตอนหลัง จะเจ็บทีใ่ ต้ ีี่โครงขวา ตาเหลือง ตัวเหลือง อาเจียนเป็ น
เลือด
หรือถ่ ายเป็ นเลือด
การป้องกัน
1.ไม่ ดมื่ แอลกอฮอล์
2.กินปลานา้ จืดทีส่ ุ กแล้ ว
3.เลีย่ งการกินอาหารทีม่ ีสารอะฟลาท็อกีิน / ไนโตรีามีน
4.ควรไปรับวัคีีนป้องกันโรคตับอักเสบจากไวรัส
มะเร็ งตับ
ตาเหลือง
ตัวเหลือง(เหลือ๊ ง เหลือง!!!)
ตัวีูบผอม
อาเจียนเป็ นเลือด
โรคมะเร็งเต้ านม
โรคมะเร็งเต้ านม
พบเป็ นอันดับทีส่ องรองจากโรคมะเร็งปากมดลูกของหญิงไทยผู้หญิง
โสดมักจะมีโอกาสเป็ นมากกว่ าผู้หญิงทีแ่ ต่ งงานแล้วและมีญาติเป็ นถึง 3
เท่ า มักพบในอายุ 40ปี ขึน้ ไป
สาเหตุ
1.กรรมพันธุ์
2.ผู้ทไี่ ด้ รับฮอร์ โมนเอสโตรเจน
3.ผู้ทเี่ ป็ นโรคเต้ านมเรื้อรัง
4.ผู้ทดี่ มื่ สุ รามาก
5.ผู้ทสี่ ั มผัสกับรังสี
อาการ
แรกจะยังไม่ รู้สึกใดๆ แต่ ถ้าคลาเต้ านมดูจะร็สึกว่ ามีก้อนเนือ้ กลิง้ อยู่ภายใน
ต่ อมาก้อนเนือ้ จะติดอยู่กบั ที่ ผิวหนังเหนือแผลจะบวมแดง
ต่ อมาก้อนเนือ้ จะแตกเป็ นแผลมีเลือดและนา้ เหลืองไหลออกมา
การป้องกัน
1.ผู้หญิงทีม่ ีลูกควรให้ นมด้ วยตนเอง
2.หากมีการอักเสบที่เต้ านมควรรีบรักษา
3.ไม่ ควรเสริมอกด้ วยการฉีดสารแปลกปลอมเข้ าไป
4.ควรรักษาให้ สะอาด
5.หากมีสิ่งผิดปกติ ควรไปพบแพทย์
6.อายุ30ปี ขึน้ ไปควรตรวดเต้ านมด้ วยตนเองเดือนละครั้ง
วิธีตรวจเต้ านม
ขั้นที่ 1 ตรวจในขณะอาบนา้
ขั้นที่ 2 การตรวจหน้ ากระจก
ขั้นที่ 3 การตรวจในท่ านอน
ขั้นที่ 4 การบีบหัวนม
โรคหัวใจขาดเลือดหรือโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ
หมายถึง โรคหัวใจที่เกิดจากการตีบ
ตันของหลอดเลือดแดงที่ไปเลีย้ งกล้ามเนือ้ หัวใจ
หรือที่เรียกว่ า หลอดเลือดโคโรนารีทาให้ เลือดที่
ไปเลีย้ งกล้ามเนือ้ หัวใจลดลงหรือชะงักไป
สาเหตุ
เกิดจากมีการตีบตันของหลอดเลือดแดงทีไ่ ปเลีย้ ง
กล้ ามเนือ้ หัวใจ เป็ นผลจากภาวะหลอดเลือดแดงแข็งเนนื่
องจากมีไขมันเกาะ ทาให้ หลอดเลือดตีบเลือดไหลได้
น้ อยลง ไขมันทาให้ ผวิ ขรุขระเมือ่ เลือดมาฉีดกระทบผิวนี้
อาจทาให้ เลือดแข็งตัวและเมือ่ กล้ ามเนือ้ หัวใจไม่ ได้ รับเลือด
จึงค่ อยๆตายไป ไขมันในที่นีเ้ รียกว่ า คอเลสเตอรอล
ข้ อปฏิบัตสิ าหรับผู้ป่วยโรคหัวใจ
1.รักษานา้ หนักตัวให้ อยู่ในเกณฑ์ ปกติ
2.งดสู บบุหรี่เด็ดขาด
3.ห้ ามกินอาหารทีม่ ไี ขมันสู ง
4.ออกกาลังกายอย่ างสม่าเสมอ
5.พักผ่ อนให้ เพียงพอ
6.ตรวดสุ ขภาพทุก 6 เดือน
โรคหลอดเลือดในสมอง
สาเหตุ
1.หลอดเลือดสมองตีบ
เกิดจากภาวะหลอดเลือดแข็งและตีบ โดยเกิดขึน้ ทีละ
น้ อยๆจนเลือดแข็งตัว จึงขาดเลือดไปเลีย้ งสมองส่ วนนั้นทาให้
เีลล์ สมองตาย
2.ภาวะสิ่ งหลุดอุดตันหลอดเลือดสมอง
เกิดจากมีสิ่งหลุดีึ่งเป็ นลิม่ เลือดทีเ่ กิดขึน้ ในหลอดเลือดที่
อยู่นอกสมอง(พบบ่ อย คือ ลิม่ เลือดที่เกิดขึน้ ในหัวใจ)ลอยมา
อุดตันในสมองทาให้ สมองตายเพราะขาดเลือด
3.หลอดเลือดสมองแตก
ทาให้ เนือ้ สมองโดยรอบตายีึ่งอาจทาให้
ตายอย่ างรวดเร็ว มักมีสาเหตุมาจากโรคความ
ดันโลหิตสู ง และยังพบในผู้ทมี่ คี วามผิดปกติ
ของหลอดเลือดแดงมาแต่ กาเนิดอาจทาให้ เกิด
อัมพาต
เส้ นเลือดสมอง
อาการ
1.หลอดเลือดสมองตีบ มีอาการดังนี้
ปวดหัว วิงเวียน เกิดการอัมพาตของแขนขาขึน้ บางรายแขนขาีีก
หนึ่งอ่อนแรง หากเส้ นเลือดตีบสมองขวาแขนขาีีกี้ ายจะเป็ นอัมพาตหาก
เส้ นเลือดตีบสมองี้ ายแขนขาีีกขวาจะเป็ นอัมพาต
2.ภาวะสิ่ งหลุดอุดตันหลอดเลือดสมอง มีอาการดังนี้
คล้ายกับหลอดเลือดสมองตีบแต่ เกิดอัมพาตแบบเฉียบพลัน
3.หลอดเลือดสมองแตก มีอาการดังนี้
จะเกิดโดยไม่ มีสิ่งบอกล่วงหน้ า จะเกิดต่ อออกแรงมากๆ ทาให้ ปวดหัว
รุนแรง ปากเบีย้ ว พูดไม่ ได้ หากตกเลือดรุนแรงตายใน1-2วัน
อาการปากเบีย้ วพูดไม่ ได้
การป้ องกันโรคหลอดเลือดในสมอง
1.งดสู บบุหรี่
2.งดดืม่ แอลกอฮอล์
3.ลดอาหารที่เป็ นไขมัน
4.ตรวจร่ างกายประจาปี
5.กินยาตายแพทย์ สั่ง
โรคความดันสูง
ความดันเลือด หมายถึง
แรงดันของกระแสเลือดทีก่ ระทบต่ อผนังหลอด
เลือดแดง อันเกิดจากการสู บฉีดของหัวใจ
ความดันเลือดสู ง หมายถึง
ความดันช่ วงบนมีค่าตัง่ แต่ 140 มิลลิเมตร ปรอท
ขึน้ ไป ความดันเลือดช่ วงล่ างมีค่าตัง่ แต่ 90 มิลลิเมตร
ปรอทขึน้ ไป
วัดความดันโลหิต
เครื่องวัดความดันโลหิต
เครื่องวัดความดันโลหิต 2
ความสั มพันธ์ ของโรคความดันสู งกับสุ ขภาพ
1.หัวใจ หัวใจห้ องล่ างี้ ายโต หากปล่ อยไว้ อาจเกิด
ภาวะแทรกี้ อนเกีย่ วกับหัวใจได้
2.สมอง หลอดเลือดสมองอาจตีบหรือแตก กลายเป็ นโรค
อัมพาตครึ่งีีก สมาธิลดลง
3.ไต อาจเกิดเป็ นไตวายเรื้อรัง เนื่องจากหลอดเลือดแดงแข็ง
ไปเลีย้ งไตไม่ พอ อาจเสี ยชีวติ ได้
4.ตา เกิดภาวะเสื่ อมของหลอดเลือดแดง ภายในลูกตาอย่ าง
ช้ าๆ ทาให้ ตาบอดได้
อัมพาตครึ่งีีก
ฟอกไต
ข้ อปฏิบัตเิ มื่อเป็ นโรคความดันสู ง
1.ถ้ าอ้ วนให้ ลดนา้ หนักกินยาตามแพทย์ สั่ง ห้ ามหยูดกินยาแม้ ความ
ดันจะลดแล้ ว
2.ไม่ กนิ อาหารทีม่ ีเกลือโีเดียมสู ง เช่ น ขนมปัง
3.ถ้ าอ้ วนให้ ลดนา้ หนัก
4.งดดืม่ แอลกอฮอล์
5.งดสู บบุหรี่
6.ออกกาลังกายประจา
7.ทาใจให้ สงบ ไม่ เครียด
8.สตรีทเี่ ป็ นห้ ามกินยาคุมกาเนิด
กินยาตามแพทย์ สั่ง
ไม่ กนิ อาหารทีม่ โี ีเดียมสูง เช่ น....
งดดืม่ แอลกอฮอล์
โรคอ้วน
โรคอ้ วน หมายถึง สภาวะร่ างกายที่มกี ารสะสมไขมันไว้ มาก
เกินกว่ าปกติ
การการคานวนหาค่ าดัชนีมวลกาย
ดัชนีมวลกาย = นา้ หนัก (กิโลกรัม) กิโลกรัมต่ อตาราง
เมตร
ส่ วนสู ง2 (เมตร)
ผลลัพธ์ ต่ากว่ า 18.5กิโล/ตร.ม
= ผอม
18.5- 24.9 กิโล/ตร.ม
= มาตรฐาน
25-29.9 กิโล/ตร.ม
= เกินมาตรฐาน
มากว่ า 30 กิโล/ตร.ม
= อ้ วน
บางคนอาจคิดว่ ายาลดความอ้วนช่ วยได้ แต่ อาจไม่ คดิ ถึงผลข้ างเคียงของมัน
อยากอ้ วนแบบนีไ้ หม????
ดูดๆี ๆนะ!!!
เป็ นห่ วงนะร้ ู ไหม.....
ใครชอบกินแบบนีย้ กมือขึน้ !!!!
อันนี้ ขาๆๆ...
การวางพัฒนาแผนสุ ขภาพของตนเองและครอบครัว
สุ ขภาพ หมายถึง
ภาวะทีส่ มบูรณ์ ท้งั ร่ างกาย จิตใจ สั งคมและจิต
วิญญาณทีเ่ ชื่อมกันเป็ นองค์ รวมอย่ างสมดุล
พฤติกรรมเสี่ ยง หมายถึง
พฤติกรรมทีบ่ ุคคลปฏิบัตแิ ล้ วอาจนาไปสู่ การเกิด
อันตรายต่ อชีวติ และสุ ขภาพของตนเองและผู้อนื่ เป็ น
พฤติกรรมที่ไม่ พงึ ประสงค์
พฤติกรรมเสี่ ยง
องค์ ประกอบของการชี้วดั คุณภาพชีวติ มีดงั นี้
1. ด้ านร่ างกาย คือ
การรับรู้ สภาพทางด้ านร่ างกายของบุคคลีึ่งมีผลต่ อชีวติ ประจาวัน
2. ด้ านจิตใจ คือ
การรับรู้ สภาพทางจิตใจของตนเอง
3. ด้ านความสั มพันธ์ ทางสั งคม คือ
การรับรู้ เรื่องความสั มพันธ์ ของตนกับบุคคลอืน่ รับรู้ ความช่ วยเหลือจาก
บุคคลอืน่ ในสั งคม
4. ด้ านสิ่ งแวดล้อม คือ
การรับรู้ เกีย่ วกับสิ่ งแวดล้อมทีผ่ ลต่ อการดาเนินชีวติ
จิตใจ
สาเหตุ
1.กินอาหารไม่ ถูกต้ อง อาจเป็ นเพราะ รับประทานโดยความเคยชิน เสี ยดาย หรีอ
เพือ่ บรรเทาความเครียด
2.ขาดการออกกาลังกาย
3.พันธุกรรม
4.ความผิดปกติของร่ างกาย เช่ นต่ อมไร้ ท่อ ทาให้ ระบบเผาผลาญผิดปกติ
การลดนา้ หนัก
1.ควบคุมนา้ หนัก
-ลดแป้ ง ไขมัน นา้ ตาล -กินอาหารเป็ นเวลา -เคีย้ วอาหารให้ ช้า -ไม่ กนิ ไปทาอย่ าง
อืน่ ไป
2.ออกกาลังกาย
อย่ างน้ อย 3 วัน / สั ปดาห์ ครั้งละ 30-60 นาที
เสี ยดำยอำหำร
การจัดทาแผนพัฒนาสุ ขภาพของตนเองและครอบครัว
เช่ น การจัดทาแผนพัฒนาสุ ขภาพเพือ่ แก้ ไขปัญหาโรคอ้ วน
1.การวางแผนการรับประทานอาหาร
โดยวางแผนการทานอาหารตามหลักโภชนาการ โดยไม่ มากหรือน้ อย
เกินไปกับความต้ องการของร่ างกาย
2.การวางแผนการออกกาลังกาย
- เลือกกิจกรรมในการออกกาลังกาย
- ออกกาลังครั้งละ 30-60 นาที อย่ างน้ อย สั ปดาห์ ละ 3 ครั้ง
- ผู้ทมี่ ีอายุ 40ปี ขึน้ ไปให้ ปรึกษาแพทย์ ก่อนนอกกาลังกาย
ตารางวางแผนควบคุมนา้ หนัก
ออกกาลังกายเพือ่ สุขภาพ
การบ้ าน
ให้ นักเรียนเลือกโรคที่เกิดในชุมชนมา 1 โรค
 มีรูปภาพ
สาเหตุ
อาการ
การป้องกัน
 ส่ งไม่ เกินวันที่ 17 กันยายน 2553