เกณฑ์หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และจัดการความรู้ และเกณฑ์หมวด 5 การ

Download Report

Transcript เกณฑ์หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และจัดการความรู้ และเกณฑ์หมวด 5 การ

หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการ
ความรู ้
คุณ
Set Vision
& Values
KSFs, Strategic
challenges, SWOT,
Blind spot, Risk
Deploy, Communicate,
Encourage, Engage
Resource Plan
CRM
Product
development,
Innovation
Customer
engagement
Part., Suppl.,
Collaborator
Work system
design,
Innovation
Strategic Deployment
SPP
Core competency
& Strat.
advantages
Sustainable
organization
Requirement
Work process.
Design/innovation
Strategic
review/Projection
KPI
Compare
CP-Mgt
KPI
selection
- Governance
- Ethic
- Social
VOC: Past,
Present, Potential
KPI
collect
Process Mgt.,
Emergency
Analysis,
Review,
Prioritization
Process
Improvement
Data,
Information
Identify
Manage
Review
Update
Knowledge
Engagement
factors,
Enrichment
culture
Performance
management
Engagement
evaluation
Hardware
software
HRD + learn
Employee
segment
Capacity,
capabilities
Working Climate
Recruit,
Placement
Organize,
Capitalized
Core
Competencies
Evaluation
Satisfaction
Align,
Balance
หมวด 4
การวัดผล การวิเคราะห์ และการจัดการความรู ้ (90 คะแนน)
เป็ นการตรวจประเมินว่าสถาบันเลือก รวบรวม วิเคราะห์ จัดการ
และปรับปรุงข้อมูล สารสนเทศ และสินทรัพย์เชิงความรู้อย่างไร
มีการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างไร และมีการ
ทบทวนและใช้ผลการทบทวนในการปรับปรุงผลการดาเนินการ
อย่างไร
4.1 การวัด วิเคราะห์ และปรับปรุงผลการดาเนินการขององค์กร
(45 คะแนน)
4.2 การจัดการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและและการ
จัดการความรู้ (45 คะแนน)
5
การวัดผล วิเคราะห์ และจัดการความรู้
วัด วิเคราะห์
ปรับปรุ งงาน
ก. การวัดผลการดาเนินการ
ข. การวิเคราะห์ และ
ทบทวนผลการดาเนินการ
ค. การปรับปรุ งผลการ
ดาเนินการ
จัดการ
สารสนเทศ
และความรู้
ก. การจัดการข้อมูล
สารสนเทศ การจัดการ
ความรู้
ข.การจัดการทรัพยากร
สารสนเทศ และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
6
4.1
การวัด วิเคราะห์ และปรับปรุงผลการดาเนินการขององค์กร
วิธีการที่สถาบันใช้ ในการวัด วิเคราะห์ ทบทวน ตลอดจนปรับปรุง
ผลการเรี ยนรู้ของผู้เรี ยนและผลการดาเนินการของสถาบัน โดย
การใช้ ข้อมูลและสารสนเทศในทุกระดับและทุกส่วนงานของ
สถาบัน
วัด วิเคราะห์
ปรับปรุ งงาน
ก. การวัดผลการ
ดาเนินการ
ข. การวิเคราะห์ และ
ทบทวนผลการดาเนินการ
ค. การปรับปรุ งผลการ
ดาเนินการ
7
คัดเลือก รวบรวม ให้สอดคล้อง
ตามครรลอง กลยุทธ์ เร่ งรุ ดแผน
หาเปรี ยบเทียบ ทันและไว ไม่คลอนแคลน
วิเคราะห์แม่น เพื่อปรับปรุ ง ให้รุ่งเรื อง
Sharing
4.1
การวัด วิเคราะห์ และปรับปรุงผลการดาเนินการขององค์กร
ก. การวัดผลการดาเนินการ
1) สถาบันมีวธิ กี ารอย่างไรในการเลือก รวบรวม ปรับให้สอดคล้อง
และบูรณาการข้อมูลและ สารสนเทศ เพือ่ ติดตามผลการ
ปฏิบตั ิ งานประจาวัน และผลการดาเนินการโดยรวมของสถาบัน
ซึง่ รวมถึงการติดตามความก้าวหน้าของการดาเนินการเทียบกับ
วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ และแผนปฏิบตั ิ การ สถาบันมีตวั วัดผล
การดาเนินการทีส่ าคัญอะไรบ้าง รวมทัง้ ตัววัดด้านงบประมาณ
และการเงินทีส่ าคัญทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาว ตัววัดเหล่านี้ได้รบั
การพิจารณาบ่อยเพียงใด สถาบันมีวธิ กี ารอย่างไรในการใช้ขอ้ มูล
และสารสนเทศเหล่านี้เพือ่ สนับสนุ นการตัดสินใจและสร้าง
นวัตกรรม
10
4.1
การวัด วิเคราะห์ และปรับปรุงผลการดาเนินการขององค์กร
ก. การวัดผลการดาเนินการ (ต่อ)
2) สถาบันมีวธิ กี ารเลือกและทาให้มนใจได้
ั่
อย่างไรว่าได้ใช้ขอ้ มูลและ
สารสนเทศเชิงเปรียบเทียบทีส่ าคัญ เพือ่ สนับสนุ นการตัดสินใจใน
ระดับปฏิบตั กิ ารและระดับกลยุทธ์ และเพือ่ นวัตกรรมอย่างมี
ประสิทธิผล
3) สถาบันมีวธิ กี ารอย่างไรในการทาให้ระบบการวัดผลการ
ดาเนินการทันต่อความต้องการและทิศทางของบริการทาง
การศึกษาอยูเ่ สมอ สถาบันทาให้มนใจได้
ั่
อย่างไรว่า ระบบการ
วัดผลการดาเนินการดังกล่าว ไวต่อการเปลีย่ นแปลงทัง้ ภายใน
และภายนอกสถาบันทีเ่ กิดขึน้ อย่างรวดเร็วและไม่คาดคิด
11
4.1
การวัด วิเคราะห์ และปรับปรุงผลการดาเนินการขององค์กร
ข. การวิเคราะห์ และทบทวนผลการดาเนินการ
• สถาบันมีวธิ กี ารอย่างไรในการทบทวนผลการดาเนินการและขีด
ความสามารถของสถาบัน สถาบันทาการวิเคราะห์ในเรือ่ งอะไรบ้าง
เพือ่ นามาใช้สนับสนุ นการทบทวนและเพือ่ ทาให้มนใจว่
ั ่ าผลสรุปนัน้
ใช้ได้ สถาบันใช้ผลการทบทวนนี้อย่างไรในการตรวจประเมินผล
สาเร็จของสถาบัน ผลการดาเนินการเมือ่ เทียบกับคูแ่ ข่งและสถาบัน
ทีม่ ลี กั ษณะคล้ายกัน และความก้าวหน้าเทียบกับวัตถุประสงค์
เชิงกลยุทธ์และแผนปฏิบตั ิ การ รวมทัง้ ใช้ในการตรวจประเมิน
ความสามารถของสถาบันทีจ่ ะตอบสนองอย่างรวดเร็วต่อความ
เปลีย่ นแปลงในด้านความต้องการและความท้าทายของสถาบัน ใน
สภาพแวดล้อมทีส่ ถาบันดาเนินงานอยู่
12
4.1
การวัด วิเคราะห์ และปรับปรุงผลการดาเนินการขององค์กร
ค. การปรับปรุงผลการดาเนินการ
• สถาบันมีวธิ กี ารอย่างไรในการแปลงผลการทบทวนผลการดาเนินการ ไป
จัดลาดับความสาคัญของเรือ่ งทีต่ อ้ งนาไปปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและอย่างก้าว
กระโดด รวมทัง้ ไปเป็ นโอกาสในการสร้างนวัตกรรม สถาบันมีวธิ กี ารอย่างไร
ในการถ่ายทอดเรือ่ งทีจ่ ดั ลาดับความสาคัญไว้และโอกาสในการสร้าง
นวัตกรรม ไปสู่คณาจารย์ บุคลากร และกลุม่ งานอืน่ ๆ ทัวทั
่ ง้ สถาบัน เพือ่
สนับสนุนบุคลากรเหล่านัน้ อย่างมีประสิทธิผลให้สามารถตัดสินใจได้ สถาบัน
มีวธิ กี ารอย่างไร ในการถ่ายทอดเรือ่ งทีจ่ ดั ลาดับความสาคัญและโอกาส
ดังกล่าวไปยังสถาบันทีส่ ง่ ผูเ้ รียนมาศึกษาและรับผูเ้ รียนไปศึกษาต่อ รวมถึงผู้
ส่งมอบ และคู่ความร่วมมือทัง้ ที่เป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ เพือ่ ให้
มันใจว่
่ ามีการนาไปปฏิบตั อิ ย่างสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันกับสถาบัน
(*)
13
4.2 การจัดการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและและการจัดการ
ความรู ้ (45 คะแนน)
วิธีการที่สถาบันดาเนินงานเพื่อให้มนใจได้
ั่
ว่า ข้อมูลสารสนเทศ
ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ที่จาเป็ นสาหรับผูป้ ฏิบตั ิ งาน ผูเ้ รียน ผูม้ ีส่วน
ได้ส่วนเสีย ตลอดจนผูส้ ่งมอบและคู่ความร่วมมือทัง้ ที่เป็ นทางการ
และไม่เป็ นทางการ มีคณ
ุ ภาพและพร้อมใช้งาน ให้อธิบายถึงวิธีการ
ที่สถาบันสร้างและจัดการสินทรัพย์เชิงความรู้ของสถาบัน
จัดการ
สารสนเทศ
และความรู้
ก. การจัดการข้อมูล
สารสนเทศ การจัดการ
ความรู้
ข.การจัดการทรัพยากร
สารสนเทศ และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
14
สารสนเทศ องค์ความรู ้ ดูมนั่ ใจ
มีพร้อมใช้ ผูเ้ กี่ยวข้อง ย่องเข้าถึง
ทั้ง KM แบ่งปันนา ทาแผนตรึ ง
จะได้พ่ งึ IT ทันดีจงั
4.2
การจัดการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการความรู ้
ก. การจัดการข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการความรู ้
1) สถาบันมีวธิ กี ารอย่างไรในการทาให้มนใจว่
ั ่ าข้อมูลสารสนเทศ และ
องค์ความรูข้ องสถาบันมีคุณสมบัตดิ งั นี้ :
 ความแม่นยา
 ความถูกต้องและเชือ่ ถือได้
 ความทันกาล
 การรักษาความปลอดภัยและความลับ
2) สถาบันดาเนินการอย่างไร เพือ่ ให้ขอ้ มูลและสารสนเทศทีต่ อ้ งการมี
ความพร้อมใช้งาน และทาอย่างไรเพือ่ ให้ผปู้ ฏิบตั ิ งาน ผูเ้ รียน ผูม้ ี
ส่วนได้ส่วนเสีย ตลอดจนผูส้ ง่ มอบและคู่ความร่วมมือทัง้ ที่เป็ น
ทางการและไม่เป็ นทางการ (*) สามารถเข้าถึงข้อมูลดังกล่าวได้
16
4.2 การจัดการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการความรู ้
ก. การจัดการข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการความรู ้ (ต่อ)
3) สถาบันมีวธิ กี ารอย่างไรในการจัดการความรูข้ องสถาบัน เพื่อให้
บรรลุผลของ
•
•
•
•
การรวบรวมและถ่ายทอดความรูข้ องผูป้ ฏิบตั ิ งาน
การถ่ายทอดความรูท้ เ่ี ป็ นประโยชน์ ระหว่างสถาบันกับผูเ้ รียน ผูม้ ี
ส่วนได้ส่วนเสีย ผูส้ ง่ มอบและคู่ความร่วมมือทัง้ ที่เป็ นทางการและ
ไม่เป็ นทางการ
ความรวดเร็วในการค้นหา ระบุ แบ่งปนั และนา วิธกี ารปฏิบตั ทิ เ่ี ป็ น
เลิศ ไปดาเนินการ
การรวบรวมความรูแ้ ละถ่ายทอดความรูท้ เ่ี ป็ นประโยชน์ ไปใช้ใน
กระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์
17
4.2 การจัดการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและความรู ้
ข.การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
1) สถาบันดาเนินการอย่างไรเพือ่ ให้มนใจได้
ั่
วา่ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ม ี
ความเชื่อถือได้ ปลอดภัยและง่ายต่อการใช้งาน
2) ในกรณีฉุกเฉิน สถาบันมีวธิ กี ารอย่างไรในการทาให้มนใจว่
ั ่ าข้อมูลและ
สารสนเทศ รวมทัง้ ระบบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์มคี วามพร้อมใช้งาน
อย่างต่อเนื่อง
3) สถาบันมีวธิ กี ารอย่างไรในการรักษากลไกทีท่ าให้ขอ้ มูลและสารสนเทศมี
ความพร้อมในการใช้งาน รวมทัง้ ระบบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ทันกับ
ความต้องการและทิศทางของบริการทางการศึกษา และการ
เปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีในสภาพแวดล้อมทีส่ ถาบันดาเนินงานอยู่
18
หมวด 5 การม่ ุงเน้ นผู้ปฏิบัตงิ าน
คุณ
คุณค่า – ผูกพัน, segment, ความก้าวหน้า
ผูกใจ
การมุ่งเน้น
ผูป้ ฏิบตั ิงาน
พัฒนาเรี ยนรู้– Core competencies,
Strategic challenge
ประเมิน – ยกย่อง จูงใจ ค่าตอบแทน
ปรับปรุ ง
เน้นผูเ้ รี ยน/
Stakeholder
Capacity / capability
สภาพแวดล้อม
ผลงานดี/
บรรลุแผน
บรรยากาศการทางาน
วัฒนธรรม
นวัตกรรม
พร้อมต่อการ
เปลี่ยนแปลง
การมุง่ เน้ นผู้ปฏิบตั ิงาน
เทใจมุ่ง
ผลลัพธ์
การสร้างคุณค่าของ
ผูป้ ฏิบตั ิงาน
การพัฒนาผูป้ ฏิบตั ิงานและ
ผูน้ า
ปรับ
สิ่ งแวดล้อม
ขีดความสามารถและ
อัตรากาลัง
บรรยากาศการทางาน
การประเมินความผูกพัน
ของผูป้ ฏิบตั ิงาน
23
Sharing
• 5.1 a 1 , 2 , 3
5.1 การผูกใจผูป้ ฏิบตั งิ าน
ก.
การสร้างคุณค่าของผูป้ ฏิบตั ิงาน
1) สถาบันมีวธิ กี ารอย่างไรในการกาหนดปจั จัยทีส่ าคัญทีส่ ง่ ผลต่อ
ความผูกพันของผูป้ ฏิบตั ิ งาน และมีวธิ กี ารอย่างไรในการกาหนด
ปจั จัยทีส่ าคัญทีส่ ง่ ผลต่อความพึงพอใจของผูป้ ฏิบตั ิ งาน วิธกี าร
กาหนดปจั จัยเหล่านี้แตกต่างกันอย่างไร ตามกลุม่ และประเภทของ
ผูป้ ฏิบตั ิ งาน
2) สถาบันมีวธิ กี ารอย่างไรในการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรทีม่ ี
ลักษณะเปิดให้มกี ารสือ่ สาร มีผลการดาเนินการที่ดี และ
ผูป้ ฏิบตั ิ งานมีความผูกพันต่อสถาบัน สถาบันทาให้มนใจได้
ั่
อย่างไรว่าวัฒนธรรมองค์กรได้ใช้ประโยชน์จากความหลากหลาย
ของความคิด วัฒนธรรม และวิธคี ดิ ของผูป้ ฏิบตั ิ งาน
25
5.1 การผูกใจผูป้ ฏิบตั งิ าน
ก.
การสร้างคุณค่าของผูป้ ฏิบตั ิงาน
3) ระบบการจัดการผลการปฏิบตั ิ งานสนับสนุนให้มผี ลการ
ดาเนินการที่ดีและผูกใจผูป้ ฏิบตั ิ งานได้อย่างไร ระบบการ
จัดการผลการปฏิบตั ิ งานได้พจิ ารณาถึงการบริหาร
ค่าตอบแทน การยกย่องชมเชย การให้รางวัล และการให้
สิง่ จูงใจต่อผูป้ ฏิบตั ิ งานอย่างไร ระบบการจัดการผลการ
ปฏิบตั งิ านของสถาบันส่งเสริมให้เกิด การมุง่ เน้นผูเ้ รียน ผูม้ ี
ส่วนได้ส่วนเสีย และสถาบัน รวมถึงการบรรลุแผนปฏิบตั ิ
การของสถาบันอย่างไร
26
Set Vision
& Values
KSFs, Strategic
challenges, SWOT,
Blind spot, Risk
Deploy, Communicate,
Encourage, Engage
Resource Plan
CRM
Product
development,
Innovation
Customer
engagement
Part., Suppl.,
Collaborator
Work system
design,
Innovation
Strategic Deployment
SPP
Core competency
& Strat.
advantages
Sustainable
organization
Requirement
Work process.
Design/innovation
Strategic
review/Projection
KPI
Compare
CP-Mgt
KPI
selection
- Governance
- Ethic
- Social
VOC: Past,
Present, Potential
KPI
collect
Process Mgt.,
Emergency
Analysis,
Review,
Prioritization
Process
Improvement
Data,
Information
Identify
Manage
Review
Update
Knowledge
Engagement
factors,
Enrichment
culture
Performance
management
Engagement
evaluation
Hardware
software
HRD + learn
Employee
segment
Capacity,
capabilities
Working Climate
Recruit,
Placement
Organize,
Capitalized
Core
Competencies
Evaluation
Satisfaction
Align,
Balance
ผูน้ าดี มี Vision นั้นต้องเน้น
Customer driven เด่นเลิศหรู
OP learn เชิญคนช่วย ด้วย Value
Partner คู่ อยูย่ ดื หยุน่ หนุนเปลี่ยนแปลง
อนาคต งดงาม ตาม Inno
Fact มีโชว์ Social เกี่ยวเข้มแข็ง
มุ่งผลลัพธ์ จับคุณค่า มาสาแดง
แล้วแจกแจงเป็ นระบบ จึงครบเอย