powerpoint เอกสารประกอบการอบรมจิตสำนึกคุณภาพ

Download Report

Transcript powerpoint เอกสารประกอบการอบรมจิตสำนึกคุณภาพ

จิตสำนึกคุณภำพ
ดร.อาทิตา ชูตระกูล
จิตสำนึกคุณภำพ
จิตสำนึก (Conscientiousness) หรื อ ควำมตระหนัก (Awareness)
หมายถึง การตอบสนองต่อสิ่ งที่เกิดขึ้นและตัดสิ นใจเลือกสนองตอบต่อสิ่ งนั้น
ในทางที่ถูกต้อง ตามกฎระเบียบ กฎหมาย กฎระเบียบของสังคม จารี ต
ประเพณี
คุณภำพ (Quality) หมายถึง สิ นค้า หรื อบริ การ ที่เป็ นไปตามมาตรฐาน
จิตสำนึกคุณภำพ (Quality Awareness)
หมายถึง การที่ผปู้ ฏิบตั ิงานมีการรับรู้ถึงผลกระทบที่ได้
จากการปฏิบตั ิงาน หรื อมีสติรู้วา่ ขณะปฏิบตั ิงานนั้น ต้อง
ให้ความสาคัญกับคุณภาพอยูต่ ลอดเวลาเพื่อทาให้สินค้า
หรื อบริ การที่ได้มีคุณภาพ หรื อได้มาตรฐานตรงตามที่
กาหนดเอาไว้
องค์ ประกอบสำคัญของจิตสำนึกคุณภำพ
ประกอบด้ วยองค์ ประกอบทีส่ ำคัญ 4 ส่ วน
ผู้บริหำรระดับสู ง
(Top Management)
หัวหน้ ำงำน
จิตสำนึกคุณภำพ
พนักงำนผู้ปฏิบัตงิ ำน
(Supervisor)
(Quality Awareness)
(Operation)
สภำพแวดล้อม
ในกำรทำงำน
(Working Environment)
องค์ ประกอบสำคัญของจิตสำนึกคุณภำพ
องค์ ประกอบที่ 1 ผู้บริหำรระดับสู ง (Top Management)
คือผูท้ ี่กาหนดทิศทางการดาเนินงานให้กบั ทุกคนในองค์กร
องค์ ประกอบที่ 2 หัวหน้ ำงำน (Supervisor)
ผูท้ ี่มีหน้าที่สาคัญในการนาแผนงานต่างๆ ไปถ่ายทอดให้กบั พนักงานระดับ
ปฏิบตั ิการได้ทราบ และนาไปปฏิบตั ิ
องค์ ประกอบที่ 3 พนักงำนผู้ปฏิบัติงำน (Operation)
คือ ผูท้ ี่หยิบ จับ หรื อสัมผัสกับงานโดยตรง เพื่อแปรรู ปวัตถุดิบให้กลายเป็ น
สิ นค้า ถือได้วา่ พนักงานคือผูก้ าหนดคุณภาพสิ นค้า หรื อบริ การตัวจริ ง
องค์ ประกอบที่ 4 สภำพแวดล้อมในกำรทำงำน (Working Environment)
แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท หนึ่งคือ สิ่ งแวดล้อมที่สมั ผัสได้ เช่น สภาพแวดล้อม
ที่เหมาะสม ไม่อึดอัด คับแคบ ทางานได้สะดวก
สองคือ สิ่ งแวดล้อมด้านความรู้สึก โดยควรสร้างบรรยากาศในการทางาน
เป็ นทีม ซึ่งทุกคน ทุกแผนก ยินดี และพร้อมที่จะให้คาปรึ กษา
กำรลดปัญหำควำมผิดพลำด และกระตุ้นให้ เกิดกำรสร้ ำงจิตสำนึก
• ไม่ควรมอบหมายให้พนักงานปฏิบตั ิมากกว่าสองอย่างในเวลาเดียวกัน หรื อถ้าไม่สามารถ
หลีกเลี่ยงได้ ควรจัดพนักงานเพิ่มเพื่อช่วยเหลือ
• ควรกระตุน้ ให้พนักงานปฏิบตั ิดว้ ยความตั้งใจ และใส่ ใจในคุณภาพตลอดเวลา เช่นการประชุม
แจ้งข้อมูล การเข้าไปเฝ้ าดูการปฏิบตั ิงานอย่างใกล้ชิด การติดตามผลการปฏิบตั ิงานอย่างเป็ น
ระยะ เป็ นต้น
• ควรทาป้ าย สัญลักษณ์ หรื อเครื่ องหมายเตือน หรื ออุปกรณ์เพื่อป้ องกันความผิดพลาดเผอเรอ
• ควรจัดงานเหมาะสมกับคน ไม่มากเกินกาลังความสามารถ
• จัดทาคู่มือการปฏิบตั ิงาน และฝึ กอบรมให้กบั พนักงานปฏิบตั ิงานได้อย่างถูกต้อง และเฝ้ าติดตาม
วิธีการปฏิบตั ิงานของพนักงานเป็ นระยะอย่างใกล้ชิด
• ต้องบริ หารงานด้วยข้อเท็จจริ ง (Management by Fact) ไม่อาศัยความรู้สึก ลางสังหรณ์เด็ดขาด
• ควรลดสิ่ งรบกวนเพื่อป้ องกันการขาดสมาธิของพนักงาน เช่นเสี ยงดัง การพูดคุย การหยอก
ล้อเล่นกันขณะปฏิบตั ิงาน
• ควรจัดมาตรฐานการทางานในแต่ละวันให้ชดั เจน ทั้งด้านคุณภาพ และปริ มาณ
• หัวหน้างานควรแสดงความรับผิดชอบต่อผลงานที่เกิดขึ้นจากการปฏิบตั ิของลูกน้อง
• ควรลงโทษ และให้รางวัลอย่างเหมาะสมกับผลงาน
กำรเรียนรู้ จุดเริ่มต้ นของกำรสร้ ำงจิตสำนึก
“กำรเรียนรู้ถือเป็ นพืน้ ฐำนสำคัญในกำรพัฒนำทั้งตนเอง และหน่ วยงำน
ให้ เจริญก้ำวหน้ ำ ถ้ ำหำกพนักงำนในหน่ วยงำน หรือองค์ กรใด ไร้ ซึ่ง
ควำมรู้ทจี่ ำเป็ นต่ อกำรปฏิบัติงำนได้ อย่ ำงถูกต้ องแล้วไซร้ องค์ กรนั้นก็ยำกที่
จะอยู่รอด” การเรี ยนรู ้แบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ
- การเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง
- การเรี ยนรู ้ขององค์กร
กำรเรียนรู้เพือ่ กำรพัฒนำ
กำรเรียนรู้ ขององค์ กร
(organization Learning)
กำรเรียนรู้ ของตนเอง
(Self – Learning)
ระดับกำรเรียนรู้เพือ่ พัฒนำตนเอง
ประยุกต์
(Apply)
เรียนรู้
(Learn)
รับรู้
(Perceive)
ระดับทีห่ นึ่ง รับรู้ (Perceive)
หมายถึง การรับรู ้คาสัง่ ขั้นตอน วิธีการทางาน หรื อ
กฎระเบียบต่างๆ แล้วนามาใช้เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิงาน
ของตน เพื่อทาให้ได้ผลลัพธ์ของงานที่ตรงตามวัตถุประสงค์
และเป้ าหมายที่กาหนดไว้ ซึ่ งเหมาะสมกับพนักงานใหม่ หรื อ
ผูเ้ ริ่ มต้นการทางาน
ระดับทีส่ อง เรียนรู้ (Learn)
หมายถึง การเรี ยนรู ้จากสิ่ งที่ได้รับรู ้ในขั้นตอนแรกว่า
หลังจากที่ได้นาไปปฏิบตั ิน้ นั มีผลเป็ นอย่างไร มีปัญหา หรื อ
อุปสรรคอะไรหรื อไม่ และผลกระทบต่างๆ จากการ
ปฏิบตั ิงานของตนในด้านต่างๆ นั้นเป็ นอย่างไรบ้าง เหมาะ
กับผูท้ ี่ปฏิบตั ิงานได้ระยะหนึ่งหรื อไม่
ระดับทีส่ ำม ประยุกต์ (Apply)
หมายถึง การนาความรู ้ แนวคิด สิ่ งที่ตนได้คน้ พบจน
เกิดประสบการณ์ และทักษะมาประยุกต์ให้เกิดสิ่ งใหม่วิธีการ
ขั้นตอนใหม่ๆ ที่มีระโยชน์ และสามารถเพิ่มประสิ ทธิภาพ
ประสิ ทธิผลในการปฏิบตั ิงานในด้านต่างๆ เช่น มีคุณภาพดี
ขึ้น ลดเวลาการทางาน หรื อของเสี ยลดน้อยลง เป็ นต้น
เหมาะกับผูท้ ี่ทางานมานานจนมีความรู ้ความชานาญ และ
ประสบการณ์มาก
กำรเรียนรู้ ของหน่ วยงำน
(Organization Learning)
• การเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง ( Self – Learning )
• การเรี ยนรู ้จากตัวอย่างที่ดี ( Best Practice Learning )
• การเรี ยนรู ้จากสิ่ งที่ไม่ดี ( Bad Practice Learning )
กำรเรียนรู้เพือ่ พัฒนำหน่ วยงำน
กำรเรียนรู้ ด้วยตนเอง
(Self – Learn)
กำรเรียนรู้ จำกตัวอย่ ำงทีด่ ี
กำรเรียนรู้ จำกสิ่ งทีไ่ ม่ ดี
(Best Practice Learning)
(Bad Practice Learning)
เครื่องมือในกำรสร้ ำงให้ เกิดจิตสำนึกคุณภำพ
• เครื่องมือที่ 1 กำรนำของเสี ยมำติดบอร์ ด เพื่อแสดงผลการปฏิบตั ิงานของพนักงาน และ
อธิบายถึงปั ญหา และสาเหตุที่เกิดขึ้น เพื่อให้พนักงานตระหนัก และให้ความสาคัญ
• เครื่องมือที่ 2 เอำของเสี ยที่เกิดจำกำรปฏิบตั งิ ำนผิดพลำดของพนักงำนมำกองรวมกัน
แล้วเรี ยกพนักงานมาประชุมรวมพร้อมกันแล้วบอกว่า นี่คือ โบนัส และสวัสดิการของ
พวกเรา
• เครื่องมือที่ 3 กำรแสดงมูลค่ ำควำมเสี ยหำยที่เกิดจำกพนักงำนปฏิบตั งิ ำนผิดพลำด มำ
แสดงให้ พนักงำนเห็น เพื่อเป็ นการกระตุน้ เตือนให้พนักงานได้ทราบถึงมูลค่าความ
เสี ยหายที่เกิดขึ้น อาจแสดงเป็ นทุกๆ ชัว่ โมง วัน สัปดาห์ หรื อเดือน ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ความ
เหมาะสม
• เครื่องมือที่ 4 กำรจูงใจจำกเป้ ำหมำยด้ ำนคุณภำพที่ดขี นึ้ เป็ นการให้รางวัลกับพนักงาน
ในหน่วยงาน โดยพิจารณาจากผลการปฏิบตั ิงานที่เกิดขึ้นในด้านคุณภาพ เช่น ถ้าปริ มาณ
ของเสี ยน้อยกว่าเดือนที่แล้ว จะให้เงินรางวัลกับพนักงานทุกคนโดยจะได้คนละ 100
บาท หรอถ้าภายใน สามเดือน ไม่ได้รับการร้องเรี ยนจากลูกค้าด้านปั ญหาคุณภาพ หรื อ
ลูกค้าไม่ส่งงานคืน (Customer Return) จะให้เงินกับพนักงานทุกคน เป็ นต้น
ตัวอย่ ำงของเสี ยที่ติดในกระบวนกำรผลิต
ตัวอย่ ำงของเสี ยขวดแชมพู
สติ๊กเกอร์ ผดิ
สี ขวดเพีย้ น
สติ๊กเกอร์ ลอก
ฝำปิ ดไม่ สนิท
ขวดไม่ ได้ รูป
ฝำแตก
พิจำรณำของเสี ยที่เกิดขึน้ จำกกำรปฏิบัติงำนที่ผดิ พลำด
“โบนัสของพวกเรำอยู่ในกองของเสี ย
กองนี้ เลือกเอำตำมใจชอบเลย”
ตำรำงแสดงปริมำณของเสี ยประจำเดือน
แผนก
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
แผนกขึ้นรู ป
1,600
2,430
2,130
1,970
1,500
1,270
แผนกประกอบ
แผนกตรวจสอบ
รวม
3,670
3,520
8,790
2,650
4,350
9,430
2,430
4,580
9,140
4,310
3,500
9,780
5,420
2,700
9,620
3,500
2,250
7,020
คุณภำพกับควำมอยู่รอดขององค์ กร
มี 2 ประเด็นหลักๆ
1. กาไร (Profit) ซึ่งเกิดจากรายได้ ที่มีมากกว่ารายจ่ายนัน่ เอง
2. การสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า (Customer Satisfaction)
เช่น ต้องการของดี ราคาถูก และมีบริ การทั้งก่อน และหลังการขายที่ดี
เยีย่ ม
ปัจจัยทีส่ ่ งผลต่ อควำมอยู่รอดขององค์ กร
ขำยได้ สูง
กำไร
ต้ นทุนตำ่
ควำมอยู่รอด
ขององค์ กร
คุณภำพสู ง
ควำมพึงพอใจสู งสุ ด
ของลูกค้ ำ
รำคำต่ำ
บริกำรขำยดี
ลูกค้ ำภำยใน และลูกค้ ำภำยนอก
คาว่า “ลูกค้ ำ” ในปัจจุบนั สามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 กลุ่ม คือ
1. ลูกค้าภายใน (Internal Customer) ซึ่งแบ่งออกได้เป็ น 2
ส่ วนคือ ลุกค้าภายในแผนก และลูกค้าภายนอกแผนก
2. ลูกค้าภายนอก (External Customer) ซึ่งสามารถแบ่งออก
ได้เป็ น 2 ส่ วนอีกเช่นกัน คือ ลูกค้าปัจจุบนั และลูกค้าในอนาคต
ภำพรวมของลูกค้ ำ
ลูกค้ ำ
(Customer)
ลูกค้ ำภำยในองค์ กร
ลูกค้ ำ
ภำยในแผนก
ลูกค้ ำ
ภำยนอกแผนก
ลูกค้ ำภำยนอกองค์ กร
ลูกค้ ำ
ปัจจุบนั
ลูกค้ ำ
ในอนำคต
ลูกค้ ำภำยใน ( Internal Customer)
หมำยถึง พนักงำนผู้ทปี่ ฏิบัตงิ ำนภำยในองค์ กร หรือ บริษัทเดียวกันกับเรำ
แต่ อำจจะแตกต่ ำงแผนกกันออกไป สำมำรถแบ่ งออกได้ อกี
2 กลุ่ม คือ
- กลุ่มที่ 1 ลูกค้ ำภำยในแผนก ซึ่งหมายถึง พนักงานที่ปฏิบตั ิงานร่ วมกันกับ
เรา หรื อในพื้นที่ทางานเดียวกันกับเรานัน่ เอง
- กลุ่มที่ 2 ลูกค้ ำภำยนอกแผนก คือ พนักงานต่างแผนก โดยมีการ
ปฏิบตั ิงานเกี่ยวข้องกับเรา หรื อปฏิบตั ิงานต่อจากเรา
ลูกค้ ำภำยนอก ( External Customer)
หมำยถึง ผู้ทซี่ ื้อสิ นค้ ำ และทำให้ เรำอยู่รอดนั่นเอง ซึ่งแบ่ งออกได้ อกี
2 กลุ่ม ดังนี้
- กลุ่มที่ 1 ลูกค้ ำปัจจุบัน หมายถึง ผูท้ ี่ซ้ือสิ นค้า หรื อใช้บริ การของเรา ณ
ปัจจุบนั ซึ่งมีท้ งั ผูท้ ี่ใช้เป็ นครั้งแรก หรื อผูท้ ี่ใช้ซ้ ามาแล้วหลายครั้ง
- กลุ่มที่ 2 ลูกค้ ำในอนำคต หมายถึง ผูท้ ี่ยงั ไม่เคยใช้สินค้า หรื อ บริ การของ
เรามาก่อน
9 ขั้นตอนในกำรสร้ ำงจิตสำนึกคุณภำพ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
ประเมินระดับจิตสานึกคุณภาพ
รณรงค์ ส่ งเสริ ม โดยผูบ้ ริ หารระดับสูง
จัดกิจกรรมเพื่อกระตุน้ และส่ งเสริ ม (Kick Off)
กาหนดเป้ าหมาย และแผนการดาเนินงานในทุกพื้นที่
วิเคราะห์หาจุดที่ตอ้ งปรับปรุ งแก้ไขทุกพื้นที่
ดาเนินงานตามแผนที่กาหนดไว้
ติดตามผลลัพธ์จาการปฏิบตั ิงาน
ประเมินระดับจิตสานึกคุณภาพหลังการปรับปรุ ง
สรุ ปผลการดาเนินกิจกรรมการสร้างจิตสานึก
โครงกำรพัฒนำจิตสำนึกคุณภำพในกำรปฏิบัตงิ ำน
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อจิตสานึกคุณภาพของบริ ษทั
1. เพื่อสร้างจิตสานึกคุณภาพให้เกิดขึ้นกับพนักงานในบริ ษทั
2. เพื่อวิเคราะห์ หาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อจิตสานึกคุณภาพของ
พนักงานในบริ ษทั
3. เพื่อวิเคราะห์ปัญหา หรื ออุปสรรคการสร้างจิตสานึกคุณภาพในบริ ษทั
4. เพื่อปรับปรุ ง และพัฒนาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการสร้างจิตสานึก
คุณภาพ
5. เพื่อกระตุน้ เตือนให้พนักงานตระหนักถึงความสาคัญของการสร้าง
สิ นค้าที่มีคุณภาพ
6. เพื่อเป็ นพื้นฐานที่ดีในการปฏิบตั ิงานในโครงการต่อไป
โครงกำรพัฒนำจิตสำนึกคุณภำพในกำรปฏิบัตงิ ำน
ผลทีไ่ ด้ รับจำกโครงกำร
1. แนวทางการสร้างจิตสานึกคุณภาพที่เฉพาะ และเหมาะสมกับบริ ษทั
มากที่สุด
2. สร้างจิตสานึกคุณภาพให้กบั พนักงานในบริ ษทั
3. เพื่อสร้างสิ นค้า และบริ การที่มีคุณภาพในกับลูกค้า
4. เพี่อลดปัญหาด้านคุณภาพ
5. เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันให้กบั บริ ษทั
แผนการดาเนินโครงการสร้างจิตสานึกคุณภาพในการปฏิบตั ิงาน
หัวข้ อกำรดำเนินโครงกำร
ระยะแรก
วิธีดำเนินงำน
ผลที่คำดว่ำจะได้ รับ
1. การประเมินระดับจิตสานึกคุณภาพ
1 สัปดาห์
- ตอบแบบสอบถาม
- ทราบถึงจิตสานึกคุณภาพของพนักงานใน
องค์กรก่อนดาเนินโครงการ
2. ศึกษาปั ญหา และอุปสรรคของการสร้างคุณภาพ
2 สัปดาห์
- วิเคราะห์แบบสอบถาม
- ทราบปั ญหา หรื ออุปสรรคที่มีผลต่อ จิตสานึก
คุณภาพ
3. วิเคราะห์หาแนวทางในการปรับปรุ ง
1 สัปดาห์
- วิเคราะห์จากปั ญหา หรื ออุปสรรคที่
เกิดขึ้นจากสภาการปฏิบตั ิงานจริ ง
- ทราบแนวทางการสร้างจิตสานึกที่เฉพาะเจาะจง
และเหมาะสมกับบริ ษทั
2 วัน
- อบรมตามหัวข้อของปัญหา เพื่อ
หาแนวทางการปรับปรุ งร่ วมกัน
- อบรมเพื่อให้ความรู ้ และกระตุน้ ให้เกิด
จิตสานึกคุณภาพในหน่วยงาน โดยร่ วมกับ
พนักงานเพื่อหาแนวทางที่ดีและเหมาะสมที่สุด
1 สัปดาห์
- นาเสนอวิธีการแก้ไขปั ญหา จาก
ประเด็นปั ญหาที่เกิดขึ้น
- เสนอแนวทางในการดาเนินโครงการเพื่อสร้าง
จิตสานึกในหน่วยงาน
2 เดือน
- นาวิธีการที่นาเสนอไปปฏิบตั ิงาน
- เปลี่ยนแปลงวิธีการทางานในทางที่ดีข้ ึน และ
พนักงานมีจิตสานึกที่สูงขึ้น
4. อบรม และทากิจกรรมกลุ่ม
5. เสนอแนวทางในการสร้างจิตสานึก
6. นาเสนอการสร้างจิตสานึกไปประยุกต์ใช้
7. ติดตามผลการปฏิบตั ิงาน
2 สัปดาห์
- ประเมินผลลัพธ์จาการดาเนิน
โครงการ (สรุ ปผลทุกเดือน)
- ทราบถึงความก้าวหน้า และผลลัพธ์จากการ
ดาเนินกิจกรรม
8. ประเมินระดับจิตสานึกคุณภาพ
1 สัปดาห์
- ตอบแบบสอบถาม (ชุดที่ทาในข้อที่1)
- ทราบถึงระดับจิตสานึกคุณภาพของพนักงานใน
องค์กร หลังการดาเนินโครงการ
9. สรุ ปผลโครงการ
1 สัปดาห์
- สรุ ปผลดาเนินโครงการ และ
เสนอแนะรายละเอียดเพิ่มเติม
- ทราบถึงผลลัพธ์สุดท้ายของการดาเนิน
โครงการสร้างจิต และแนวทางการต่อยอดเพื่อ
พัฒนาหน่วยงานต่อไป
จิตสำนึกคุณภำพกับกำรเพิม่ ผลผลิต
(Productivity)
การเพิม่ ผลผลิตนั้นจะมีส่วนช่วยให้สร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
(Competitive Advantage) ซึ่งการเพิ่มผลผลิตนั้นสามารถ
วิเคราะห์ได้จากสมการนี้
กำรเพิม่ ผลผลิต =
(Productivity)
ผลผลิต (Output)
ปัจจัยนำเข้ ำ (Input)
ตัวอย่าง บริ ษทั ผลิตน้ าดื่มแห่งหนึ่ง ในการผลิตน้ าดื่มจานวน 1,000
ขวด บริ ษทั มีตน้ ทุนการผลิต 500 บาท สามารถศึกษา 5 วิธีการ เพื่อเพิ่ม
ผลผลิตบริ ษทั แห่งนี้ได้ ดังต่อไปนี้
กรณีที่ 1 “ ใช้ ปัจจัยกำรผลิตเท่ ำเดิม แต่ ได้ ผลผลิตมำกกว่ ำเดิม”
รำยละเอียด
ก่ อนกำรปรับปรุ ง
หลังกำรปรับปรุ ง
ผลิตสิ นค้าได้ (ขวด)
1,000
1,150
ต้นทุนการผลิต (บาท)
500
500
2.00 (1,000 ÷ 500)
2.30 (1,150 ÷ 500)
การเพิ่มผลผลิต
กรณีที่ 2 “ ใช้ ปัจจัยกำรผลิตน้ อยลง แต่ ได้ ผลลัพธ์ เท่ ำเดิม”
รำยละเอียด
ก่ อนกำรปรับปรุ ง
หลังกำรปรับปรุ ง
ผลิตสิ นค้าได้ (ขวด)
1,000
1,000
ต้นทุนการผลิต (บาท)
500
400
2.00 (1,000 ÷ 500)
2.50 (1,000 ÷ 400)
การเพิ่มผลผลิต
กรณีที่ 3 “ ใช้ ปัจจัยกำรผลิตน้ อยลง แต่ ได้ ผลลัพธ์ มำกกว่ ำเดิม”
รำยละเอียด
ก่ อนกำรปรับปรุ ง
หลังกำรปรับปรุ ง
ผลิตสิ นค้าได้ (ขวด)
1,000
1,100
ต้นทุนการผลิต (บาท)
500
450
2.00 (1,000 ÷ 500)
2.44 (1,100 ÷ 450)
การเพิ่มผลผลิต
กรณีที่ 4 “ ใช้ ปัจจัยกำรผลิตมำกขึน้ และได้ ผลลัพธ์ ในอัตรำทีม่ ำกขึน้ กว่ ำเดิม”
รำยละเอียด
ก่ อนกำรปรับปรุ ง
หลังกำรปรับปรุ ง
ผลิตสิ นค้าได้ (ขวด)
1,000
1,250
ต้นทุนการผลิต (บาท)
500
575
2.00 (1,000 ÷ 500)
2.17 (1,250 ÷ 575)
การเพิ่มผลผลิต
กรณีที่ 5 “ ใช้ ปัจจัยกำรผลิตน้ อยลง แต่ ใช้ ปัจจัยกำรผลิตในสั ดส่ วนที่น้อยลงกว่ำเดิม”
รำยละเอียด
ก่ อนกำรปรับปรุ ง
หลังกำรปรับปรุ ง
ผลิตสิ นค้าได้ (ขวด)
1,000
900
ต้นทุนการผลิต (บาท)
500
400
2.00 (1,000 ÷ 500)
2.25 (900 ÷ 400)
การเพิ่มผลผลิต
จิตสำนึกคุณภำพกับควำมปลอดภัย (Safety)
อุบตั ิเหตุ (Accident) หมายถึง สิ่ งที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ต้ งั ใจ และ
ส่ งผลกระทบต่อการใช้ชีวิต หรื อการปฏิบตั ิงาน และเมื่ออุบตั ิเหตุเกิดขึ้น
เมื่อใด สิ่ งที่ตามมา คือ ความสูญเสี ย ทั้งทรัพย์สิน เงินทอง เวลา หรื อ
อาจรุ นแรงถึงขั้นเสี ยชีวิต
เครื่ องมือที่ใช้ในการสนับสนุนการสร้างจิตสานึกคุณภาพ
เครื่ องมือที่ 1 การควบคุมด้วยสายตา (Visual Control)
ถือเป็ นการรับรู ้ที่รวดเร็ ว และมีประสิ ทธิภาพที่สุด เมื่อ
เปรี ยบเทียบกับประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ปาก
และ มือ
ตารางแสดงการควบคุมด้วยสายตา
สัญลักษณ์
วัตถุประสงค์
ป้ำยเตือน / แนะนำ
เช่น ห้ามสู บบุหรี่ ห้ามส่ งเสี ยงดัง สวมอุปกรณ์ป้องกัน และอื่นๆ
เพื่อเตือนให้บุคคลทัว่ ไปทราบถึง ข้อควรปฏิบตั ิ และข้อควรระวัง
ป้ำยบอกระดับ
เช่น ป้ ายบอกระดับน้ าในถัง ระดับวัตถุดิบในคลังสิ นค้า ระดับของอุณหภูมิ ระดับ
แรงกดดัน และอื่นๆ
เพื่อแสดงปริ มาณของวัตถุดิบที่เก็บไว้วา่ คงเหลือเท่าใด และสิ่ งที่
ควบคุมอยูใ่ นเกณฑ์ที่กาหนดไว้หรื อไม่
ป้ำยบอกขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน
เช่น ป้ ายแสดงขั้นตอนวิธีการปฏิบตั ิงาน และอื่นๆ
เพื่อแสดงขั้นตอน วิธีการปฏิบตั ิงานทาให้ผปู ้ ฏิบตั ิสามารถ
ปฏิบตั ิงานได้อย่างถูกต้อง
ป้ำยบอกสถำนะ
เช่น เครื่ องจักรกาลังทางาน เครื่ องจักรหยุด รองาน เครื่ องจักรเสี ย
รอซ่อม และอื่นๆ
เพื่อแสดงสถานะของการปฏิบตั ิงาน ทาให้ทราบว่า ขณะนั้นมี
เหตุการณ์ใดเกิดขึ้น
ป้ำยแสดงผลของกำรปฏิบัติงำน
เช่น ตัวอย่างชิ้นงาน การแสดงผล การปฏิบตั ิงา ของดี ของเสี ย เวลาที่เครื่ องจักร
หยุด ปริ มาณการส่ งสิ นค้า และอื่นๆ
เพื่อแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการปฏิบตั ิงานในด้านต่างๆ ซึ่ งจะช่วย
กระตุน้ ให้พนักงานที่ปฏิบตั ิงานทราบ
ป้ำยบอกตำแหน่ ง
เช่น สัญลักษณ์บอกตาแหน่งการจัดเก็บสิ นค้า หรื อวัตถุดิบ และอื่นๆ
เพื่อทาให้ทราบถึงสถานที่ หรื อบริ เวณที่จดั เก็บสิ นค้า หรื อวัตถุดิบ
ทาให้สะดวกในการค้นหา
เครื่ องมือที่ 2 การใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้าเพียงแต่เราหมัน่ เป็ นคนช่าง
สังเกต ชอบสงสัย วิธีการใช้ มีดงั นี้
1. ตำ (Eye) ใช้ในการสังเกต พินิจ พิจำรณำสิ่งต่ ำงๆ ทีเ่ กิดขึน้ (See and Check) แบ่งได้ 4
ประเภทคือ
ลักษณะกำรมอง
ผลลัพธ์ จำกกำรมอง
มองภำพรวมทั่วไป หรือมองภำพกว้ ำงๆ
มองภาพรวมกว้างๆ ในสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง เช่น มอง
กระบวนการทางานทั้งหมด
มองเฉพำะจุดในใจ หรือมองจุดเดียว ขั้นตอนเดียว
รับรู ้ข้ นั ตอนการปฏิบตั ิงานในจุดนั้นๆ อย่างชัดเจน เช่น
มองเฉพาะขั้นตอนการปฏิบตั ิงานขั้นตอนใดขั้นตอน
หนึ่ง
มองอย่ ำงพินิจพิเครำะห์ ดูว่ำมีสิ่งใดถูกหรือผิด
พิจารณาดูวา่ สิ่ งที่มองนั้น ถูกต้องหรื อมีขอ้ บกพร่ อง
ประการใดหรื อไม่
มองอย่ ำงเซียน
ทราบจุดบกพร่ อง หรื อสิ่ งที่ควรปรับปรุ ง และให้
คาแนะนาที่เป็ นประโยชน์ สามารถนาไปปฏิบตั ิได้จริ ง
เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการทางาน
2. หู (Ear) เพื่อ กำรฟังเสี ยง (Listen) แต่การฟังเสี ยงนั้นต้องฟัง
อย่างมีวิจารณญาณ คือ ฟังแล้วต้องรู ้วา่ มีสิ่งผิดปกติ หรื อมีอะไรแปลก
กว่าที่เคยได้ยนิ หรื อไม่
3. จมูก (Nose) มีไว้เพื่อสูดดม หรื อ พิสูจน์ กลิน่ (Smell) เช่น กลิ่น
ไหม้ กลิ่นเหม็น หรื อกลิ่นผิดปกติ
4. มือ (Hand) มีไว้เพื่อหยิบ จับ ลูบ คลา ปั้น สั มผัส (Touch) มือนี้มี
ประโยชน์มากมายนับไม่ถว้ น
5. ปาก (Mouth) มีไว้เพื่อ กิน พูด บ่น ร้องเพลง หรื อ สื่ อสำร
(Communication) และอื่นๆ อีกมากมาย
เครื่องมือที่ 3 ผู้จัดกำร 5 Gen หมายความว่า ผูจ้ ดั การควรไปตรวจสอบพื้นที่
การทางาน (Shop Floor) โดยใช้หลักการของ 5 Gen ซึ่งประกอบไปด้วย
เครื่ องมือ ซึ่งเป็ นเครื่ องมือที่เหมาะสม และจาเป็ นอย่างยิง่ ในการสร้างจิตสานึก
คุณภาพ โดยสามารถอธิบายได้ ดังตาราง
รำยละเอียด Gen
1. Genba พืน้ ทีจ่ ริง
2. Genbutsu ของจริง
3. Genchisu สถำนกำรณ์ จริง
4. Genri หลักกำรทำงทฤษฎี
5. Gensoku ระเบียบกฏเกณฑ์
ควำมหมำย
ไปตรวจสอบพื้นที่ทางานจริ งว่าเกิดอะไรขึ้น
ไปตรวจสอบชิ้นงานจริ งว่าเกิดอะไรขึ้น จานวนเท่าใด ดี /
เสี ย แบบใด ลักษณะเป็ นอย่างไร
ไปดู ณ เวลานั้น กะไหน ช่วงเวลาใด เช้า สาย บ่าย ดึก
สอดคล้อง หรื อขัดกับหลักการ หรื อทฤษฎีอะไร หรื อไม่
ปฏิบตั ิตาม กฎเกณฑ์ หรื อระเบียบ ที่กาหนดไว้หรื อไม่
อย่างไร
เครื่ องมือที่ 4 แยกระหว่างการทางานกับการตรวจสอบ
=
กำรทำงำน (Working)
กำรปฏิบัติงำน (Doing + กำรตรวจสอบ (Checking)
ลองพิจารณาการปฏิบตั ิงานของคนสองคน งานที่ตอ้ งการ คือ ให้พนักงาน
เทน้ าจากขวดใส่ แก้ว จานวน 10 แก้ว
การปฏิบตั ิงานของพนักงานคนที่หนึ่ง
1. เตรี ยมขวดบรรจุน้ า และแก้ว จานวน 10 ใบ
2. เปิ ดขวดน้ า
3. เทน้ าใส่ แก้ว จนครบ 10 แก้ว
แนวคิดเกีย
่ วกับระบบงาน
ี -PROFESSIONAL
• กำรทำงำนแบบมืออำชพ
ORIENTED
้ อยูก
• ควำมสำเร็จขึน
่ ับองค์ประกอบ 4
ประกำร คือ คน งำน ระบบ สงิ่ แวดล้อม
องค์กรย่อมต้องกำรควำมสำเร็จ
ั
1. บรรลุเป้ำหมำยทีต
่ งไว้
ั้ อย่ำงชดเจน
ิ ในองค์กรต้องสร้ำงควำมเข้ำใจ / ให้ควำม
2. สมำชก
ร่วมมือ
ิ ธิภำพ
3. องค์ตอ
้ งกำรกำรบริหำรจ ัดกำรทีม
่ ป
ี ระสท
่ ผลต่อควำมสำเร็จโดยรวมขององค์กร
สงิ่ ทีส
่ ง
•ควำมมุง
่ มน
่ ั ของพน ักงำน
่ นรวม
•ทำงำนเพือ
่ สว
•มีควำมร่วมมือ
•สำมำรถทำงำนเป็นทีมได้ด ี
•ประสำนงำนก ันอย่ำงเต็มที่
สงิ่ ทีท
่ ก
ุ คน ควรคำนึง
1.
ั ใ่ ห้โทษก ับชวี ต
ปร ับเปลีย
่ นนิสยที
ิ ตนเอง
2.
สร้ำงแนวคิดใหม่ทใี่ ห้พล ังแก่ชวี ต
ิ
3.
ทุกคนควรทำงำนด้วยใจ
4.
พร้อมพ ัฒนำ / ปร ับปรุงตนเอง
๕ วิธก
ี ำรทำงำนให้ดข
ี น
ึ้
5 WAYS TO WORK
•เข้ำใจนโยบำยขององค์กร
•ทำควำมรูจ
้ ักก ับขนตอนกำรท
ั้
ำงำน
•ทำงำนให้มำกกว่ำทีร่ ับผิดชอบอยู่
•ปร ับสภำพให้เข้ำก ับเพือ
่ นร่วมงำน
•เรียนรูส
้ งิ่ ใหม่ๆอยูต
่ ลอดเวลำ
ควำมสำมำรถในกำรปฏิบ ัติงำน
•รูต
้ ำแหน่งงำน
•รูห
้ น้ำทีง่ ำน และรูว้ ัตถุประสงค์ของงำน
•มีควำมร ับผิดชอบงำน
•รูว้ ธ
ิ ป
ี ฏิบ ัติงำนและเทคนิคต่ำงๆ
•รูจ
้ ักพ ัฒนำงำน และปร ับปรุงงำน
•รูจ
้ ักพ ัฒนำตนเอง
ควำมสำมำรถในเรือ
่ งคน
ึ ษำและวิเครำะห์ตนเอง
•รูจ
้ ักศก
ึ ษำและวิเครำะห์ควำมต้องกำรของบุคคลอืน
•รูจ
้ ักศก
่
•รูจ
้ ักตอบสนองต่อควำมต้องกำรของบุคคลอืน
่
•รูจ
้ ักและยอมร ับในควำมแตกต่ำงของบุคคลอืน
่
กำรกระตุ้นจำกสิ่ งเร้ ำ
หมำยถึง สภาพแวดล้อม หรื อ สิ่ งที่มากระทบ และมีผลต่อการตัดสิ นใจ เช่น
สภาพแวดล้อม แรงกดดัน ความเร่ งด่วน กฎระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับ
ผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น
- คิด ไตร่ ตรอง ขั้นตอนนี้จะเป็ นการรวบรวมข้อมูลที่จาเป็ น และสามารถหาได้ เพื่อ
ประกอบกับทักษะ ประสบการณ์ ความรู ้ ความสามารถแนวคิดใหม่ (Idea)
และพิจารณาหาทางเลือกต่างๆ ทั้งหมดที่จะเกิดขึ้น
- เลือกแนวทำง และลงมือปฏิบัติ เป็ นการเลือกทางเลือกที่คิดว่าดีถูกต้อง และ
เหมาะสมที่สุด แล้วปฏิบตั ิตามแผนงานที่วางไว้
- ผลลัพธ์ คือ ผลที่ได้จากการเลือกตัดสิ นใจ และปฏิบตั ิตาม ที่ได้ตดั สิ นใจไว้ ซึ่ งมี 2
ทาง คือ สมหวัง หรื อ บรรลุเป้ าหมาย กับผิดหวัง หรื อ พลาดเป้ าหมาย
กระบวนกำรตัดสิ นใจ (Decision Marking Process)
กำรกระตุ้นจำกสิ่ งเร้ ำ
ปั ญหา ความต้องการ แรงกดดัน
คิด ไตร่ ตรอง
รวบรวมข้อมูล ทักษะ ประสบการณ์
ความรู้ ความสามารถ ผนวกความคิดใหม่ (Idea)
เลือกแนวทำง และลงมือปฏิบัติ
เลือกทางเลือกที่คิดว่าดี ถูกต้อง และเหมาะสมที่สุด
ปฏิบตั ิงานตามแผนงานที่วางไว้
ผลลัพธ์
สมหวัง บรรลุเป้ าหมาย
หรื อ ผิดหวัง ไม่บรรลุเป้ าหมาย
ั
เข้ำใจ “ สญญำณไฟจรำจรอำรมณ์
”
(Understand the Emotion Traffic Light)
ไฟแดง (Red light)
• หยุดคิด ! หำยใจเข้ำลึก ๆ (Stop thinking, Inhale deeply)
• มีสติ (Be awared, Mindfulness)
• ดูควำมคิด….ดูอำรมณ์ (Observing thinking, Observing
Feeling)
ไฟเหลือง (Yellow Light)
•
•
•
•
•
•
•
ึ (Aware your problem, Emotion)
ร ับรูป
้ ญ
ั หำ…ร ับรูค
้ วำมรูส
้ ก
ิ หรือต ัวเอง (Talk out, self talk)
พูดก ับเพือ
่ นใกล้ชด
ตรวจสอบควำมคิดด้วย RET (Chack your thinking : RET)
มองปัญหำตำมจริง / เชงิ บวก (Look for fact / Positive)
ทุกปัญหำมีทำงแก้ไข (All problem can be solved)
วำงแผนแก้ไข (Plan to solve)
คำดกำรณ์ผลล ัพธ์จำกกำรแก้ไข (Expecting all kindgot
consequences)
ั
เข้ำใจ “ สญญำณไฟจรำจรอำรมณ์
”
(Understand the Emotion Traffic Light)
ไฟเขียว (Green Light)
• ดำเนินตำมแนวทำงแก้ไข (Implement
your plan)
• แสดงพฤติกรรมทีเ่ หมำะสม (Assertive)
ทำงเบีย
่ ง (Detour)
• บำงครงอำจจะหลบหลี
ั้
กปัญหำ
• ไม่ปะทะโดยตรง
ทีพ
่ ักริมทำง
ื่ ชมต ัวเอง
• หำโอกำสทีจ
่ ะชน
• ให้ควำมสุขก ับต ัวเอง
คำพูดทีส
่ ำมำรถเสริมสร้ำง EQ
WE
เรำ
Thank you /Ah ha
ขอบคุณ /อะฮำ
I was wrong /I am sorry
ี ใจ
ฉ ันผิดเอง /ฉ ันเสย
You can do it
คุณทำได้แน่
What can I help you ?
่ ยคุณมย
ให้ฉ ันชว
ั้ ?
อ ้าง ดร.วีระวัฒน์ ปั นนินามัย
ล ักษณะของ High EQ
ั
ึ ของตนเองอย่ำงชดเจนและเปิ
1. แสดงควำมรูส
้ ก
ดเผย
ั
ึ เชน
่ ไม่พด
2. ไม่สบสนระหว่
ำงควำมคิดก ับควำมรูส
้ ก
ู ว่ำ
ึ เหมือนก ับว่ำฉ ันกำล ังล่องลอยอยูใ่ นอำกำศ”
“ฉ ันรูส
้ ก
ึ ผิด
3. ไม่ถก
ู ครอบงำด้วยอำรมณ์กล ัว ก ังวลใจ ควำมรูส
้ ก
ละอำยใจ ควำมขวยเขิน เปิ่ นเชย ไม่อส
ิ ระ ผิดหว ัง
ิ้ แรง และท้อแท้อยูต
หมดหว ัง สน
่ ลอดเวลำ
ึ ผูอ
4. ไวต่อภำษำท่ำทำงของผูอ
้ น
ื่ สนใจควำมรูส
้ ก
้ น
ื่
ล ักษณะของ High EQ
5. “ทำเพรำะอยำกจะทำ” ไม่ใช่ จำใจทำเพรำะหน้ำที่
่ ำเพือ
6. ทำด้วยควำมอิสระ ไม่ใชท
่ อำนำจ ควำมรำ
่ รวย
ื่ เสย
ี ง หรือกำรได้ร ับกำรยอมร ับ
ชอ
7. มองโลกในแง่ด ี ยืดหยุน
่ คล่องต ัว มีอส
ิ ระ
8. บอกอำรมณ์อ ันหลำกหลำยของตนเองได้
9. จ ัดกำรก ับอำรมณ์ดว้ ยเหตุผล ถำมควำมเป็นจริงอย่ำง
เหมำะสม
คนทำงำน 9 แบบ ก ับกำรทีเ่ รำต้องปฏิบ ัติตน
แบบทีห
่ นึง่ ทำงำนละเอียด รอบคอบ ต้องกำรทุกอย่ำงสมบูรณ์แบบ จุกจิก
ื่ ตรง ยุตธ
- เรำต้องทำงำนให้เป็นระบบ เรียบร้อย ซอ
ิ รรม กล้ำร ับผิดชอบ เห็ นใจ
่ ยผูอ
แบบทีส
่ อง ชอบชว
้ น
ื่ อยำกให้ตนเป็นทีต
่ อ
้ งกำรของคนอืน
่
- เรำต้องยกย่องจิตใจโอบอ้อม ถูกเขำวิจำรณ์ตอ
้ งฟัง สน ับสนุนให้เขำ
่ อ
เอำใจใสผ
ู้ น
ื่
ั
แบบทีส
่ ำม มีจด
ุ หมำยชดเจน
มำนะ บำกบน
่ ั ให้ควำมใสใ่ จในควำมสำเร็จ
่ เสริมให้เขำบรรลุผลสำเร็จ
- เรำต้องชมเชยและยอมร ับผลงำนเขำ สง
ให้เขำเป็นเอก
แบบทีส
่ ี่ ทำอะไรตำมใจต ัว อำรมณ์ออ
่ นไหว โรแมนติค คิดสร้ำงสรรค์
- เรำยอมร ับเขำ ไม่วจ
ิ ำรณ์เขำ หำกไม่เข้ำใจต้องพูดออกมำอย่ำแกล้งว่ำเข้ำใจ
ให้คด
ิ ใหม่ๆ
คนทำงำน 9แบบ(ต่อ)
แบบทีห
่ ำ้ สงบเยือกเย็น วิจำรณญำณดี ไม่สง
ุ สงิ ไม่พงึ่ พำใคร
- เรำต้องให้เขำทำ อย่ำสอนให้เอำอย่ำง ไม่รบกวนเรือ
่ งสว่ นต ัวหำกน ัด
ต้องแน่นอน
ั จงร ักภ ักดี แต่ม ักหวำดระแวง ระว ังต ัว วิตกก ังวล
ื่ สตย์
แบบทีห
่ ก ซอ
ื่ ตรง ควำมร ับผิดชอบอย่ำให้เขำเป็นจุดเด่น
- เรำต้องชมเชยควำมซอ
เพรำะเขำจะอึดอ ัด วำงตนไม่ถก
ู เตือนให้เขำใสใ่ จอำรมณ์ผอ
ู้ น
ื่ บ้ำง
ั
แบบทีเ่ จ็ด เปิ ดเผยร่ำเริง มีทำงเลือกหลำยอย่ำง สนใจกว้ำงขวำง สงสรรค์
- เรำต้องทำดี และร่วมทำอะไรใหม่ๆก ับเขำ ให้โอกำสแสดงเต็มที่ ไม่บ ังค ับ
คนทำงำน 9 แบบ (ต่อ)
แบบทีแ
่ ปด ชอบควบคุมผู ้อืน
่ ชอบอกคาสงั่ เปิ ดเผย มีมานะบากบัน
่
ในการทางาน
ิ ใจ วางแผนงานเอง อย่าทาให ้เสย
ี หน ้า เชอ
ื่ มั่นเขา อย่า
- ให ้เขาตัดสน
หัวเราะเยาะ เวลาเขาโกรธจัด อย่าไปขวาง ยามท ้อแท ้ต ้องให ้กาลังใจ
เสมอๆ
แบบทีเ่ ก้ำ ชอบอยูก
่ บ
ั ทีก
่ ลัวตัวเองจะแตกต่างกับคนอืน
่ ๆ ไม่ชอบทาตัวเด่น
อ่อนโยน ไม่ทะเยอทะยาน จะเป็ นผู ้รักสงบ
ิ ใจ อาจใชค้ าถาม
- เราต ้องไม่กดดันเขาในทีท
่ างาน อย่าบีบให ้ต ้องตัดสน
เพือ
่ ชว่ ยเขาให ้เวลา รองานให ้เสร็จ อย่าตาหนิในเรือ
่ งทีไ่ ม่เป็ นเรือ
่ ง
ควำมสำมำรถในกำรดำรงชวี ต
ิ
•ดำรงชวี ต
ิ ให้เหมำะสมแก่อ ัตภำพ
•ประพฤติชอบ ไม่ม ัวเมำก ับอบำยมุข
•กำรจ ัดสรรเวลำให้เหมำะสม
•กำรร ักษำสุขภำพ ร่ำงกำย และจิตใจ
้ วำมคิด
ควำมสำมำรถในกำรใชค
•รูจ
้ ักคิดอย่ำงมีระบบ
•รูจ
้ ักคิดอย่ำงมีเหตุผล
•รูจ
้ ักคิดและพิจำรณำอย่ำงไม่มอ
ี คติ
ิ ใจ
•รูจ
้ ักคิดแก้ปญ
ั หำและต ัดสน
-พิจำรณำสภำพปัญหำ
-ค้นหำสำเหตุของปัญหำ
-กำหนดทำงแก้ปญ
ั หำ
ิ ใจเลือกทำงแก้ปญ
-ต ัดสน
ั หำ
ควำมสำเร็จในชวี ต
ิ กำรงำน
มีควำมสำเร็จในงำน
ึ ทีด
มีควำมพึงพอใจ ควำมรูส
้ ก
่ ี
-งำนแล้วเสร็จ
-มีควำมพึงพอใจในงำน
ิ ธิผล
-ควำมมีประสท
-มีควำมพึงพอใจในเพือ
่ นร่วมงำน
ิ ธิภำพ
-ควำมมีประสท
ึ ว่ำตนเองมีคณ
-มีควำมรูส
้ ก
ุ ค่ำ
ึ ว่ำตนเองมีโอกำส
-มีควำมรูส
้ ก
ก้ำวหน้ำในงำน
Organization and Performance Management
Strategic Planning
องค์การ
หน่วยงาน
พนักงาน
Strategic Management –
Performance Management
จิตสำนึกคุณภำพก ับกำรร ักองค์กำร
ั ทุกคนในทีมเข ้าใจชด
ั แจ ้ง และ
1.มีเป้ าหมายร่วมของกลุม
่ เป็ นทีแ
่ น่ชด
เต็มใจทีจ
่ ะยอมรับ โดยยอมรับเอาตัวเองเข ้าผูกพันกับ
เป้ าหมายร่วมนัน
้ ๆ อย่างแท ้จริง
2.แต่ละคนในทีมมีความเข ้าใจในขอบเขตของฐานะบาทบาท ตลอดจน
ั
อานาจหน ้าทีค
่ วามรับผิดชอบของตาแหน่งทีต
่ นดารงอยูอ
่ ย่างแน่ชด
ั พันธ์กน
3.แต่ละคนในแต่ละตาแหน่ง จะต ้องเข ้าใจในความเกีย
่ วข ้องสม
ั
ของงานของตนกับบุคคลอืน
่ ๆ ในทีม และพร ้อมทีจ
่ ะให ้ หรือรับความ
ชว่ ยเหลือร่วมมือร่วมใจอย่างเต็มที่
ิ ของทีมจะทางานแบบยืดหยุน
4.สมาชก
่ โดยมีทศ
ั นคติยด
ึ ถือว่าลักษณะ
หน ้าทีป
่ ฏิบต
ั จ
ิ ะเป็ นตัวกาหนดรูปแบบ มิใชรู้ ปแบบเป็ นตัวกาหนดลักษณะ
หน ้าทีก
่ ารงานทีป
่ ฏิบต
ั ิ
จิตสำนึกคุณภำพก ับกำรร ักองค์กำร
5.มีพฤติกรรมการทางานในระหว่างผู ้บังคับบัญชากับ
ผู ้ใต ้บังคับบัญชา เป็ นไปในลักษณะของแบบการทางานร่วมกับคน
มิใชเ่ ป็ นแบบทางานบนหัวคนหรือกดหัวคน
ิ แต่ละคนในทีมจะต ้องรู ้จักตัวของตัวเองได ้อย่างเพียงพอ
6.สมาชก
ต่อการทีจ
่ ะเข ้าใจเกีย
่ วกับตัวเองได ้อย่างแท ้จริง
7.นอกจากแต่ละคนจะรู ้และเข ้าใจตัวเองได ้ดีเพียงพอแล ้ว จะต ้อง
รู ้จักและเข ้าใจเพือ
่ นในทีมได ้เป็ นอย่างดีเพียงพออีกด ้วย
8.การวางแผนตลอดจนการดาเนินกิจกรรมใดๆ ภายในทีม จะเปิ ด
โอกาสให ้ทุกคนทีอ
่ ยูใ่ นทีมได ้มีสว่ นร่วมในการนัน
้ ๆ ด ้วยอย่าง
เต็มที่ นอกจากนัน
้ ยังมีการเคารพและยอมรับฟั งความคิดเห็นของ
ี งสว่ นน ้อยเป็ นอย่างยิง่ อีกด ้วย
เสย
จิตสำนึกคุณภำพก ับกำรร ักองค์กำร
ั ดาห์/เดือน อย่าง สมา่ เสมอ
9.จะมีการประชุมทีมซงึ่ อาจจะเป็ นประจาสป
่ งให ้นาเอาปั ญหาออกมา
เพือ
่ การแลกเปลีย
่ นความคิดเห็น เพือ
่ เปิ ดชอ
พูดกันอย่างอิสระ เพือ
่ การปรึกษาหารือแนะนา เพือ
่ การติดตาม
ั ความสามัคคีภายในทีมให ้
ความก ้าวหน ้าของงาน และเพือ
่ การกระชบ
แน่นแฟ้ น ยิง่ ขึน
้
ื่ สารและสม
ั พันธ์ภายในทีมจะมีแต่บรรยากาศของความ
10.การสอ
ไว ้วางใจกัน และเปิ ดเผยต่อกันและกันสูง จนกระทัง่ ทุกคนกล ้าทีจ
่ ะพูด
ึ และอย่างตรงไปตรงมา เพือ
อย่างทีต
่ นรู ้สก
่ ประโยชน์ของทีม
11.ภายในทีมจะมี ปฎิกริยาโต ้ตอบหรือความขัดแย ้งใน ทางความคิดสูง
ขณะเดียวกันความขัดแย ้งในทางสว่ นตัวจะมีน ้อยมาก
จิตสำนึกคุณภำพก ับกำรร ักองค์กำร
ิ หน ้า
12.การขจัดข ้อขัดแย ้งภายในทีม จะใชวิ้ ธก
ี ารแบบเผชญ
แก ้ปั ญหากันด ้วยข ้อมูลเท็จจริงโดยมุง่ หวังต่อความเข ้าใจ และการ
ื่ สารทีด
สอ
่ รี ะหว่างกันและกัน
้
13.จะมีการใชประโยชน์
และประสานประโยชน์ในเรือ
่ ง ขาดความรู ้
ความสามารถตลอดจนความแตกต่างของแต่ละคนในทีมให ้ได ้ผล
ร่วมกันอย่างสูงสุด
ิ ใจใดๆ ภายในทีมจะอาศย
ั ข ้อมูลที่ เป็ นข ้อเท็จจริง
14.การตัดสน
ึ นึกคิด และการตัดสน
ิ ใจนัน
แทนข ้อมูลทีเ่ ป็ นเพียงความรู ้สก
้ จะกระทา
กัน ณ แหล่งทีม
่ ข
ี ้อมูลทีส
่ ด
ุ แทนทีจ
่ ะยึดถือเอาแหล่งทีม
่ ต
ี าแหน่ง
ิ ใจเท่านัน
สูงๆ เป็ นจุดศูนย์กลางในการตัดสน
้
จิตสำนึกคุณภำพก ับกำรร ักองค์กำร
15.ภาระความเป็ นผู ้นาภายในกลุม
่ จะไม่เป็ นไปในลักษณะทีว่ า่ นาย
คนเดียวเท่านัน
้ ทีผ
่ ก
ู ขาดแต่ภาระความเป็ นผู ้นากระจายไปทั่วภายใน
ั ้ ล่างๆ ได ้เสมอ
ทีม และอาจจะเกิดจากผู ้ใต ้บังคับบัญชาชน
16.จะมีหวั หน ้าทีมทีไ่ ม่เพียงเป็ นนักพูดทีด
่ เี ท่านัน
้ แต่จะต ้องเป็ นนัก
ฟั งทีด
่ ี และทีต
่ งั ้ ใจอย่างแท ้จริงอีกด ้วย
ิ ใหม่เข ้ามาสงั กัดในทีม จะมีวธิ ป
17.กรณีทม
ี่ ส
ี มาชก
ี ฏิบต
ั ท
ิ จ
ี่ ะปรับ
ื่ ค่านิยม ตลอดจนความคาดหวังของคนใหม่ให ้
ทัศนคติ ความเชอ
สอดคล ้องและเข ้ากันได ้กับทีมอย่างรวดเร็ว
ิ ในทีมมีการยอมรับนับถือและเคารพในความแตกต่างของ
18. สมาชก
ความรู ้ความสามารถของแต่ละคนในแต่ละด ้านอย่างเต็มที่
นกอินทรีมีชีวิตที่ยืนยาวที่สดุ ในบรรดาสัตว์ปีก
มันสามารถมีชีวิตได้นานถีง 70 ปี แต่ก่อนที่จะอยูไ่ ด้นานถึง
ป่ านนัน้ ... นกอินทรีต้องมีการต่อสู้ครัง้ ยิ่งใหญ่ในชีวิต
ของมันเมื่ออายุได้ 40 ปี
ตอนนัน้ กรงเล็บที่แข็งแกร่งและยืดหยุ่นของมันจะไม่
สามารถจับสัตว์เป็ นอาหารได้อีก จงอยปากที่แหลมคม
เริ่มโค้งงอ
เนื่ องจากมันอายุถึง 40 ปี แล้วจึงมีปีกที่หนาและหนัก
ขนที่ยาวรุงรังจะไปรวมกันที่อกของมัน ทาให้มนั บินได้
ลาบากมากขึน้ .....
และเมื่อนัน้ มันจะมีทางเลือกอยู่ 2 ทาง นัน่ ก็คือตายไป
ซะ หรือจะตัดสินใจที่จะอยู่ต่อไป... ซึ่งต้องเผชิญความ
เจ็บปวดในขัน้ ตอนการเปลี่ยนแปลงชีวิต เป็ น
ระยะเวลายาวนานถึง 150 วัน
ในขัน้ ตอนนี้ มนั จะต้องบินขึน้ ไปบนยอดภูเขาสูง และอยู่
ที่รงั ของมัน .. มันจะต้องใช้จงอยปากที่โค้งทื่อของมันจิก
เคาะกับก้อนหิน ครัง้ แล้วครัง้ เล่า.. จนกระทังจงอยหลุ
่
ด
ออกมา ... หลังจากนัน้ มันจะต้องรอให้จงอยปากอัน
ใหม่งอกขึน้ มา
และพอจงอยปากงอกออกมาแล้ว ที่นี้กถ็ ึงตากรงเล็บที่
งอกขึน้ มาใหม่ต่อจากจงอยปาก เมื่อกรงเล็บใหม่ที่งอก
ขึน้ มาสมบูรณ์ แล้ว มันก็จะเริ่มจิกถอนขนที่ดกหนาแล้ว
ผลัดขนใหม่....
หลังจาก 5 เดือนหรือ 150 วันผ่านไปขัน้ ตอนการเปลี่ยนแปลง
ก็จะเสร็จสมบูรณ์ นกอินทรีกจ็ ะบินสูงทะยานขึน้ สู่ท้องฟ้ าอีก
ครัง้ พร้อมกับร้องเสียงดังก้องสะท้านฟ้ า คล้ายดังเป็ นการ
ประกาศก้องว่า ตูข้ากาเนิดใหม่แล้ว และจะมีชีวิตที่ยืนยาว
ต่อไปอีก 30 ปี .... (ถ้าไม่ถกู ยิงหรือเจออุบตั ิ เหตุตายไปก่อน)
จากชีวิตของมันทาให้เราเรียนรู้ว่า...
หลายๆ ครัง้ ...เพื่อที่จะมีชีวิตอยู่ต่อไป
เราต้องมีขนั ้ ตอน-กระบวนการเปลี่ยนแปลงตนเอง
บางครัง้ เราต้องลืมอดีตที่ขมขื่น นิสยั เก่า ๆที่เคยชิน
ความผิดหวังต่างๆ ดังนัน้ เราจาเป็ นต้องปลดปล่อย
ตนเองให้เป็ นอิสระจากนิสยั หรือสภาพแวดล้อมเดิมๆ
เพื่อที่จะมีชีวิตอยู่ต่อไปอย่างราบรื่นในปัจจุบนั
และเรารู้ว่า ตอนนี้ คณ
ุ กาลังผลัดขนอยู่....
เพราะคุณไม่ใช่นกกระจอก แต่คณ
ุ เป็ นนกอินทรียท์ ี่
ผลัดขนแล้วต่างหาก รอวันที่จะทะยานขึน้ สู่ท้องฟ้ า
แห่งอิสรภาพอย่างห้าวหาญ
วันนัน้ .. ไม่นานเกินรอ....อย่าท้อถอย
เพราะคุณเป็ นยิ่งกว่านก (อินทรีย)์ ...
การบริ หารงานประจาวัน
•
ประกอบด้วยเรื่ องหลักๆ 4 เรื่ อง
1.
2.
3.
4.
ทำให้ เป็ นมำตรฐำน
กำรศึกษำ กำรฝึ กฝน
กำรควบคุมจุดเปลีย่ นแปลง
กำรจัดกำรสิ่ งผิดปกติ
SDCA Cycle
A
S
Action Standard
C
D
Check Do
A S
C D
ดีขึน้
หัวข้อการบริหารนโยบาย
A p
C D
A S
C D
A p
C D
รายการจุดควบคุมแต่ละ
ระดับสาหรับการติ ดตาม
A S
C D
หัวข้อการบริหารงานประจา
Job assignment
Starting from - - > PDCA
SDCA
PDCA
ควำมสั มพันธ์ ระหว่ ำงกำรบริหำรนโยบำยกับกำรบริหำรงำนประจำวัน
(ตัวอย่ ำง 1 : กำรผลิต)
อัตราของเสีย (%)
เวลา
รักษาระดับปัจจุบนั
ของของเสีย
ลดระดับของเสีย
ลงอย่างฮวบฮาบ
ควำมสั มพันธ์ ระหว่ ำงกำรบริหำรนโยบำยกับกำรบริหำรงำนประจำวัน
(ตัวอย่ ำง 1 : กำรผลิต)
อัตราของเสีย (%)
ปรับปรุงงานประจา
ลดระดับของเสีย
ลงอย่างฮวบฮาบ
ปรับปรุงงานประจา
รักษาระดับปัจจุบนั
ของของเสีย
เวลา
ผังองค์ กรทั่วไป
ประธำน
งำนปฏิบัติกำร
งำนสนับสนุน
 วำงแผนผลิตภัณฑ์
 วำงแผนธุรกิจ
 วิจัย และพัฒนำ
 ออกแบบและสร้ ำงแบบจำลอง
 วิศวกรรมกำรผลิต
 ผลิต
 ขำย
 บริกำร
 TQM
 ประกันคุณภำพ
 จัดซื้อ
 บัญชี
 บริหำรทั่วไป
 บุคคล
ผู้จัดกำรฝ่ ำยผลิต - จุดควบคุม
จำนวนกำรร้ องเรียนทีอ่ ยู่ในควำมรับผิดชอบของฝ่ ำยผลิต
% Lot Reject
% Defect
จำนวนงำน Rework, Repair, Blending, ฯลฯ
ดัชนีควำมสำมำรถกระบวนกำร
(Process Capability Index : Cp)
จำนวนครั้งของกำรออกนอกเส้ นควบคุม
ต้ นทุน/หน่ วย (แรงงำน, วัตถุดบิ , OH)
กำรสู ญเสี ยจำกคุณภำพต่ำ
% กำรส่ งของล่ำช้ ำ
ผู้จัดกำรฝ่ ำยตรวจสอบ - จุดควบคุม
 จำนวนกำรร้ องเรียนจำกกำรส่ งวัตถุดบิ ผิด
 จำนวนของกำรตรวจสอบผิด
 ทักษะของผู้ตรวจ
 ข้ อมูลกำรสอบเทียบสำหรับเครื่องมืออุปกรณ์ ทดสอบ
ผู้จัดกำรฝ่ ำยออกแบบ - จุดควบคุม
 จำนวนกำรร้ องเรียน เกีย่ วกับกำรออกแบบ
 จำนวนปัญหำในกำรผลิต เนื่องจำกกำรออกแบบไม่ ดี
ผังระบบบริหำรงำน (control system chart)
• คือ ผังทีแ่ สดงบทบำทที่ได้ รับมอบหมำยของหน่ วยงำน และกำรเชื่อมโยง
กับหน่ วยงำนอืน่ ประกอบด้ วย
– ขั้นตอนย่ อยๆ ของกำรทำงำนของหน้ ำทีท่ ี่รับผิดชอบ
– จุดควบคุม
– กฎ และมำตรฐำนที่ใช้ ในกำรปฏิบัติงำน
กำรจัดทำผังระบบกำรบริหำรงำน
• เขียนรำยละเอียดขั้นตอนกำรทำงำน เฉพำะงำนภำยในหน่ วยงำนที่
รับผิดชอบเท่ ำนั้น
• ขั้นตอนใดเป็ นขั้นตอนสำคัญ ส่ งผลต่ อวัตถุประสงค์ ของงำน ควรแตก
รำยละเอียด
• ขยำยคอลัมม์ หน่ วยงำนทีร่ ับผิดชอบ โดยแบ่ งแยกออกเป็ นหน่ วยย่ อยๆ
ผู้จัดกำรแผนก หัวหน้ ำงำน พนักงำน
• แสดงจุดควบคุมและกฎหรือมำตรฐำน ทีใ่ ช้ ในกำรปฏิบัติงำนของ
หน่ วยงำนทีร่ ับผิดชอบเท่ ำนั้น
ผังระบบกำรบริหำรงำน (Control System Chart)
:
งำนจัดส่ งสิ นค้ ำสำเร็จรู ปให้ ลูกค้ ำ เขตภำคตะวันออก
วัตถุประสงค์ ของผังระบบกำรบริหำรงำน
• ทำให้ เข้ ำใจกำรกระจำยควำมรับผิดชอบ และระบบกำรปฏิบัติกำรอืน่ ๆ ที่
เกีย่ วข้ องได้ ชัดเจน
• ช่ วยให้ ตรวจสอบ มีกำรบริหำรงำนโดยรวมตำมบทบำทหน้ ำทีไ่ ด้ ดี
หรือไม่ เพือ่ ทำกำรแก้ไข
• ช่ วยให้ สื่อข้ อมูลทีด่ ีระหว่ ำงหน่ วยงำน
• เข้ ำใจขอบเขตควำมรับผิดชอบชัดเจน หลีกเลีย่ งกำรทำงำนซ้ำซ้ อนกับ
หน่ วยงำนอืน่
ปฏิบัติกำรกับสิ่ งผิดปกติ
ค้ นให้ พบสิ่ งผิดปกติ และดำเนินกิจกรรมกำรแก้ ไข
ให้ หำสำเหตุรำกเหง้ ำ (Root Cause) ป้องกันกำรเกิดซ้ำ
กรณีเกิดเรื้อรัง ใช้ Problem Solving
ในบำงฝ่ ำย ไม่ มีปฏิบัติกำรแก้ ไข เกิดเรื้อรัง
กำหนดเป็ นนโยบำย
สถำนกำรณ์ ที่ควรใช้ QC Story Problem
Solving
• ในกำรบริหำรงำนประจำวัน เมื่อพบสิ่ งผิดปกติ จะมีกำรใช้
แบบฟอร์ มรำยงำนสิ่ งผิดปกติ ซึ่งผู้รับผิดชอบจะดำเนินกำร
• แก้ปัญหำเฉพำะหน้ ำทันที
• แก้ ปัญหำแบบป้ องกันกำรเกิดซ้ำ โดยกำรหำสำเหตุด้วยควำมสำมำรถ
เฉพำะตัวคือ ใช้ ประสบกำรณ์ ควำมกล้ำ ลำงสั งหรณ์ และหำวิธี
ขจัดสำเหตุน้ัน
• กำรแก้ไขดังกล่ำวอำจเกิดปัญหำซ้ำได้ อกี ให้ ออกรำยงำนสิ่ งผิดปกติ
ซ้ำได้ อกี 2 ครั้งถ้ ำปัญหำยังเกิดซ้ำอีก
ปัญหำนั้นเกิดซ้ำซำกแล้ว
ให้ ใช้ QC Story Problem Solving
• สรุ ป
• บูรณาการ
• ถาม-ตอบ