นายอิทธิพล เสาร์แดน รหัสนักศึกษา 54631125 หัวข้อนำเสนอวิชา

Download Report

Transcript นายอิทธิพล เสาร์แดน รหัสนักศึกษา 54631125 หัวข้อนำเสนอวิชา

หัวข้ อนาเสนอวิชา : 03227115
Data Communication and Computer Network
สรุปหัวข้ อนาเสนอ 16-22
นายอิทธิพล เสาร์ แดน รหัสนักศึกษา 54631125
สรุปหัวข้ อนาเสนอ
 หัวข้ อที่ 16-Digital Signature
 หัวข้ อที่ 17-Program Remote
 หัวข้ อที่ 18-Config Router
 หัวข้ อที่ 19-Sniffer
 หัวข้ อที่ 20-Web-based
 หัวข้ อที่ 21-Social Network
 หัวข้ อที่ 22-Netcut
 นาเสนอโดย น.ส.กฤติญา ชู ประเสริฐ รหัสนักศึกษา 54631102
หัวข้ อที่ 16-Digital Signature
 Digital Signature คืออะไร
 Digital Signature Algorithm
 Hash Function
 Protocol Digital Signature
Digital Signature คืออะไร
จุดประสงค์ของการทาลายเซ็นดิจิตอลนัน้ มิใช่เพือ่ ทาให้
เอกสารเป็ นเอกสารลับ แต่ลายเซ็นดิจิตอลนัน้ จะใช้เพือ่ ยืนยยนย
ความเป็ นยต้นยฉบบ โดยยืนยันว่าเอกสารที่ผรู้ บั ได้รบั นัน้ เป็ น
เอกสารที่มีเนื้ อหาเดียวกันกับเอกสารที่ผลู้ งนามได้อ่านและลง
ลายเซ็นดิจิตอลไป หรืออีกนัยหนึ่ งก็คือ ยืนยันว่าไม่ได้มีการแก้ไข
ระหว่างทางนัน่ เอง
Digital Signature Algorithm
Alice
Message
with
Signature
Message
Hash
Message
with
Signature
Internet
Bob
Message
Decrypt
Encrypt
Message
Digest
Alic's
Private Key
Alic's Public
Key
Message
Digest
Hash Function
Hash
Function
&JK%@#$D
 แฮช (Hash) คาว่า แฮช นี้ ในทางคอมพิวเตอร์หมายถึง การนาเอา
ตัวเลขหรือข้อความมาผ่านกรรมวิธีอย่างใดอย่างหนึ่ ง แล้วได้ผลลัพธ์
ออกมาเป็ นตัวเลขชุดหนึ่ ง
 ฟั งก์ชนั แฮชที่ใช้ในการทาลายเซ็นดิจิตอลที่ยอมรับกันว่าเป็ นมาตรฐาน
 SHA ประกาศเป็ นมาตรฐานที่ FIPS PUB 180-1
 MD5 (Message Digest 5) โดยได้ประกาศเป็ นมาตรฐานใน
RFC 1321
Protocol Digital Signature
 Secure Sockets Layer (SSL)
 Secure Hypertext Transport Protocol S-HTTP
หัวข้ อที่ 17-Program Remote
 Protocol การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบ Remote
 Virtual Private Network (VPN)
 Program Remote
Protocol การเชื่อมต่ อเครือข่ ายแบบ Remote
 TCP/IP ของ Local Area Network
 Serial Line Internet Protocol หรือ SLIP
Virtual Private Network (VPN)
เป็ นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกลออกไป ให้สามารถ
ติดต่อรับส่งข้อมูลกับระบบเครือข่ายในสานักงานของเรา โดยผ่าน
ทาง Internet ได้ และมีความปลอดภัยในการรับส่งข้อมูล
Program Remote
 PC ANYWHERE
 NETOP REMOTE CONTROL
 REMOTE ADMINISTRATOR
 ACCESS REMOTE PC
 Team Viewer
Config Router
หัวข้ อที่ 18-Config Router
 Router กับ บทบาทและหน้ าที่
 OSI Model
 Routing Algorithm
 Routing Protocol
 Config Router
Router กับ หน้ าที่และบทบาท
Router
หน้ าที่และบทบาท
 หนย้ าทีห่ ลก คือ การอ้างอิง IP Address ระหว่างเครื่องลูกข่าย
ที่อยู่กนั คนละเครือข่าย รวมทัง้ การเลือกและจัดเส้นทางที่ดีที่สดุ
เพื่อนาข้อมูลข่าวสาร ในรูปแบบ Packet จากเครื่องลูกข่าย
ต้นทางบนเครือข่ายที่ตนดูแลอยู่ไปยังเครื่องลูกข่ายที่อยู่กนั คน
ละเครือข่าย
 บทบาทสาคญ ในการเชื่อมโยงเครือข่ายที่ห่างไกลกันเข้า
ด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่ายนัน้ จะต่างหรือเหมือนกันในด้านกายภาพ
ก็ตาม
OSI Model…
Router ทางานบน Network Layer
 เมื่ออุปกรณ์ Router ได้รบั ข้อมูลหรือ data packet มาจาก
พอร์ตเชื่อมต่อ จะทาการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลก่อนย
 Router จะพิจารณาเส้นทางในการส่งผ่านข้อมูลของ data
packet
 จากข้อมูล routing table ของตน คือจาก "ตารางข้อมูลของ
เส้นทางการส่งผ่านข้อมูล" ซึ่งเรียกว่า routing table
 ปรับปรุงข้อมูลพิจารณาเส้นทางตาม "ขบวนการพิจารณา
เส้นทางส่งผ่านข้อมูล" เรียกว่า routing algorithm
Routing Algorithm
Dijkstra Algorithm
Routing Protocol
 Interior Routing Protocol
 Distance-Vector routing protocol
 Link-state routing protocol
 Exterior routing protocol
 BGP (Border Gateway Protocol)
Config Router
หัวข้ อที่ 19-Sniffer
 Sniffer คืออะไร
 ประโยชน์ ของ Sniffer
 Wireshark Software
 HTTP Protocol
Sniffer คืออะไร
คืออุปกรณ์ที่ต่อเข้ากับเครือข่ายคอมพิวเตอร์และคอยดักฟัง
ข้อมูลในเครือข่ายและโปรแกรม “sniffer” เป็ นโปรแกรมที่จะ
คอยดักฟังการสนทนากันของเครือข่าย แต่จะเห็นการสนทนากัน
นัน้ จะเป็ นข้อมูลไบนารี ดังนัน้ โปรแกรมดังกล่าวต้องทาการถอด
รหัสของข้อมูลของคอมพิวเตอร์ เพื่อจะให้ร้ถู ึงการสนทนานัน้ ได้
ประโยชน์ ของ Sniffer
1. Sniffer สามารถแปลงข้อมูลข่าวสารในรูปแบบของเลข
ไบนารีหรือฐาน 16 ไปเป็ นรูปแบบที่สามารถอ่านและ
เข้าใจได้โดยง่าย
2. Sniffer จะช่วยให้ท่านสามารถตรวจซ่อมหาจุดเสียต่าง
ๆ บนเครือข่ายได้ดี
3. สามารถนามาใช้เพื่อการตรวจสอบประสิทธิภาพการ
ทางานของเครือข่าย เช่น เครือข่ายทางานช้าลง
4. สามารถตรวจจับผูบ
้ กุ รุกเข้ามาในเครือข่ายได้ระดับหนึ่ ง
ประโยชน์ ของ Sniffer
5. สามารถบันทึก Traffic ของเครือข่ายไว้เพื่อนามา
วิเคราะห์ตรวจสอบหาร่องรอยของปัญหาต่าง ๆ
6. สามารถตรวจสอบสถานการณ์ทางานของ Application
ต่างๆ บนเครือข่าย
7. สามารถตรวจสอบพบข้อผิดพลาดของอุปกรณ์ เครือข่าย
เช่น การ์ด LAN เป็ นต้น
8. สามารถตรวจสอบต้นตอของการโจมตีแบบ Denial of
Service Attack (DOS) ได้
Wireshark Software
Wireshark Software
Wireshark Software
โปรแกรมที่ใช้ในการวิเคราะห์แพ็กเก็ต (Packet Analyzer)
ถูกสร้างขึน้ เพื่อใช้ประโยชน์ ในการวิเคราะห์ปัญหาหรือการทางาน
ของ Network System และ เดิมชื่อ Ethereal
Wireshark Software
 Capture protocol ต่างๆ ได้หลายร้อย protocol เช่น
HyperText Transport Protocol (HTTP)
 Network Time Protocol
 X.509 Digital Certificates
 Peer-to-peer protocols
 BitTorrent Protocol
 Lightweight Directory Access Protocol (LDAP)
 Point-To-Point (PPP)
 Wifi / Wireless LAN captures / 802.11
 iWARP Protocol Suite
 IPv6 (and tunneling mechanism)

HTTP Protocol
 วิเคราะห์ HTTP Protocol : Encapsulation ,
decapsulation of data between client and
server
หัวข้ อที่ 20-Web-based
 Web-base คืออะไร
 Web-base Technology
 WEB 2.0 / WEB 3.0
 การทางานของ Web-base
Web-base คืออะไร
Web-based หมายถึง การทางานผ่ านทางโปรแกรม Browser
ซึ่งอาศัยการเชื่อมต่ อทางอินเตอร์ เน็ต หมายความว่ า เพียงแค่ เรามีโปรแกรม
Browser ไม่ ว่าจะเป็ น Internet Explorer , Fire Fox,
Safari, Opera หรือแม้ กระทั่งGoogle Chrome ก็ตาม เราก็
สามารถใช้ งานโปรแกรมหรือ Applications ใดๆก็ได้ โดยโปรแกรม
หรือ Applications เหล่านั้น จะติดตั้งบน Server แห่ งใดแห่ งหนึ่ง
Web-base Technology
Web เป็ นเทคโนโลยีแบบ Client/Server ที่สามารถเรียก ค้ นหา
และแสดงข้ อมูลต่ างๆ จากระบบแม่ ข่ายทัว่ โลกทีเ่ ชื่อมต่ อกันบน Internet
ซึ่งประกอบไปด้ วยข้ อมูลลักษณะต่ างๆ ไม่ ว่าจะเป็ นข้ อความ (Text)
รูปภาพ (Images) เสี ยง (Voice) ภาพเคลือ่ นไหว(Animation)
และภาพยนตร์ (Video) โดยจะมี Hyperlinks เป็ นตัวเชื่อมโยงไป
หน้ าเอกสาร (Web Page) ต่ างๆ ทีอ่ ยู่บน Web
Web-base Technology
Client
Server
Development Tools
Web Browser
Web Server
Database Server
Database
WEB 2.0 / WEB 3.0
 WEB 2.0
คือยุดทีม่ ีการสื่ อสารทั้งสองทิศทาง ทั้งจากผู้นาเสนอ และบุคคลทัว่ ไป
ที่สนใจ หรือ Dynamic Web ซึ่งทาให้ ผู้อ่านหรือผู้สนใจสามารถ
แสดงความคิดเห็นได้ สามารถที่จะสร้ างเนือ้ หาหรือ content ชนิดต่ างๆ
ทาให้ ข้อมูลต่ างๆ มีมากขึน้ มีการแบ่ งปันความรู้กนั มากขึน้
WEB 2.0 / WEB 3.0
 WEB 3.0
คือ Semantic Web เป็ นเทคโนโลยีหรือแนวความคิดทีจ่ ะ เชื่ อมโยงข้ อมูลใน web ที่มีเนือ้ หาเกีย่ วข้ องกันทั้งภายใน web หรือภายใน
เครือข่ ายของโลก ซึ่งมองไปแล้วมันก็คอื Database ของโลกเลย
แต่ กเ็ ป็ นแนวคิดทีจ่ ะทาให้ หาข้ อมูล ทีต่ ้ องการได้ ง่ายขึน้
การทางานของ Web-base
การทางานของ Web-base
 โครงสร้ างแบบต้ นไม้ ด้ วยลักษณะแบบยอดปิ ระมิด หรือเค้ าโครงช่ วยให้
ผู้ใช้ งานสารวจและค้ นคว้ าหาข้ อมูลไปทัว่ เว็บไซต์ ได้ อย่ างสะดวก
 โครงสร้ างแบบเชิงเส้ น เพจหนึ่งจะนาไปสู่ อกี เพจถัดไป และก็ได้ เรียง
ลาดับกันไปในแบบเชิงเส้ นตรงเช่ นนีไ้ ปเรื่อยๆ และอย่ างสุ ดท้ าย
 โครงสร้ างแบบสุ่ ม เพจหนึ่งๆ จะเชื่อมต่ อกันในลักษณะแบบสุ่ มไม่ ได้
เรียงตามลาดับที่แน่ นอน
 นาเสนอโดย น.ส.มรกต พิเชฐไพศาล 54631103
หัวข้ อที่ 21-Social Network
 Computer Network
 Social Network หรื อเรี ยกว่ า “เครื อข่ ายสังคม”

ประเภทของ Social Network
Computer Network
คือระบบที่มีคอมพิวเตอร์ อย่ างน้ อยสองเครื่องเชื่อมต่อกันโดยใช้
สื่อกลาง และสามารถสื่อสารข้ อมูลกันได้ อย่ างมีประสิทธิภาพ ซึ่ง
ทาให้ ผ้ ูใช้ คอมพิวเตอร์ แต่ ละเครื่องสามารถแลกเปลี่ยนข้ อมูลซึ่งกัน
และกันได้ นอกจากนีย้ ังสามารถใช้ ทรัพยากร (Resources) ที่มี
อยู่ในเครือข่ ายร่ วมได้
Social Network
คือ บริการผ่านเว็บไซต์ที่เป็ นจุดโยงระหว่างบุคคลที่มี
เครือข่าย
สังคมของตัวเองผ่าน Internet รวมทัง้ เชื่อมโยงบริการต่างๆ
เข้าด้วยกัน เชื่อมเครือข่ายสังคมและเครือข่ายมิตรภาพเข้า
ด้วยกัน ด้วยการแชร์รปู แชร์ไฟล์ ซึ่งเราจะเรียกเว็บไซต์เหล่านี้
ว่า SNS (Social Network Sites)
ประเภทของ Social Network
1. Identity Network เผยแพร่ ตัวตน
2. Creative Network เผยแพร่ผลงาน
3. Interested Network ความสนใจตรงกัน
4. Collaboration Network ร่วมกันทางาน
5. Gaming/Virtual Reality โลกเสมือน
6. Peer to Peer(P2P)
หัวข้ อที่ 22-Netcut
 Netcut คืออะไร
 ARP (Address Resolution Protocol)
 การทางานของ ARP
 จาลองการทางานของโปรแกรม Netcut
 พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. ๒๕๕๐
Netcut คืออะไร
Netcut เป็ นโปรแกรมควบคุมคอมพิวเตอร์ที่ใช้งาน
Internetในระบบเครือข่าย LAN โดยโปรแกรมจะอาศัยช่องโหว่
ของโปรโตคอล ARP(Address Resolution Protocol)
ซึ่งจะทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถกู ควบคุมไม่สามารถใช้งาน
Internet ได้ในชัวคราว
่
ARP (Address Resolution Protocol)
Network layer
Data
Link
layer
LLC
MAC
Physical layer
ARP เป็ นโปรโตคอลที่ทางานในชัน้ Data Link Layer ของTCP/IP เป็ นการทางาน
ในชัน้ เชื่อมต่อข้อมูลสาหรับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อแบบ “การกระจายข่าว
(Broadcasting)” แบ่งออกเป็ น
1. ชัน้ สื่อสารย่อยควบคุมเครือข่าย (Logical Link Control Sub-layer : LLC)
2. ชัน้ สื่อสารย่อยควบคุมการใช้สื่อ (Medium Access Control Sub layer : MAC)
ARP (Address Resolution Protocol)
โปรโตคอล ARP จะทาหน้ าที่ในการค้นหา MAC Address ของ
IP Address คอมพิวเตอร์ ที่ต้องการจะติดต่อด้วย โดย ARP จะทาการ
Broadcast Frame ไปยัง port คอมพิวเตอร์ที่อยู่ในระบบ LAN
เพื่อให้ host สามารถนา MAC address ไปสร้างเฟรมในชัน้ ของ data
link layer ได้
ARP (Address Resolution Protocol)
MAC Address (Media Access Control Address)
 ใช้เพื่อระบุหรืออ้างอิงเครื่องนัน้ ๆเป็ นเสมือนชื่อของ Hardware
เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องก็จะมีชื่อที่แตกต่างกันด้วยตัวเลข 48-bit
(เลขฐาน 16 จานวน 6 คู่) เช่น 00:12:F0:58:13:A5
ARP (Address Resolution Protocol)
IP Address (Internet Protocol address)
ใช้เพื่อระบุที่อยู่ของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่ทาการเชือ่ มต่อ internet
รวมถึง router, switch, printer, โทรศัพท์, fax และอุปกรณ์ บางชนิด
ด้วยตัวเลข 32-bit หรือ 4 byte (เลข Binary หรือเลขฐานสอง) เช่น
172.16.254.1
การทางานของ ARP
1. เครื่องที่ต้องการสอบถาม MAC Address ส่ง ARP packet
เรียกว่า ARP Request ซึ่งบรรจุ IP , MAC Address ของ
ตนเอง และ IP Address ของเครื่องที่ต้องการทราบ MAC
Address ส่วน MAC Address ปลายทางนัน้ จะถูกกาหนด
เป็ น FF:FF:FF:FF:FF:FF ซึ่งเป็ น Broadcast Address
เพื่อให้ ARP packet ถูกส่งไปยังเครื่องทุกเครื่องที่อยู่ในเน็ตเวิรค์
เดียวกัน
การทางานของ ARP
การทางานของ ARP
2. เฉพาะเครื่องที่มี IP Address ตรงกับที่ระบุใน ARP Packet
จะตอบกลับมาด้วย ARP Packet เช่นกัน โดยใส่ MAC
Address และ IP Address ของตนเองเป็ นผูส้ ่ง และใส่ MAC
Address และ IP Address ของเครื่องที่ส่งมาเป็ นผูร้ บั
packet ที่ตอบกลับนี้ เรียกว่า ARP Reply
การทางานของ ARP
พรบ.ว่ าด้ วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. ๒๕๕๐
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐
ที่เกี่ยวข้องกับโปรแกรม Netcut
มาตรา 10 ผูใ้ ดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทาการของ
ระบบคอมพิวเตอร์ของผูอ้ ื่น ถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือ รบกวนจนไม่
สามารถทางานตามปกติได้ต้องระวางโทษจาคุก ไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกิน
หนึ่ งแสนบาท หรือ ทัง้ จาทัง้ ปรับ
หัวข้ อนาเสนอวิชา : 03227115
Data Communication and Computer Network
สรุปหัวข้ อนาเสนอ 16-22
นายอิทธิพล เสาร์ แดน รหัสนักศึกษา 54631125