Chapter10 - UTCC e

Download Report

Transcript Chapter10 - UTCC e

บทที่ 10
การจัดส่ งกาลังบารุงทางธุรกิจ
(Logistics Management)
การจัดส่ งกาลังบารุงทางธุรกิจ (Logistics Management)
• การจัดส่ งกาลังบารุ งทางธุรกิจ (Logistics) มีอีกหลายๆคาที่มีที่มาที่ไป และ
ความหมายที่คล้ายคลึงกัน
การกระจายสิ นค้าทางกายภาพ (Physical Distribution)
การกระจายสิ นค้า (Distribution)
การบริ หารวัตถุดิบ ((Material Management)
ระบบการตอบรับทันที (Quick Response System)
การบริ หารอุปทานลูกโซ่ (Supply Chain Management)
การจัดส่ งกาลังบารุ งทางธุรกิจ (Business Logistics)
การจัดส่ งกาลังบารุ งทางการตลาด (Marketing Logistics)
คานิยาม
• การจัดส่ งกาลังบารุงทางธุรกิจ (Logistics) หมายถึง
กระบวนการ การวางแผน การปฏิบัติการ และการควบคมุ
ของกระบวนการสินค้ าคงคลัง สินค้ าสาเร็ จรูปตั้งแต่
จดุ เริ่ มต้ นขัน้ ตอนเตรี ยมการผลิตจนกระทัง่ ถึงมือผ้ บู ริ โภค
คนสุดท้ าย เพือ่ สนองตอบต่ อความต้ องการของลกู ค้ าให้ เกิด
ความพอใจสูงสุด
การจัดส่ งกาลังบารุงทางธุรกิจสาหรับการตลาด
1. ทาให้ เกิดกิจกรรมทางการตลาดที่มปี ระสิ ทธิภาพ
 การบริ การลูกค้า (Customer Services) เพื่อให้เกิดความพึงพอใจและการ
บริ หารเวลาเพื่อสั่งสิ นค้าให้ทนั เวลาที่ลกู ค้าต้องการ
 การใช้ความพยายามทั้งหมด (Integrated Effort) เพื่อประสมประสาน
ทรัพยากรของธุรกิจเข้าด้วยกันโดยเฉพาะการจัดส่ วนประสมทางการตาด
(Marketing mix) ที่เหมาะสม
 ความสามารถที่ทาให้บริ ษทั ได้มีกาไร (Company Profit)
 ดูรูปที่ 10.1
การจัดส่ งกาลังบารุงทางธุรกิจสาหรับการตลาด
2. ทาให้ เกิดอรรถประโยชน์ ทางด้ านการตลาด (Utilities)
อรรถประโยชน์ ด้านรูปร่ างของสิ นค้า (Form Utility)
• อรรถประโยชน์ ด้านสถานที่ (Place Utility)
• อรรถประโยชน์ ด้านเวลา (Time Utility)
• อรรถประโยชน์ ด้านความเป็ นเจ้ าของ (Possession Utility)
• กิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับการจัดส่ งกาลังบารุงทางธุรกิจจึงเป็ นการสร้ าง
อรรถประโยชน์ ทางการตลาดอย่ างมากมายให้ กบั ผู้บริโภคคนสุ ดท้าย
องค์ ประกอบของการจัดส่ งบารุงกาลังทางธุรกิจ
ดูรูปภาพที่ 10.2 หน้า 197
• ประกอบด้วย
1.
2.
3.
4.
Flow of goods and services
Information flow and information technology
Financial flow
Logistics & Distributions
แนวคิดเกีย่ วกับการจัดส่ งกาลังบารุงทางธุรกิจในเชิงระบบ
และต้ นทุนรวม
(Logistics Systems, Cost, and components)
แนวคิดเกีย่ วกับการจัดส่ งกาลังบารุงทางธุรกิจเชิงระบบ (System
Approach)
• กิจกรรมทุกอย่างในการจัดส่ งกาลังบารุ งทางธุรกิจเป็ นระบบที่มีการ
เชื่อมโยงติดต่อซึ่งกันและกัน
• เมื่อกิจกรรมใดที่มีการเปลี่ยนแปลงย่อมมีผลกระทบต่อกิจกรรม
อื่นๆด้วย
แนวคิดเกีย่ วกับการจัดส่ งกาลังบารุงทางธุรกิจแบบต้ นทุนรวม
(Total cost approach)
• ต้นทุนที่เกิดขึ้นในการจัดส่ งกาลังบารุ งทางธุรกิจให้พิจารณาที่
ต้นทุนรวมของทุกกิจกรรมมากกว่าที่จะพิจารณาในแต่ละกิจกรรม
• ต้นทุนรวมที่เกิดขึ้นต้องต่าสุ ด
• การออกแบบระบบลอจิสติก ต้องตรวจสอบถึงต้นทุนอื่นๆในแต่ละ
กิจกรรม และพิจารณาว่าต้นทุนในกิจกรรมใดที่อาจจะมีผลกระทบ
ต่อกิจกรรมอื่นๆ
**ทั้งสองแนวความคิดจะทาให้ มีการออกแบบเกีย่ วกับการบริการลูกค้า
(Customer Services) ทีด่ ีทสี่ ุ ดแต่ เกิดต้ นทุนตา่ สุ ดในทั้งระบบ
การบริการลูกค้ า (Customer Services)
• การให้ บริ การลูกค้าต้องคานึงถึงถึง 2 ประการดังนี้
1. การให้การบริ การลูกค้า (Customer Service)
• ก่อนการให้การ บริ การลูกค้า (Pre-transaction elements)
• ขณะที่ให้ บริ การลูกค้า (Transaction elements)
• หลังการบริ การให้กบั ลูกค้า (Post-transaction elements)
2. ต้นทุนการบริ การ(Cost of Customer Service)
ผลของการมีระบบลอจิสติกส์ และการบริการลูกค้ า
• เวลาที่สงั่ สินค้ าจนถึงเวลาที่ขนส่งสินค้ า (Time from order receipt
to order shipment)
• ขนาดของการสัง่ สินค้ าและ ข้ อจากัดในการแยกแยะและจัด
ประเภทสินค้ า (Order size and assortment constraints)
• ร้ อยละของการขาดสินค้ าในคลังสินค้ า (Percentage of items out
of stock)
• ร้ อยละของคาสัง่ ซื ้อที่ถกู ต้ อง (Percentage of order filled
accurately)
• ร้ อยละของค่าสัง่ ซื ้อและเวลาที่สง่ มอบสินค้ าที่ถกู ต้ อง(Percentage
of orders filled within a given number of days from receipt of
the order)
• ร้ อยละของคาสัง่ ซื ้อเพื่อเติมเต็ม (Percentage of orders filled)
• ร้ อยละของคาสัง่ ซื ้อของลูกค้ าที่สง่ สินค้ ามีคณ
ุ ภาพที่ถกู ต้ อง
(Percentage of customer orders that arrive in good condition
• ระยะเวลาของรอบของการสัง่ ซื้อในแต่ละครั้ง (Order cycle time :
time from order placement to order delivery)
• มีความสะดวกและยืดหยุน่ ในการสัง่ ซื้อสิ นค้าเพิ่มเติม (Ease and
flexibility of order placement)
กิจกรรมการจัดส่ งกาลังบารุงทางธุรกิจ
•
•
•
•
•
•
•
การขนส่ ง (Transportation)
การบริหารวัตถุดิบ (Material Handling)
การบริหารการสั่ งซื้อ (Order Processing)
การควบคุมสิ นค้ าคงคลัง (Inventory Control)
การคลังสิ นค้ า (Warehousing)
การบรรจุภัณฑ์ (Packaging)
ดูรูปภาพที่ 10.3
การขนส่ ง (Transportation)
• เป็ นกิจกรรมทีม่ ีความสาคัญมากทีส่ ุ ดในกระบวนการจัดส่ งกาลัง
บารุงทางธุรกิจ
• เป็ นกระบวนการที่เริ่มตั้งแต่ วางแผนเส้ นทาง เลือกระบบการขนส่ ง
คานวณต้ นทุน และเปรียบเปรียบว่ าการขนส่ งด้ วยวิธีใดดีทสี่ ุ ด
ต้ นทุนต่าสุ ด มีประสิ ทธิภาพมากทีส่ ุ ด
การพิจารณาปัจจัยในการขนส่ ง
•
•
•
•
•
•
•
•
ควรขนส่ งสิ นค้ าเองหรือจ้ างบุคคลอืน่
ความเร็วของพาหนะทีใ่ ช้ ในการขนส่ ง
ประสิ ทธิภาพของการใช้ พลังงาน
ความไว้ วางใจในการตรงต่ อเวลา
ต้ นทุนในการขนส่ ง อัตราค่ าขนส่ ง ค่ าระวาง ค่ าประกันภัย
ความถี่ในการขนส่ ง ความสามารถในการจัดหาทาเลที่ต้งั ของการขนส่ ง
ความคล่ องตัวและความยืดหยุ่นในการดูแลสิ นค้ า
ระยะทางและคลังสิ นค้ า
ประเภทของการขนส่ ง
•
•
•
•
•
•
การขนส่ งทางรถไฟ
การนส่ งทางรถยนต์
การขนส่ งทางเรือ
การขนส่ งทางอากาศ
การขนส่ งทางท่ อ
ข้ อดีข้อเสี ย ดูตารางที่ 10.1
การขนส่ งหลายรูปแบบ (Intermodal)
• เป็ น การขนส่ ง 2 ประเภทขึ้นไปเพื่อส่ งสิ นค้าในเที่ยวหนึ่ งๆ
• เนื่องจากบางพื้นที่ อาจจะมีขอ้ จากัดในการขนส่ งที่แตกต่างกัน ก็เลยมีความ
จาเป็ นที่จะต้องการขนส่ งหลายรู ปแบบประกอบกัน
• การนาคอนเทนเนอร์ (Container) นามาใช้จะสามารถขนถ่ายสิ นค้าได้
สาหรับการขนส่ งหลายประเภทได้
• แบ่งเป็ น 3 รู ปแบบ
• Piggy-back การขนส่ งรถไฟร่ วมกับการขนส่ งรถบรรทุก
• Fishy-back การขนส่ งรถบรรทุก ร่ วมกับการขนส่ งทางเรือ
• Sea-air การขนส่ งทางเครื่องบินร่ วมกับการขนส่ งทางเรือ
การบริหารวัตถุดบิ (Material Handling)
• เป็ นกิจกรรมทีค่ อยดูแลการเคลือ่ นไหวของวัตถุดิบก่อนทีจ่ ะป้อนเข้ า
สู่ กระบวนการผลิต
• เป็ นการพิจารณาถึงการเคลือ่ นย้ ายวัตถุดิบ การเก็บรักษา ด้ วยต้ นทุน
ต่าสุ ด
• เป็ นการพิจารณาถึงเครื่องมือทีม่ ีประสิ ทธิภาพสู งในการเคลือ่ นย้ าย
เช่ น Forklifts, Cranes etc.,
• วัตถุดิบสามารถส่ งทันทีโดยไม่ มีการเก็บในโกดังสิ นค้ าก่ อน (Cross
Docking) เพือ่ ลดต้ นทุนในการเก็บรักษา
การออกแบบการบริหารวัตถุดบิ และการลาเลียง
• การเคลือ่ นย้ ายโดยเครื่องจักร
•
•
•
•
รถยก (Forklift truck)
รถลากจูงประกอบรถพ่ วง(Tractor-tailor)
ปั้นจั่น(Crane)
รางเลือ่ น (Conveyor)
• การเคลือ่ นย้ ายอัตโนมัติ
การบริหารการสั่ งซื้อ (Order Processing)
Order Processing: เป็ นกิจกรรมที่จะต้องดาเนินการส่ งมอบสิ นค้าให้กบั
ลูกค้าให้ทนั ภายในเวลาที่กาหนดหลังจากที่ได้รับคาสัง่ ซื้อจากลูกค้า
• Order preparation: การเตรี ยมการกับคาสัง่ ซื้อของลูกค้า
• Order Transmittal: เป็ นกิจกรรมที่ตอ้ งเตรี ยมเกี่ยวกับการจัดส่ ง
สิ นค้า โดยคาสัง่ ซื้อไปยัง คลังสิ นค้า หรื อแผนกต่างๆ เพื่อจัดเตรี ยม
สิ นค้าตามที่ลูกค้าสัง่ ซื้อ
• Order Entry: การบริ หารการสัง่ ซื้อ อาจทาได้โดยพิจารณาช่วงใน
การจัดรอบของการสัง่ ซื้อ (Order Cycle Time)
• ส่ วนใหญ่ลูกค้าต้องการให้เกิด
•
•
•
•
ความแม่นยามากในการสั่งซื้ อ (Accuracy)
สิ นค้ามีเพียงพอในการสั่งซื้ อ (Product Availability)
การให้เครดิต (Credit Checking)
การจ่ายเงิน (Billing)
• Order filling: การสัง่ ซื้อเพื่อเพิ่มเติมให้เต็ม โดยพิจารณาจากจานวน
Pack ที่ขนส่ งได้ ตารางเลาส่ งเพื่อเพื่อให้ได้ทนั เวลา หรื อวิธีการ
ต่างๆ เช่น First come first served
• Order status reporting: ต้องมีการทารายงานกับลูกค้าใน
กระบวนการสัง่ ซื้อตลอดเวลา
• EDI (Electronic Data Interchange) เข้ามาใช้เพื่อให้คาสัง่ ซื้อ
รวดเร็ วขึ้น และแม่นยามากขึ้น
• EDI หมายถึง การแลกเปลีย่ นข้ อมูลทางธุรกิจทีใ่ ช้ อยู่เป็ นประจาใน
รูปแบบมาตรฐาน โดยผ่ านคอมพิวเตอร์ รูปแบบมาตรฐานทีใ่ ช้ ต้ อง
ได้ รับการยอมรับของผู้ใช้ ในระบบทั้งหมด
การควบคุมสิ นค้ าคงคลัง (Inventory Control)
• เป็ นการดูแลสิ นค้ าในคลังสิ นค้ า เพือ่ ให้ มีเพียงพอ ในการจาหน่ าย
โดย ทั้งนีต้ ้ นทุนต้ องตา่ สุ ดในการเก็บรักษา
• ต้ นทุนเกีย่ วกับสิ นค้ าคงคลังแบ่ งเป็ น 3 ประเภท
• ต้ นทุนการสั่ งซื้อ (Ordering Cost)
• ต้ นทุนในการเก็บรักษา (Carrying Cost)
• ต้ นทุนเนื่องจากสิ นค้ าขาดแคลน (Out of stock Cost)
วิธีการควบคุมสิ นค้ าคงคลัง
• ระดับทีจ่ ะสั่ งซื้อสิ นค้ า (Order point) หมายถึงเมื่อกิจการขายสิ นค้า
ไป ทาให้สินค้าลดลงไปเรื่ อยๆ ดังนั้นจะต้องมาซื้อสิ นค้าเพิ่มเติมให้
เพียงพอ ซึ่งเรี ยกว่า เป็ น จุดสัง่ ซื้อสิ นค้า
• ปริมาณการสั่ งซื้อสิ น ค้ า(Order quantity) หมายถึงการตัดสิ นใจที่
จะสัง่ ซื้อสิ นค้าในแต่ละครั้งมีปริ มาณมากน้อยเพียงใด จึงจะ
ประหยัดมากที่สุด และปริ มาณการสัง่ ซื้อมีความสัมพันธ์กบั การเก็บ
รักษาและค่าขนส่ ง
จุดสั่ งซื้อทีท่ าให้ ต้นทุนประหยัดทีส่ ุ ด
• EOQ (Economic Order Quantity) Model เป็ นรู ปแบบจาลองใน
การคานวณปริ มาณการสัง่ ซื้อที่ทาให้ตน้ ทุนในการสัง่ ซื้อแต่ละครั้ง
ประหยัดที่สุด โดยมีสูตรคานวณ
EOQ =  2DS/IC
D = ปริ มาณความต้องการสิ นค้า (Demand Forecast)
S = ต้นทุนในการสัง่ ซื้อสิ นค้าต่อการผลิตสิ นค้าต่อครั้ง
I = ต้นทุนในการเก็บรักษาสิ นค้าคงเหลือ คิดเป็ น % ของมูลค่า
สินค้ าคงเหลือ
C =ต้นทุนค่าสิ นค้าคงเหลือต่อหน่วย
• ถ้าคานวณได้แล้ว ต้นทุนต่อหน่วยสูง (Cost per unit) จะทาให้
ต้นทุนรวมสูง(Total cost) ไปด้วย ดังนั้นจุดสัง่ ซื้อ คือจุดที่ตน้ ทุน
รวม (Total cost) ต่าสุ ด
• การคานวณ อาจจะเป็ นสัปดาห์ละครั้ง เพื่อที่จะได้ทราบจานวน
สิ นค้าที่จะสัง่ ซื้อ และเป็ นการตรวจสอบ Stock ไปด้วย
• ดูรูปภาพ 10.3 หน้ า 210 และตัวอย่ าง หน้ า 211
• การกาหนดจุดสัง่ ซื้อ (Reorder point) และสิ นค้าเพื่อความ
ปลอดภัย (Safety Stock)
• จุดสัง่ ซื้อ (Reorder point)
• จุดสัง่ ซื้อ = เวลารอคอย x อัตราขายสิ นค้าเฉลี่ยต่อวัน
• ROP = L x d
ดูตวั อย่างคานวณ หน้า 212
• การสัง่ ซื้อสิ นค้าเพื่อความปลอดภัย (Safety Stock)
จุดสัง่ ซื้อ = (เวลารอคอย x อัตราขายสิ นค้าเฉลี่ยต่อวัน) + ปริ มาณ
สิ นค้าปลอดภัยเพื่อความปลอดภัย
ROP = (L x d) + ปริ มาณสิ นค้าปลอดภัยเพื่อความปลอดภัย
• ดูตวั อย่างคานวณ หน้า 212-213
Activity Base Costing Analysis
• การวิเคราะห์ กจิ กรรมทีค่ านึงถึงต้ นทุนเป็ นหลัก (Activity Base
Costing Analysis)
• การใช้ กฎ 20/80 ของ Pareto ในการวิเคราะห์
• หมายถึง สิ นค้ าคงคลังจานวนร้ อยละ 20 ของรายการสิ นค้ าทั้งหมด
มียอดขายรวมกันถึงร้ อยละ 80 ของยอดขายรวม และสิ นค้ าคงคลัง
จานวนร้ อยละ 80 ของรายการสิ นค้ าทั้งหมด มียอดขายรวมกันแค่
ร้ อยละ 20 ของยอดขายรวม
การวิเคราะห์ ABC แบ่ งสิ นค้ าออกเป็ น 3 กลุ่ม
• กลุ่ม A สิ นค้ ามีมูลค่ าสู ง ปริมาณร้ อยละ 15 แต่ มีมูลค่ ารวมประมาณ
ร้ อยละ 70-80 ของมูลค่ าทั้งหมด
• กลุ่ม B สิ นค้ ามีมูลค่ าปานกลาง ปริมาณร้ อยละ 30 แต่ มีมูลค่ ารวม
ประมาณ ร้ อยละ 15-25 ของมูลค่ าทั้งหมด
• กลุ่ม C สิ นค้ ามีมูลค่ าต่า ปริมาณร้ อยละ 55 แต่ มีมูลค่ ารวม ประมาณ
ร้ อยละ 5 ของมูลค่ าทั้งหมด
• ดูรูปภาพ 10.4 หน้ า 214
• เมื่อแบ่งสิ นค้าเป็ นกลุ่มแล้ว การควบคุมสิ นค้าคงคลังจะมีความ
แตกต่างกันออกไปตามกลุ่มของสิ นค้า
• กลุ่ม A ต้องมีการควบคุมอย่างเข้มงวด
• กลุ่ม B มีการควบคุมปกติ
• กลุ่ม C ควบคุมแบบง่ายๆ
การคลังสิ นค้ า (Warehousing)
• เป็ นกิจกรรมทีด่ ูแลเกีย่ วกับการคลังสิ นค้ า การเก็บรักษาสิ นค้ าให้ อยู่
ในสภาพทีม่ ีความพร้ อมให้ บริการลูกค้ า
• ความสาคัญของการคลังสิ นค้ า
•
•
•
•
•
เป็ นสถานทีเ่ ก็บสิ นค้ า
ช่ วยประหยัดค่ าขนส่ ง
ช่ วยประหยัดต้ นทุนการผลิต
ช่ วยประหยัดการจัดซื้อ
ช่ วยป้องกันสิ นค้ าขาดแคลน
• ช่ วยบริการลูกค้ าสะดวกขึน้
• ช่ วยให้ กจิ การพร้ อมทีจ่ ะเผชิญกับสถานการณ์ การเปลีย่ นแปลงของตลาด
• ประเภทของคลังสิ นค้ า
1. คลังสิ นค้ าเอกชน (Private Warehouse)
2. คลังสิ นค้ าสาธารณะ (Public Warehouse)
• การเลือกทาเลทีต่ ้ังคลังสิ นค้ า
• ราคาที่ดิน
• ระยะยะทางของคลังสิ นค้า
• จานวนคนงานที่ใช้ในคลังสิ นค้า
• สิ่ งอานวยความสะดวก
• ยานพาหนะในการขนส่ ง
• ความสะดวกการหาคนงาน
• สภาพแวดล้อม
• ทัศนคติของผูบ้ ริ หาร
• ทัศนคติของชุมชน
ศูนย์ จดั จาหน่ ายหรือศูนย์ กระจายสิ นค้ า
(Distribution Center: DC)
• หมายถึง คลังสิ นค้าของบริ ษทั ใดบริ ษทั หนึ่ง ที่ออกแบบให้มี
ลักษณะเฉพาะอย่างเพื่อให้เกิดความสะดวกในการหมุนเวียน
สิ นค้าเข้าและสิ นค้าออก ทาหน้าที่รับคาสัง่ ซื้อ จัดหาสิ นค้า และ
จัดส่ งสิ นค้าให้กบั ลูกค้า โดยไม่ให้เกิดการเก็บรักษาสิ นค้าโดยไม่
จาเป็ น
• เน้น การทา Cross Docking
• มีการนาเอา EDI และ Barcode เข้ามาใช้เพื่อเกิดความสะดวก
การจัดส่ งและการขนถ่ ายสิ นค้ าของศูนย์ กระจายสิ นค้ า
• การจัดส่ งทั้งหมดผ่ านศูนย์ กระจายสิ นค้ า ดูรูป 10.5 หน้ า 219
• การวิง่ รอบจากศูนย์ กระจาสิ นค้ า ดูรูป 10.6 หน้ า 220
การบรรจุภัณฑ์ (Packaging)
• เป็ นกิจกรรมทีต่ ้ องออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพือ่ รักษาสภาพสิ นค้ าให้ อยู่ในสภาพที่
ดี เพือ่ ปกป้ องอิงและรักษาสิ นค้ าไม่ ให้ เกิดการแตกหักเสี ยหาย
• Unitizing เป็ นการทีท่ มี่ ี Package หลายๆดันมารวมเป็ น หนึ่ง Load หรือเป็ น
Pallet โดยมีวตั ดุประสงค์ ให้ มกี ารวมให้ ได้ มากทีส่ ุ ด เพือ่ ทีจ่ ะทาการขนย้ายให้
มีประสิ ทธิภาพสู งสุ ด เสี ยหายและชารุ ดน้ อยทีส่ ุ ด
• ในธุรกิจค้ าส่ งค้ าปลีกบางรายใช้ Container refrigerator เป็ นการนาเอา
Unitizing หลายอันมารวมกัน แล้วซื้อเป็ น Container จะทาให้ ง่าย และ
ประหยัดในการขนส่ ง
การเผชิญหน้ ากันระหว่ างแนวคิดระบบลอจิสติก
และสมาชิกในช่ องทางการตลาด
1. การกาหนดมาตรฐานของระบบลอจิสติกส์ ว่ าแบบใดที่สมาชิกใน
ช่ องทางการตลาดต้ องการ (Defining the kinds of logistics service
standards that channel members want)
2. สร้ างความมั่นใจว่ าโปรแกรมระบบลอจิสติกส์ เป็ นการออกแบบจาก
โรงงานของผู้ผลิตและสามารถทาได้ ตามมาตรฐานทีว่ างไว้
(Making sure that the proposed logistics program designed by
the manufacturer meets the channel member standard)
การเผชิญหน้ ากันระหว่ างแนวคิดระบบลอจิสติก
และสมาชิกในช่ องทางการตลาด
3. ชักชวนและขายโปรแกรมลอจิสติกส์ ให้ กบั สมาชิกในช่ องทาง
การตลาด โดยอาจจะเน้ นไปที่ ระบบลอจิสติกส์ จะช่ วยลดสิ นค้ า
ค้ างสต๊ อคจานวนมากได้ และหรือ ความต้ องการสิ นค้ าคงคลังลดลง
ฯลฯ (Selling the channel embers on the logistics program )
4. ตรวจสอบว่ าระบบลอจิสติกส์ ได้ รับการยอมรับจากสถาบันอื่นๆด้ วย
หรือไม่ (Monitoring the results of the logistics program once it
has been instituted )