Transcript Software

Chapter 10 Database System
and Information System
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
1
Data vs Information
 ข้ อมูล (Data) หมายถึงข้อเท็จจริ งที่ได้จากการเก็บรวบรวมจากการสังเกต
จดบันทึก การวัด การนับ และกระบวนการอื่นๆ เพื่อให้ได้ขอ้ เท็จจริ ง
เหล่านั้นออกมา ข้อมูลอาจอยูใ่ นรู ปของข้อความ(Text) กราฟิ ก(Graphic)
เสี ยง(Sound) รู ปภาพ(Image) หรื อภาพเคลื่อนไหว(Video Clip)
 สารสนเทศ (Information) คือ ข้อมูลที่ผา่ นการประมวลผลแล้ว
สารสนเทศจะมีความหมายและเป็ นประโยชน์ สามารถนาไปใช้ในการ
ดาเนินงานหรื อการตัดสิ นใจต่อไปได้ดี
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
2
Database
 การใช้งานข้อมูลและสารสนเทศให้เกิดประโยชน์และตรงจุดประสงค์จาเป็ น
จะต้องมีการจัดการข้อมูลให้อยูใ่ นรู ปแบบที่เหมาะสมภายในคอมพิวเตอร์
นัน่ คือ การออกแบบฐานข้อมูล (Database) และโปรแกรมจัดการข้อมูลใน
ฐานข้อมูล (Database Program)
 ฐานข้อมูลคือกลุ่มของข้อมูลที่สมั พันธ์กนั และจัดเก็บไว้ในรู ปแบบที่ผใู ้ ช้
สามารถเพิม่ , ค้นหา, จัดเรี ยง,จัดกลุ่ม หรื อทาเป็ นรายงานได้
 โดยทัว่ ไปข้อมูลในเครื่ องพีซีจะเก็บข้อมูลส่ วนบุคคล เช่น ชื่อ-ที่อยู่ เบอร์
โทรศัพท์ วันเดือนปี เกิด เป็ นต้น
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
3
Database
 ในคอมพิวเตอร์องค์กรอาจเก็บข้อมูลลูกค้า, ข้อมูลสิ นค้า, ข้อมูลพนักงาน
ขาย เช่น ธุรกิจร้านอาหาร อาจเก็บข้อมูล การจองโต๊ะ, ข้อมูลการบริ การของ
พนักงาน, การสัง่ อาหารของลูกค้า หรื อในสานักหอสมุด อาจเก็บข้อมูล
สมาชิก, ข้อมูลหนังสื อและวารสาร ข้อมูลการยืม การคืนหนังสื อ เป็ นต้น
 การจัดการข้อมูลในฐานข้อมูลจาเป็ นจะต้องมีโปรแกรมจัดการข้อมูล
(Database Program) เพือ
่ ให้ผใู ้ ช้สามารถป้ อน แก้ไข ลบ ค้นหาหรื อ
แทรกข้อมูลได้ตามต้องการ เช่น Oracle, MS-Access
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
4
ระดับของข้ อมูลในฐานข้ อมูล
 บิต (Bit : Binary Digit) เป็ นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดที่ใช้แทนข้อมูล บิต
เป็ นสัญญาณที่แทนด้วย 0 หรื อ 1 ข้อมูลในระดับนี้ยงั ไม่สามารถนามาใช้
งานได้โดยตรง จาเป็ นต้องนามารวมกันเพื่อให้มีความหมาย นัน่ คือ เมื่อ
นาบิตหลายบิตมาเรี ยงกันจะใช้แทนอักขระ 1 ตัว เรี ยกว่าไบต์(Byte)
 ไบต์ (Byte) หรืออักขระ(Character) หมายถึง อักขระต่างๆ ที่เกิดจากกลุ่ม
ของ BIT มารวมกัน เช่น
ตัวอักษร A
-> 0100 0001
เลข 4
-> 0011 0100
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
5
ระดับของข้ อมูลในฐานข้ อมูล
 ฟิ ลด์ (Field) หรือ เขตข้ อมูล : คือ กลุ่มของไบต์หรื ออักขระที่นามารวมกัน
และมีความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง
 เพื่อใช้บ่งบอกลักษณะของคน สิ่ งของ หรื อสถานที่
 แต่ละฟิ ลด์จะเก็บข้อมูลเฉพาะเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งหรื อเก็บข้อมูลประเภทเดียวกัน
(Data Type)
 มีชื่อเรี ยกฟิ ลด์ (Field name) กากับ เช่น ฟิ ลด์รหัสนักเรี ยน ฟิ ลด์ชื่อนักเรี ยน
 ผูใ้ ช้ตอ้ งกาหนดชนิดของฟิ ลด์ (Data Type) ด้วย
 ชนิดของฟิ ลด์มีหลายประเภท แต่ละประเภทจะเก็บข้อมูลได้แตกต่างกัน และ
จะต้องกาหนดขนาดของข้อมูล (Size) ที่จะจัดเก็บด้วย
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
6
Data Type
ประเภทของฟิ ลด์ (Data Type) ความหมาย
เก็บข้อมูลที่เป็ นข้อความที่จากัดจานวน เช่น ชื่อนักเรี ยน
Text(n) หรื อ Character(n)
ขนาดไม่เกิน 20 ตัวอักษร จะต้องกาหนดเป็ น Text(20)
Number
เก็บข้อมูลตัวเลขที่ใช้ในการคานวณ เช่น เงินเดือน คะแนนสอบ
Logical
เก็บข้อมูลเฉพาะ จริ ง หรื อ เท็จ เท่านั้น เช่น
สอบผ่าน = True สอบตก = False
เก็บข้อมูลที่เป็ นข้อความที่ไม่กาหนดความความยาว เช่น
ประวัตินกั เรี ยน
เก็บข้อมูลที่เป็ น Multimedia เช่น รู ปภาพ เสี ยง
Memo
Object
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
7
ระดับของข้ อมูลในฐานข้ อมูล
 เรคอร์ ด(Record) หรือ ระเบียน : เป็ นกลุ่มของฟิ ลด์ที่มีขอ้ มูลเกี่ยวกับ
สิ่ งของคน หรื อสถานที่ที่สมั พันธ์กนั มารวมกัน
 ในเรคอร์ดหนึ่ง จะต้องมีอย่างน้อยหนึ่งฟิ ลด์ ที่บ่งบอกความแตกต่าง
ของแต่ละเรคอร์ด เรี ยก กุญแจหลัก หรือ คีย์หลัก(Key Field หรื อ
Primary Key)
 ไฟล์ หรือแฟ้ม (File) : คือ กลุ่มของเรคอร์ดที่เกี่ยวข้องกันนามารวมกัน
 ฐานข้ อมูล (Database) ประกอบด้วยกลุ่มของไฟล์ขอ้ มูลที่สมั พันธ์กนั มา
เก็บไว้ในที่เดียวกัน
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
8
ระดับของข้ อมูล
บิต
ไบต์
ฟิ ลด์
เรคอร์ ด
ไฟล์
ฐานข้ อมูล
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
9
ระดับข้ อมูลที่ประกอบกันเป็ นฐานข้ อมูล
ไฟล์ลูกค้า
ไฟล์พนักงาน
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
10
ประเภทของโปรแกรมฐานข้ อมูล
Type of Database Program
 Database Program เป็ นโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างฐานข้อมูลใหม่ และ
จัดการกับฐานข้อมูลที่มีอยูแ่ ล้ว เช่น การเพิ่มเรคอร์ดใหม่, การแก้ไข,
การลบ, การค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูล
 Database Program แบ่งเป็ น 2 ประเภทคือ
 โปรแกรมจัดการแฟ้ มข้อมูล (File Management System)
 ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System :DBMS)
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
11
โปรแกรมจัดการแฟ้มข้ อมูล
File Management Program
 เป็ นโปรแกรมที่ใช้สร้างฐานข้อมูลรายแฟ้ ม(Flat File) ซึ่ งเป็ นโปรแกรม
ฐานข้อมูลที่ใช้เก็บและเรี ยกหาข้อมูลออกมาทีละแฟ้ มเป็ นสาคัญ
 แฟ้ มชนิด Flat File นี้ใช้เก็บข้อมูลพื้นฐานที่ไม่ซบั ซ้อน
 ฐานข้อมูลรายแฟ้ มนี้สามารถเรี ยกใช้แบบสุ่ ม (Random) เพื่อให้ได้ขอ้ มูล
ที่ตอ้ งการ หรื อเข้าถึงแบบลาดับ (Sequential)
 ตัวอย่างโปรแกรมจัดการแฟ้ มข้อมูล คือ โปรแกรม Microsoft Excel
 การใช้โปรแกรมจัดการแฟ้ มข้อมูล เข้ามามีบทบาทในงานส่ วนบุคคลและธุรกิจ
ขนาดเล็กที่ตอ้ งการเก็บข้อมูลพื้นฐานและนามาใช้งานต่อไป
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
12
โปรแกรมจัดการแฟ้มข้ อมูล
File Management Program
 ข้อดี
 ควบคุมการทางานกับแฟ้ มทีละแฟ้ ม ไม่มีการเชื่อมโยง/ใช้ขอ้ มูลร่ วมกัน
 การทางานจึงไม่ซบั ซ้อน ทาให้การประมวลผลแฟ้ มข้อมูลมีความรวดเร็ ว
 เรี ยนรู ้วธิ ี การใช้และควบคุมการใช้งานได้ง่าย
 โปรแกรมยังมีราคาไม่แพง เสี ยค่าใช้จ่ายไม่มากในการนามาใช้รวมทั้งการ
บารุ งรักษา
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
13
โปรแกรมจัดการแฟ้มข้ อมูล
File Management Program
 ข้อเสี ย
 ข้อมูลในแฟ้ มข้อมูลไม่สามารถทางานร่ วมกันแบบสัมพันธ์กนั ได้
 การออกแบบ/สร้างแฟ้ มข้อมูลมีโอกาสที่จะเกิดการซ้ าซ้อนของข้อมูล
 ในกรณี ที่ตอ้ งการให้มีการประมวลผลร่ วมกันหลาย ๆ แฟ้ ม การเขียน
โปรแกรมประยุกต์เพื่อประมวลผลจะเกิดความยากยุง่ ยากมาก
 ออกแบบมาใช้กบั งานที่ไม่ซบั ซ้อนนัก ไม่จาเป็ นต้องมีผรู ้ ับผิดชอบทั้งระบบ
ทาให้ระบบงานไม่เป็ นมาตรฐานเดียวกันและขาดผูด้ ูแลและบารุ งรักษา
รวมถึงการพัฒนาไม่เป็ นระบบ
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
14
ระบบจัดการฐานข้ อมูล(DBMS)
Database Management System
 โปรแกรมฐานข้อมูลที่สามารถจัดการกับแฟ้ มข้อมูลจานวนมากได้
 เพื่อการบารุ งรักษาสารสนเทศ และสามารถนามาใช้ได้ทุกครั้งที่ตอ้ งการ
 ผูใ้ ช้สามารถสร้างแฟ้ มข้อมูล เพิ่มข้อมูล ลบ แก้ไข หรื อเรี ยกดูขอ้ มูล ใน
แต่ละแฟ้ มได้เหมือนกับโปรแกรมจัดการแฟ้ มข้อมูล
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
15
ระบบจัดการฐานข้ อมูล(DBMS)
Database Management System
 ข้อดี
 สามารถทางานกับแฟ้ มข้อมูลหลายๆแฟ้ มพร้อมๆกัน
 มีระบบรักษาความปลอดภัย
 มีการควบคุมความคงสภาพ
 มักจะมีเครื่ องมือช่วยในการ
 ทารายงาน
 สร้างแบบฟอร์มรับข้อมูลและแสดงผล
 การทางานกับกราฟิ ก/แผนภาพ
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
16
ตัวแบบของระบบจัดการฐานข้ อมูล
Database Model
โมเดลแบบลาดับชั้น(Hierarchy Model)
 ข้อมูลในโมเดลนี้จะมีความสัมพันธ์แบบพ่อ-ลูก(Parent-child)
แต่ละรายการข้อมูลที่เป็ นพ่อจะมีขอ้ มูลที่เป็ นลูกได้หลายรายการ แต่ละ
รายการข้อมูลที่เป็ นลูกจะมีขอ้ มูลที่เป็ นพ่อแค่รายการเดียว โครงสร้างมี
ความซับซ้อนและไม่ยดื หยุน่ ดังแสดงใน slide ถัดไป ซึ่งเป็ นข้อมูล
ของอาจารย์ที่ปรึ กษา,นักศึกษาและวิชาที่นกั ศึกษาลงเรี ยน
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
17
ตัวอย่าง
รหัสอาจารย์
ชื่ออาจารย์
ระเบียนอาจารย์ ที่ปรึกษา
โมเดลข้ อมูลแบบลาดับชั้น
รหัสนักศึกษา ชื่อนักศึกษา
ระเบียนนักศึกษา
รหัสวิชา
ระเบียนรายวิชา
749100
517-101
Intro. to com.
เกรด
อรอนงค์ ปั ญจธร
A
517-111
C
925
สมศักดิ์ วัฒนา
749101
วิชิต แย้มสรวลธร
517-102
B
ตัวอย่ างข้ อมูลฐานข้ อมูลแบบลาดับ
กวิน กาชัยชนะ
749102
517-201
B
Data Structure/DataBase
517-361
A
18
ตัวแบบของระบบจัดการฐานข้ อมูล
Database Model
โมเดลแบบครือข่ าย(Network Model)
 ข้อมูลในโมเดลนี้จะมีความสัมพันธ์แบบพ่อ-ลูก(Parentchild)ที่ซบั ซ้อนเป็ นโครงข่าย แต่ละรายการข้อมูลที่เป็ นพ่อจะมี
ข้อมูลที่เป็ นลูกได้หลายรายการ แต่ละรายการข้อมูลที่เป็ นลูกจะมีขอ้ มูลที่
เป็ นพ่อได้หลายรายการ
 โครงสร้างมีความซับซ้อนและไม่ยดื หยุน่ เช่น นักศึกษาแต่ละคน
ลงทะเบียนเรี ยนหลายวิชา แต่ละวิชาจะมีนกั ศึกษาลงเรี ยนหลายคนและ
สอนโดยอาจารย์หลายคน อาจารย์แต่ละคนสอนหลายวิชาด้วย
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
19
ตัวอย่ าง
รหัสนักศึกษา
ชื่อนักศึกษา
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
รหัสอาจารย์
517-101
100
ระเบียนรายวิชา
ชื่ออาจารย์
อรอนงค์ ปัญจธร
749100
ระเบียนนักศึกษา
Intro to Computer
กมล
Intro. to com.
101
ระเบียนอาจารย์ ผ้ สู อน
749101
517-102
ศรัณ
ตัวอย่ างข้ อมูลฐานข้ อมูลแบบเครือข่ าย
102
วิชิต แย้มสรวลธร
Data Structure
วศิน
749102
กวิน กาชัยชนะ
517-103
C Programming
103
Data Structure/DataBase
สมร
104
พศิน
20
ตัวแบบของระบบจัดการฐานข้ อมูล
Database Model
โมเดลเชิงวัตถุ(Objected-oriented Model)
 โมเดลแบบนี้ออกแบบมาเพื่อใช้กบั ชนิดข้อมูลที่มีซบั ซ้อน เช่น แผนที่,
ภาพ และ เสี ยง ซึ่งจะเน้นเรื่ องของวัตถุ(Object) หรื อ ตัวแทนของ
สิ่ งที่เป็ นจริ งที่เกี่ยวข้องกับเอนทิตี(Entity : กลุ่มของบุคคล, สิ่ งของ
,สถานที่) โดย Object ใช้แทนข้อมูลเกี่ยวกับเอนทิตี และชนิดของ
การกระทาการที่จะเปลี่ยนเอนทิตี นั้นอันได้แก่ การเปลี่ยนคุณสมบัติของ
เอนทิตี การกระทากับเอนทิตี เป็ นต้น
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
21
ตัวแบบของระบบจัดการฐานข้ อมูล
Database Model
โมเดลเชิงสั มพันธ์ (Relational Model )
 โมเดลเชิงสัมพันธ์ นี้เป็ นรู ปแบบของฐานข้อมูลทีใช้อยูใ่ นปั จจุบนั เป็ นส่ วนใหญ่
ข้อมูลจะอยูใ่ นตาราง(Table) ที่ประกอบด้วยแถวและคอลัมน์ แต่ละช่องใน
ตารางจะมีขอ้ มูล(Data Item)เพียงข้อมูลเดียว แต่ละคอลัมน์แทนฟิ ลด์
(Field)ที่มีขอ้ มูล(Data Item)อยู่ แต่ละแถวที่มีขอ้ มูลที่เกี่ยวข้องกันจะ
แทนเรคอร์ด(Record) และ เรคอร์ดที่สมั พันธ์กนั รวมเป็ นแฟ้ มในรู ปของ
ตาราง หรื อ เรี ยกว่ารี เลชัน(Relation) ซึ่งความสัมพันธ์ของตารางจะเชื่อมกัน
โดยใช้คียห์ ลัก(Primary Key) และคียน์ อก(Foreign Key)
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
22
Primary key vs Foreign key
 คียห์ ลัก(Primary Key) คือ ฟิ ลด์ที่ใช้แยกความแตกต่างในแต่ละแถว
หรื อเรคอร์ด จากตัวอย่างจะเห็นว่า SalesID เป็ นคียห์ ลัก(Primary
Key) ในตาราง Salesperson ซึ่งทาหน้าที่แยกความแตกต่างระหว่าง
ข้อมูลในแต่ละแถว ซึ่ง SalesID ที่ปรากฏในแต่ละแถวของตาราง
Saleperson จะไม่ซ้ ากัน นอกจากนี้ฟิลด์ที่ทาหน้าที่คียห์ ลักจะต้องมีขอ้ มูล
อยูใ่ นแต่ละแถวตลอดเวลา จะเว้นไว้โดยไม่ใส่ ขอ้ มูลไม่ได้(Not Null)
 คียน์ อก(Foreign Key) คือ ฟิ ลด์ที่ทาหน้าที่เชื่อมความสัมพันธ์ไปยัง
ตารางอื่น(เชื่อมข้อมูลกับ primary Key ในตารางอื่น) ทาให้ตารางต่างๆ
ในฐานข้อมูลเชื่อมโยงกันได้ จากตัวอย่าง SalesID จะทาหน้าที่ Foreign
Key ในตาราง Customer เพื่อบ่งบอกถึง Salesman ที่ไปขาย
สิ นค้าให้กบั ลูกค้า(Customer) ข้อมูลใน SalesID ที่ปรากฏใน
ตาราง Customer อาจซ้ ากันได้
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
23
ตัวแบบของระบบจัดการฐานข้ อมูล
Database Model
คีย์นอก
คีย์หลัก
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
24
ระบบจัดการฐานข้ อมูลเชิงสั มพันธ์
Relational Database Management System : RDBMS
 เป็ นโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ มีหน้าที่สร้างฐานข้อมูล ที่
ประกอบด้วยตาราง หลายๆตาราง ผูใ้ ช้สามารถเรี ยกข้อมูลจากตารางเหล่านั้นมาดู แก้ไข
เพิ่ม หรื อลบได้ นอกจากนั้นระบบยังมีความสามารถในการตรวจสอบความคงสภาพ
(Integrity) ตรวจสอบความซ้ าซ้อนของข้อมูล การเชื่อมโยงข้อมูล รวมถึงการ
ดูแลการใช้ขอ้ มูลพร้อมๆกันจากผูใ้ ช้หลายคน RDBMS ส่ วนใหญ่จะมีราคาแพง มี
ความซับซ้อนและยุง่ ยากกว่าโปแกรมจัดการแฟ้ มข้อมูล
 โปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จะมีหลายรุ่ น ทั้งที่ใช้กบั เครื่ องบนเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล(PC) ตัวอย่างเช่นโปรแกรม Microsoft Access ,
Lotus Approach หรื อบนเครื่ อง Macintosh ของ Apple
Companyได้แก่ FileMaker Pro ที่สามารถใช้งานบน Microsoft
Windows ได้ดว้ ย ส่ วนบนเครื่ องบริ การ(Server) เช่น Microsoft SQL
Server และบนเครื่ อง Mainframe ได้แก่ Oracle, DB2 และ
Informix เป็ นต้น
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
25
หน้ าที่ของโปรแกรมระบบจัดการฐานข้ อมูล
 สร้ างพจนานุกรมข้ อมูล(Data Dictionary)

อาจเรี ยกว่าสารบัญแฟ้ ม(Catalog) ซึ่ งเป็ นที่เก็บข้อมูลเกี่ยวกับตารางและฟิ ลด์ในฐานข้อมูล โดยจะเก็บชื่อ
ของแต่ละตารางและความสัมพันธ์กบั ตารางอื่น รายละเอียดของตาราง ได้แก่ชื่อฟิ ลด์(Field name),
ชนิดข้อมูล(Field Type) ขนาด(Size) ของแต่ละฟิ ลด์ รวมถึงการตรวจสอบความสมเหตุสมผล
(Validation) ค่าเริ่ มต้น(Default Value) เมื่อผูใ้ ช้ป้อนความต้องการลงในระบบจัดการ
ฐานข้อมูล ตัวโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูลจะทาการตรวจสอบข้อมูลใน Data Dictionary ว่ามี
ตารางข้อมูลและฟิ ลด์ที่ผใู ้ ช้ตอ้ งการหรื อไม่ เพื่อดาเนินการต่อไป
 ควบคุมความคงสภาพข้ อมูล(Data Integrity Control)


การควบคุมความคงสภาพของข้อมูลหมายถึง การที่ระบบจัดการฐานข้อมูลจะจัดการกับข้อมูล (เมื่อมีการใช้คาสัง่
เพิ่ม ลบ หรื อแก้ไขข้อมูล) เพื่อให้แน่ใจว่าข้อมูลในฐานข้อมูลมีความถูกต้อง น่าเชื่อถือตามกฎหรื อเงื่อนไขและ
ข้อตกลงที่ได้กาหนดไว้ต้ งั แต่ตน้ กฎหรือเงือ่ นไขและข้ อตกลงเรียกว่ า Integrity
Constraints ตัวอย่างเช่น Entity Integrity, Referential Integrity
Entity Integrity เป็ นกฎการตรวจสอบค่าของข้อมูลที่เป็ นไปได้ในแต่ละฟิ ลด์ กฎนี้จะยอมให้ขอ้ มูล
ที่เป็ นที่ยอมรับ หรื อ ได้ตกลงกันไว้เท่านั้น ที่จะอยูใ่ นฟิ ลด์ได้ หรื อ ฟิ ลด์ที่ทาหน้าที่คียห์ ลัก (Primary
Key) ต้องไม่ซ้ ากัน ส่ วน Referential Integrity เป็ นกฎที่คียน์ อกจะต้องอ้างถึงคียห์ ลักที่มี
ตัวตนเท่านั้น เช่น SalesID ที่ใช้ในตารางลูกค้า(Customer) ต้องเป็ นค่าที่มีตวั ตนในตาราง
พนักงานขาย(Saleperson)
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
26
หน้ าที่ของโปรแกรมระบบจัดการฐานข้ อมูล
 การบารุงรักษาข้ อมูล(Data Maintenance)
 การบารุ งรักษา/จัดการข้อมูลพื้นฐานได้แก่ การเพิม่ ข้อมูลใหม่ การแก้ไขข้อมูล
เดิม การลบข้อมูล วิธีที่ใช้ในการจัดการข้อมูลในฐานข้อมูล สามารถทาได้โดย
ใช้โปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูลโดยตรง(Interactive) ด้วยคาสัง่
เรี ยกดูขอ้ มูล Structure Query Language (SQL)
 บริการการค้ นคืนข้ อมูล(Data Retrieval)
 การเรี ยกใช้และการเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูลเป็ นสิ่ งที่จาเป็ นมาก รู ปแบบข้อมูล
ที่ถูกเรี ยกใช้มี 2 แบบ คือการสอบถาม(Queries) และ แบบรายงาน
(Reports)
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
27
ผลจากการสอบถาม (Queries)
และตัวอย่ างรู ปแบบรายงาน(Report)
• การสอบถาม(Queries) เป็ นการขอดูขอ้ มูลจากฐานข้อมูลตามเงื่อนไข โดยใช้ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้ าง
(Structured Query Language : SQL) หรื อ ใช้สอบถามจากตัวอย่ าง (Query-by-example
: QBE) ซึ่ งเป็ นการใช้ส่วนต่อประสานกราฟิ ก (graphical interface) เพื่อสร้างภาษาสอบถามเชิง
โครงสร้าง และแสดงผลในรู ปตาราง
• รายงาน(Reports) เป็ นการแสดงข้อมูลในรู ปแบบต่างๆที่ตอ้ งการ ส่วนใหญ่แสดงข้อมูลจานวนมากกว่าการ
สอบถาม(Query) และมักจะมีเครื่ องมือช่วยในการสร้างรายงาน(Report generator) รวมอยูด่ ว้ ย
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
28
แสดงการใช้ ภาษาเชิงโครงสร้ าง(SQL)
และการสอบถามจากตัวอย่ าง(QBE)
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
29
หน้ าที่ของโปรแกรมระบบจัดการฐานข้ อมูล
 สามารถควบคุมการใช้ งานพร้ อมกัน(Concurrency Control)
เมื่อมีการใช้ขอ้ มูลในฐานข้อมูลพร้อมๆกัน เช่น ผูใ้ ช้พยายามแก้ไขข้อมูลหลายๆคนในเวลาเดียวกัน ผลการ
แก้ไขอาจไม่ถูกต้อง ระบบจัดการฐานข้อมูลจะควบคุมโดยการล็อก(Lock)หรื อการปิ ดกั้นเรคอร์ดข้อมูล
ที่ผใู ้ ช้ตอ้ งการ โดยอนุญาตให้เฉพาะผูท้ ี่เรี ยกใช้ก่อนทาการปิ ดกั้น ข้อมูลเพื่อการแก้ไขจนกระทัง่ การทางาน
สาเร็ จแล้วจึงปลดการปิ ดกั้นเพื่อให้ผใู ้ ช้อื่นเรี ยกใช้บา้ ง
 สามารถควบคุมความมัน่ คงของข้ อมูล(Security control)
 ระบบจัดการฐานข้อมูลจะมีระบบรักษาความปลอดภัยเตรี ยมให้ เช่น ผูใ้ ช้ที่มีสิทธิการใช้ตอ้ งใส่ รหัสผูใ้ ช้
(User ID) และรหัสผ่าน(Password) ก่อนการใช้งาน ผูใ้ ช้แต่ละคนมีเอกสิ ทธิ
(Privilege) ในการใช้ขอ้ มูลต่างกัน ได้แก่ เอกสิ ทธิในการเรี ยกดูขอ้ มูลได้อย่างเดียวห้ามแก้ไข
(Read only), เอกสิ ทธิในการแก้ไขข้อมูลได้(Data Update) หรื อ เอกสิ ทธิที่ไม่
สามารถเรี ยกดูหรื อแก้ไขได้เลย(No Privilege)
 สามารถสารองข้ อมูลและการกู้ข้อมูล(Data Backup and Data Recovery)
 การสารองข้อมูล(Data Backup) หมายถึง การจัดเก็บข้อมูลที่ใช้งานไว้อีกชุดหนึ่ง ส่ วนการกู้
ข้อมูล(Recovery) เป็ นการกูข้ อ้ มูลที่สูญเสี ยไปจากการทางานผิดพลาดของระบบ ให้กลับคืนมาโดย
ใช้ขอ้ มูลที่สารองเอาไว้

Intro. to com.
Data Structure/DataBase
30
คลังข้ อมูล
Data Warehouse
 คือ ที่เก็บข้อมูลขององค์การที่ได้รับการออกแบบเพื่อช่วยการตัดสิ นใจของฝ่ าย
บริ หาร ในทางปฏิบตั ิน้ นั สิ่ งที่เก็บอยูใ่ นคลังข้อมูลไม่ได้มีแต่เพียงข้อมูลเท่านั้น หาก
ยังเก็บเครื่ องมือสาหรับดาเนินการกับข้อมูล กระบวนการทางานกับข้อมูล และ
ทรัพยากรอื่นๆ ระบบคลังข้อมูลเพื่อการบริ หารได้ถูกออกแบบมาเพื่อใช้ในการเก็บ
ข้อมูลขนข้อมูลขนาดใหญ่ โดยระบบข้อมูลเพื่อการบริ หารนี้จะแยกข้อมูลออกจาก
ฐานข้อมูลที่ใช้งานประจาวัน (Operational Database) ซึ่งข้อมูล
สาหรับการบริ หารโดยมากจะเป็ นข้อมูลสรุ ป (Summary Data) ข้อมูลสรุ ป
นี้อาจจะเป็ นข้อมูลในอดีต, ข้อมูลอ้างอิง หรื อข้อมูล ณ ปั จจุบนั ซึ่ งอาจได้มาจาก
ข้อมูล ในฐานข้อมูลที่ใช้งานประจาวัน หรื อมีการประมวลผลข้อมูลในฐานข้อมูลที่
ใช้งานประจาวัน ให้เป็ นข้อมูลสรุ ป หรื ออาจนามาจากที่อื่นภายนอกองค์กรและทา
การเพิ่มเติมลงไปก็ได้ ข้อมูลที่ถูกจัดเก็บอยูใ่ นคลังข้อมูลถือได้วา่ เป็ นข้อมูลใน
รู ปแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ที่มีประสิ ทธิภาพสูง โดยมากเราจะเลือกเก็บแต่เฉพาะ
ข้อมูลที่จาเป็ นสาหรับการตัดสิ นใจหรื อหัวข้อของธุรกิจที่น่าสนใจ
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
31
เป้าหมายในการสร้ างคลังข้ อมูล
1. ข้อมูลในคลังข้อมูลมีความถูกต้องตรงกันหมด คาถามเดียวกันต้องได้รับคาตอบที่เหมือนกันเสมอ ไม่วา่ ผู ้
ถามจะเป็ นใคร ถามเวลาใด
2. คลังข้อมูลทาให้สามารถเข้าถึงข้อมูลขององค์กรได้ ผูจ้ ดั การและนักวิเคราะห์ขององค์กรสามารถเชื่อมต่อ
เข้าไปยังคลังข้อมูลจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ของตนได้ ซึ่งการเชื่อมต่อสามารถทาได้ทนั ทีตามความต้องการ
และด้วยประสิ ทธิภาพสู ง เครื่ องมือที่มีให้กบั ผูจ้ ดั การและนักวิเคราะห์ใช้งานง่าย สามารถออกรายงานได้
ด้วยการคลิกปุ่ มเดียว
3. ข้อมูลในคลังข้อมูลสามารถถูกวิเคราะห์จากหัวข้อในธุรกิจประเภทนั้น โดยแบ่งข้อมูลหรื อรวมข้อมูลมา
วิเคราะห์ตามความต้องการ
4. คลังข้อมูลเป็ นส่ วนที่ผลิตข้อมูลจากโปรแกรม Online Analytical Processing
หรื อ OLTP ซึ่งข้อมูลไม่เพียงแต่ถูกรวบรวมมาไว้ที่ศูนย์กลางอย่างเดียว แต่จะถูกรวบรวมอย่าง
ระมัดระวังจากแหล่งข้อมูลหลายๆแห่งนอกองค์กรด้วย แล้วมาปรับปรุ งให้เหมาะสมกับการใช้งานเท่านั้น
ถ้าข้อมูลเชื่อถือไม่ได้หรื อไม่สมบูรณ์จะไม่ถูกอนุญาตให้นาไปใช้
5. คุณภาพของข้อมูลในคลังข้อมูลเป็ นตัวผลักดันให้สามารถทาการ reengineering ธุรกิจได้
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
32
ประโยชน์ ของคลังข้ อมูล
 โดยทัว่ ไปแล้วฐานข้อมูลที่ใช้งานประจาวันจะเก็บข้อมูลในรู ปแบบระบบรายการเปลี่ยนแปลง
(Transaction Systems) เมื่อมีความต้องการข้อมูลมาใช้ช่วยในการตัดสิ นใจก็จะประสบ
ปัญหาต่างๆเช่น
1. ข้อมูลในฐานข้อมูลจะเป็ นรู ปแบบข้อมูลตารางเท่านั้น ซึ่งไม่สะดวกสาหรับผูใ้ ช้ที่เป็ นผูบ้ ริ หาร
2. บุคลากรทางด้าน Information Systems จาเป็ นต้องเรี ยกข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ซึ่ง
มีขอ้ มูลมากเกินความต้องการ ส่ งผลให้ประสิ ทธิภาพของรายการการเปลี่ยนแปลงฐานข้อมูลที่ใช้งาน
ประจาวัน ทางานได้ชา้ ลง
3. ข้อมูลจะถูกนาเสนอในรู ปแบบที่ตายตัว ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงตามความต้องการของผูใ้ ช้ เช่น ต้องการขอดู
แบบมีเงื่อนไขต่างๆ โดยผูใ้ ช้ไม่ตอ้ งเขียนคาสั่งเอง
4. ไม่ตอบสนองความต้องการของการตัดสิ นใจ เพราะข้อมูลสาหรับการตัดสิ นใจมีความสลับซับซ้อนสู ง มีการ
รวมตัวกันของข้อมูลจากตารางต่างๆหลายๆตารางข้อมูล
5. ไม่ตอบสนองการสอบถามข้อมูล (Data Queries) สาหรับผูใ้ ช้ มีขอ้ มูลย้อนหลังน้อย
(Historical Data)
6. ข้อมูลถูกจัดเก็บกระจัดกระจายตามที่ต่างๆ ซึ่งยากต่อการเรี ยกใช้หรื อขาดความสัมพันธ์ทางธุรกิจอันอาจจะ
ต้องเสี ยเวลาในการทาให้สอดคล้อง หรื อเกิดความซ้ าซ้อนของข้อมูลได้
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
33
ระบบสารสนเทศ
Information System
 ระบบสารสนเทศหมายถึง ระบบที่ถูกออกแบบมาเพื่อนาข้อมูล
คอมพิวเตอร์(ฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ ) กระบวนการและ
บุคลากร มาทางานร่ วมกัน เพื่อจัดการสารสนเทศให้บรรลุ
เป้ าหมายที่วางไว้ หรื อ ระบบสารสนเทศ คือ การประมวลผลที่
นาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการประมวลผลให้ได้สารสนเทศที่
ต้องการ
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
34
องค์ ประกอบของระบบสารสนเทศ
 Hardware ได้แก่ตวั เครื่ องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ เช่น
หน่วยรับข้อมูล หน่วยแสดงผล หน่วยบันทึกข้อมูล เป็ นต้น
 Software ได้แก่โปรแกรมระบบปฏิบตั ิการและโปรแกรม
ประยุกต์
 Data/Information ได้แก่ขอ้ มูลและสารสนเทศ
 Procedure ได้แก่ระเบียบปฏิบตั ิ คู่มือประกอบโปรแกรม คู่มือ
การใช้งานคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์
 People ได้แก่บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ เช่นโปรแกรมเมอร์
นักวิเคราะห์ระบบ เป็ นต้น
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
35
องค์ ประกอบการประมวลผลข้ อมูล
Data Processing
 ข้อมูล(Data) หมายถึง ข้อเท็จจริ งที่ยงั ไม่ผา่ นการประมวลผล โดยข้อมูล
สามารถได้มาจากแหล่งกาเนิดข้อมูลดังนี้
 Internal Source: แหล่งข้อมูลภายในองค์กร เช่น ข้อมูลจากแผนกต่างๆ
 External Source: แหล่งข้อมูลภายนอกองค์กร เช่น การดาเนินงานของคู่แข่ง
แนวโน้มการบริ โภคของลูกค้า
 ผูบ้ ริ หารในองค์กร คือ ความรู ้ความสามารถและแนวคิดของผูบ้ ริ หาร
 การประมวลผล(Processing) : การคานวณ การพิมพ์รายงาน การค้นหา
ข้อมูล
 สารสนเทศ(Information): ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล สามารถ
นาไปใช้ในการตัดสิ นใจ
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
36
คุณสมบัตขิ องข้ อมูลที่ดี











Accessible : สามารถค้นหาได้อย่างรวดเร็ ว
Accuracy : ความถูกต้อง
Completeness : ความสมบรู ณ์
Relevant : ตรงตามจุดประสงค์ของการใช้งาน
Currency : ความทันสมัย/เป็ นปัจจุบนั
Economics : ความประหยัด/คุม้ ค่า
Understandable : สามารถเข้าใจได้ง่าย
Timeliness : เหมาะ , ถูกกาลเทศะ
Secure : ผูไ้ ม่มีสิทธิหา้ มใช้
Simple : ง่าย ต่อการเรี ยกใช้
Verifiable : สามารถยืนยันได้
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
37
เป้าหมายของระบบสาระสนเทศ
 เพิม่ ประสิ ทธิ ภาพ, ผลผลิต และเพิม่ คุณภาพ
 การผลิตสิ นค้าใหม่และขยายผลิตภัณฑ์
 สร้างโอกาสทางธุรกิจ
 การดึงดูดลูกค้าและป้ องกันคู่แข่งขันในธุรกิจ โดยใช้เทคโนโลยี
ใหม่
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
38
ระบบสาระสนเทศกับระดับการบริหารงานในองค์ กร
 การบริ หารงานในองค์กรแบ่งเป็ น
 การบริ หารระดับสูง(Strategic Management)
 การบริ หารระดับกลาง(Middle Management)
 การบริ หารระดับต้น/ปฏิบตั ิการ(Operational
management)
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
39
การบริหารระดับสู ง
Strategic Management
 ลักษณะงาน : เป็ นการกาหนดนโยบาย การกาหนดกลยุทธ์ต่างๆ เพื่อดาเนินธุรกิจ
แข่งกับบริ ษทั คู่แข่งได้
 การตัดสิ นใจ : เป็ นการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่ไม่คาดคิด และเป็ นการตัดสิ นใจที่ยาก
สลับซับซ้อน จาเป็ นต้องใช้ประสบการณ์อย่างมาก
 ลักษณะสารสนเทศ : ต้องการข้อมูลที่มีแนวโน้มพยากรณ์ต่างๆ ในลักษณะของ
รู ปภาพ, กราฟสรุ ปประเด็นสาคัญ และไม่ตอ้ งการรายละเอียดมากนัก
 แหล่ งข้ อมูล: ส่ วนใหญ่ตอ้ งการข้อมูลที่มาจากภายนอกองค์กร เช่น ข้อมูลบริ ษทั
คู่แข่ง, ข้อมูลการขยายตัวทางเศรษฐกิจ, ข้อมูลการตลาด เป็ นต้น
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
40
การบริหารระดับกลาง
Middle Management
 ลักษณะงาน : เป็ นการวางแผนและควบคุมการปฏิบตั ิงานให้เป็ นไปตาม
นโยบายของผูบ้ ริ หารระดับสู ง
 การตัดสิ นใจ : มีความซับซ้อนน้อยกว่าการตัดสิ นใจของระดับสู ง แต่
อาจมีเหตุการณ์ไม่ได้คาดการล่วงหน้าเกิดขึ้นได้
 ลักษณะสารสนเทศ : เป็ นรายงานสรุ ปผลการปฏิบตั ิงานและแนวโน้มใน
อนาคต โดยการแสดงตามระยะเวลาที่กาหนด หรื อ เมื่อผูบ้ ริ หารต้องการ
เช่น รายงานสรุ ปการขายสิ นค้าที่มียอดขายเกินเป้ าหมาย
 แหล่ งข้ อมูล : ต้องการข้อมูลที่มาจากทั้งภายในและภายนอกองค์กร
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
41
การบริหารระดับต้ น
Operational Management
 ลักษณะงาน : เป็ นงานประจา(Routine) ที่ตอ้ งปฏิบตั ิงานตามแผนงานที่
ได้รับมอบหมาย จากการบริ หารระดับกลาง เช่น การทางานของฝ่ ายทะเบียนของ
มหาวิทยาลัย
 การตัดสิ นใจ : สามารถคาดการล่วงหน้าได้ และมีโครงสร้างหรื อรู ปแบบที่แน่นอน
ง่ายต่อการแก้ปัญหา เช่น ปั ญหาการลงทะเบียนผิดพลาดของนักศึกษา จะมีวธิ ีการ
หรื อระเบียบที่วางไว้วา่ ควรจะต้องดาเนินการอย่างไร
 ลักษณะสารสนเทศ : รายงาน หรื อ สารสนเทศที่แสดงรายละเอียดต่างๆ มี
โครงสร้างที่แน่นอน แสดงผลการปฏิบตั ิงานประจาวัน เช่น รายงานจานวนนักศึกษา
ที่ลงทะเบียนเรี ยนแต่ละวิชา เป็ นต้น
 แหล่ งข้ อมูล : ข้อมูลส่ วนใหญ่จะมาจากภายในองค์กรเอง เช่น ข้อมูลนักศึกษา
ข้อมูลอาจารย์ เป็ นต้น
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
42
ประเภทของสารสนเทศ
Type of Information
 ระบบการประมวลผลด้ วยรายการเปลีย่ นแปลง(Transaction Process
System :TPS)
 เป็ นระบบที่ประมวลผลรายการข้อมูลโดยนารายการที่เกิดในแต่ละวัน เช่น การบันทึกการขายสิ นค้าใน
ห้างสรรพสิ นค้า หรื อ การเบิกเงินจากตูเ้ อทีเอ็ม(ATM)ของลูกค้า เป็ นต้น แล้วนามาประมวลผล เช่น
การปรับปรุ งข้อมูล , การ เพิ่ม/ลบ/แก้ไข และแสดงรายการที่เกิดขึ้นทั้งหมด
 ระบบการประมวลผลด้วยรายการ เป็ นระบบที่แสดงรายละเอียดการปฏิบตั ิงานของแต่ละฝ่ ายในองค์กร มี
เก็บข้อมูลในระบบแฟ้ มข้อมูลหรื อระบบฐานข้อมูล เพื่อประมวลผลข้อมูลจานวนมากที่ทาเป็ นประจา
เช่น งานบัญชีเงินเดือน(Payroll), งานสิ นค้าคงคลัง (Inventory) , งานระบบบัญชี
(Accounting) เป็ นต้น เป็ นระบบที่ถูกนามาใช้โดยบุคลากรในระดับปฏิบตั ิการ
(Operational User) ซึ่งวิธีการประมวลผลข้อมูล ในระบบการประมวลผลด้วยรายการ
เปลี่ยนแปลงแบ่งออกเป็ น
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
43
Batch and Online Processing
 การประมวลผลแบบกลุ่ม(Batch Processing )
 เป็ นการประมวลผลที่รวบรวมข้อมูลจากรายการเปลี่ยนแปลงต่างๆไว้เป็ นกลุ่มหรื อระยะเวลา
หนึ่ง แล้วจึงดาเนินการประมวลผลทีเดียว เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย มักใช้กบั ข้อมูลที่ไม่รีบด่วน
เช่น การพิมพ์รายงาน การปรับปรุ งแฟ้ มลาดับ(Sequential File)
 การประมวลผลออนไลน์ (Online Processing)
 เป็ นการประมวลผลที่ทาให้อุปกรณ์ที่อยูภ่ ายใต้การควบคุมของคอมพิวเตอร์ ไม่วา่ อุปกรณ์น้ นั
จะเป็ นส่ วนหนึ่งของตัวเครื่ อง หรื ออุปกรณ์น้ นั อยูไ่ กลออกไปแต่สามารถติดต่อโดยตรงกับ
เครื่ องได้ เช่น การประมวลผลที่กระทาผ่านเครื่ องเทอร์มินอลและหน่วยประมวลผลกลาง โดย
เครื่ องจะประมวลผลทันทีที่ได้รับข้อมูล วิธีน้ ีตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง เหมาะกับงานด่วน
และการสอบถามข้อมูล เช่น การสอบถามข้อมูลออนไลน์, การประมวลผลในระบบเอทีเอ็ม
(ATM : Automatic Teller Machine)
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
44
ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหาร
Management Information System: MIS
 เป็ นระบบที่นาข้อมูลจากระบบการประมวลผลด้วยรายการเปลี่ยนแปลง(TPS)
ทั้งในอดีตและปั จจุบนั เช่น ข้อมูลยอดขายสิ นค้าของบริ ษทั ในรอบ 3 เดือน มา
ประมวลผลโดยใช้ฟังก์ชนั ทางสถิติ และกราฟ แบบง่ายๆ ผลลัพธ์ส่วนใหญ่จะเป็ น
รายงานสรุ ปรู ปแบบต่างๆกัน เช่น รายงานแสดงยอดขายที่เพิ่มขึ้นหรื อลดลงของ
สิ นค้าแต่ละชนิดในรอบ 3 เดือน
 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารนี้ จะมีส่วนที่ประสานงานระหว่างแผนกต่างๆ ให้
สามารถทางานร่ วมกันและจะสนับสนุนการทางานของผูบ้ ริ หารระดับกลาง เป็ นการ
ทางานระหว่างคนกับเครื่ องคอมฯ และการใช้ฐานข้อมูล โดยที่ฐานข้อมูลจะเก็บ
รวบรวมข้อมูล(Data) และโมเดลหรื อรู ปแบบที่มีประโยชน์ แก่ผใู้ ช้ในการเรี ยก
ข้อมูลมาใช้งาน ระบบดังกล่าวเหมาะสาหรับ ใช้ในการบริ หารงานของผูบ้ ริ หาร
ระดับกลาง(Middle Management
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
45
ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหาร
Executive Information System : EIS
 เป็ นระบบที่นาข้อมูลหรื อสารสนเทศมาเก็บไว้ในรู ปแบบที่ผบู้ ริ หารมักจะต้องใช้และ
สามารถเรี ยกดูตามเงื่อนไขที่ตอ้ งการ หรื อใช้ได้สะดวก โดยระบบจะสนับสนุนการ
ทางานของผูบ้ ริ หารระดับสูง เพื่อใช้ในการวางแผน/วางกลยุทธ์ทางธุรกิจ และ
ต้องการให้ดูขอ้ มูลง่ายที่สุด อาจแสดงเป็ นรู ปภาพ, ตารางข้อมูลที่ตอ้ งการ การแสดง
ข้อมูลเป็ นลาดับชั้น(Drill Down)
 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หาร มักจะพบในงานบริ หารระดับนโยบาย เพื่อติดต่อกับ
สภาพแวดล้อมภายนอกโดยอาศัยระบบสารสนเทศแบบทีพีเอส(TPS) และ เอ็ม
ไอเอส(MIS) ช่วยผูใ้ ช้ในการตัดสิ นใจแก้ปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง(ปั ญหาที่ไม่
แน่นอนตายตัว) ตัวอย่าง เช่น ข้อมูลที่ใช้เพื่อการวางแผนการทางานในอีก 5 ปี
ข้างหน้า เป็ นต้น
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
46
ระบบสานักงานอัตโนมัติ
Office Automation System :OAS
 เป็ นระบบที่รวมเอาเครื่ องอานวยความสะดวกมาใช้ในสานักงาน ระบบจะช่วย
สนับสนุนการทางานของหน่วยงาน โดยจะเน้นการดาเนินการมากกว่าจะเน้นการ
สร้างสาระสนเทศ และจะเกี่ยวข้องกับการจัดการด้านเอกสารเป็ นหลัก โดยใช้








โปรแกรมด้านการประมวลผลคา(Word Processing)
ตารางการคานวณ(Spreadsheet)
เดสท็อปพลับลิชชิง(Desktop Publishing)
ฐานข้อมูล(Database)
ไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์(E-mail)
ไปรษณี ยเ์ สี ยง(Voice Mail)
หมายกาหนดการอิเล็คทรอนิกส์(Electronic Scheduling)
การประชุมผ่านหน้าจอ(Video Conference)
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
47
ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
Decision Support System : DSS
 เป็ นระบบที่ช่วยผูบ้ ริ หารในการตัดสิ นใจสาหรับปัญหากึ่งโครงสร้าง
(ปัญหาที่สามารถหาคาตอบที่ตายตัวได้บางส่ วน) และปัญหาแบบไม่มี
โครงสร้าง(ปัญหาที่ไม่สามารถหาคาตอบแบบแน่นอนตายตัว) โดยจะ
ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการตัดสิ นใจอย่างมีประสิ ทธิภาพมีการโต้ตอบกัน
และอาจมีการสร้างแบบจาลอง และใช้สูตรต่างๆ เป็ นระบบที่ช่วย
ตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หารระดับสู ง มีการใช้ฐานข้อมูลเช่นเดียวกับระบบเอ็ม
ไอเอส(MIS) และมีประโยชน์กบั ผูใ้ ช้บางกลุ่มเท่านั้น
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
48
แสดงข้ อแตกต่ างระหว่ างระบบ MIS และ DSS
MIS
DSS

ผูใ้ ช้ไม่สามารถแนะนา หรื อสัง่ การซึ่งมี
ผลต่อการทางานของระบบ

ผูใ้ ช้สามารถสัง่ การ แนะนาซึ่งก่อให้เกิด
ผลกระทบต่อระบบ

ผูใ้ ช้ทาหน้าที่เพียงรับสารสนเทศจาก
ระบบ

ผูใ้ ช้สามารถวิเคราะห์สารสนเทศได้ และ
สามารถสัง่ งาน ซึ่ งมีผลต่อระบบ

ให้สารสนเทศที่เป็ นผลลัพธ์ของการ
ปฏิบตั ิงานในอดีต

วิเคราะห์สารสนเทศแล้ว สร้างแนวทาง
การทางานในอนาคต

งานหรื อสารสนเทศต่างๆ ใน MIS มา

จากความต้องการหรื อมีที่มาจากผูบ้ ริ หาร
ระดับกลาง
Intro. to com.
งานหรื อสารสนเทศใน DSS มาจากความ
ต้องการของผูบ้ ริ หารระดับสูง
Data Structure/DataBase
49
ปัญญาประดิษฐ์
Artificial Intelligence : AI
 เป็ นระบบที่พยายามทาให้คอมพิวเตอร์มีความฉลาด สามารถทางาน
เทียบเท่ามนุษย์ และสามารถทางานพื้นฐานที่มนุษย์ทาได้ เช่น การเดิน,
การนัง่ , การพูด เป็ นต้น สามารถแก้ปัญหาโดยอาศัยหลักทางทฤษฎี ถูก
ใช้มากในวงการอุตสาหกรรม โรงพยาบาล เช่น การสร้างหุ่นยนต์
ช่วยเหลืองานในโรงงานอุตสาหกรรม
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
50
ระบบผู้เชี่ยวชาญ
Expert System :ES
 เป็ นระบบที่สร้างขึ้นโดยจาลองลักษณะความคิด ความรู้ ความชานาญของผูเ้ ชี่ยวชาญ
มาสร้างเป็ นความรู้ในระบบคอมพิวเตอร์ ผูใ้ ช้สามารถใช้ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญในการ
แก้ปัญหาได้ การสร้างความรู้ในระบบจะอยูใ่ นรู ปของกฎ(Rule) ซึ่งกฎเหล่านี้
จะถูกใช้เป็ นความรู้สาหรับการตัดสิ นใจแก้ปัญหาเฉพาะด้าน ใช้แนวคิดมาจาก
ปั ญญาประดิษฐ์(Artificial Intelligence:AI)
 มีการพัฒนาเครื่ องจักรให้มีความฉลาด และสามารถสรุ ปผลลัทธ์ได้ เพื่อให้สามารถ
ใช้กบั ระบบธุรกิจ และเป็ นเอ็มไอเอสชนิดพิเศษ มักถูกเรี ยกว่าระบบฐานความรู้
(Knowledge-base System) ในระบบผูเ้ ชี่ยวชาญจะเสนอวิธี
แก้ปัญหาที่ดีที่สุด หรื อการระบุชนิดของปั ญหาที่เกิดขึ้ ซึ่งต่างกับ DSS ที่จะ
ตัดสิ นใจแทนผูบ้ ริ หาร ในระบบผูเ้ ชี่ยวชาญประกอบด้วย
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
51
องค์ประกอบของระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ
 Knowledge base : ส่ วนที่เป็ นฐานความรู ้
 User interface : ส่ วนประสานกับผูใ้ ช้
 Knowledge Engineer : ผูเ้ ก็บรวบรวมความรู ้จาก
ผูเ้ ชี่ยวชาญไว้ในคอมพิวเตอร์
 Inference Engine : กลไกในการหาเหตุผลหรื อ
คาตอบ
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
52
ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจแบบกลุ่ม
Group Decision Support System (GDSS) และ
Computer Supported Collaborative Work (CSCW)
 เป็ นระบบที่ช่วยตัดสิ นใจระดับกลุ่มชนิดกึ่งมีโครงสร้าง(Semistructured) และ ไม่มีโครงสร้าง(Unstructured) มี
เครื่ องมือที่อนุญาตให้สมาชิกในกลุ่มสามารถลงคะแนนเสี ยง สอบถาม
ความคิดเห็น และสร้างสรรค์แผนการในการแก้ปัญหาต้องมีโปรแกรม
ชนิด “Groupware” ที่ให้ผใู ้ ช้สามารถทางานร่ วมกันได้โดย
ผ่านเครื อข่าย
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
53
ระบบสารสนเทศแบ่ งตามลักษณะธุรกิจ
 ระบบบัญชี(Accounting) :
 เป็ นระบบสารสนเทศที่มีการประมวลผลแบบอิเล็กทรอนิกส์โดยมีมาตรฐานตามแบบการทาบัญชี ทวั่ ไป
เช่น การบันทึกรายการที่เกิดขึ้นมนแต่ละวัน , ระบบบัญชีตน้ ทุน(Cost Accounting
System) : เป็ นระบบช่วยคิดต้นทุนของสิ นค้าและราคาขายที่เหมาะสม
 ระบบการเงิน(Finance) :
 เป็ นระบบที่ช่วยผูบ้ ริ หารในการวางแผนทางการเงิน การจัดหาเงิน และการจัดสรรเงินให้ถูกต้อง รวดเร็ว
แม่นยา เช่น ระบบที่เกี่ยวกับการรับ/จ่ายเงิน การดอนเงินระหว่างธนาคาร หรื อ ระบบตรวจสอบและ
รับประกันว่าบริ ษทั มีเงินทุนเพียงพอในการบริ หารงานแต่ละวัน
 ระบบการผลิตและจัดการสินค้ าคงคลัง(Manufacturing and Inventory
Control)
 เป็ นระบบที่ช่วยในเรื่ องการควบคุมการผลิตและสิ นค้าคงคลัง เช่น ระบบที่เกี่ยวกับการวางแผนความ
ต้องการวัตถุดิบ(Minerals Requirement Planning) , ระบบการสัง่ ซื้อสิ นค้า
เพื่อให้ประหยัดและป้ องกันไม่ให้วตั ถุดิบมีมาก/น้อยเกินไป, ระบบควบคุมการผลิต
(Manufacturing Resource Planning)
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
54
ระบบสารสนเทศแบ่ งตามลักษณะธุรกิจ
 ระบบการตลาด(Marketing Sales and Customer Service)
 เป็ นระบบที่ช่วยในด้านการสร้างกาไรให้กบั บริ ษทั คือ การจัดจาหน่าย การบริ การ การสร้าง
ความพอใจให้กบั ลูกค้า เช่น ระบบวิจยั การตลาด(Market Research) เก็บข้อมูล
สิ นค้าและบริ การ, ระบบการขาย รวมถึงการสร้างพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ (ECommerce) , การใช้โปรแกรมบันทึกการขายและส่ งเสริ มการขาย
(Promotion)
 ระบบการจัดการบุคลากร(Human Resource Management
System) :
 เป็ นระบบที่ช่วยจัดการข้อมูลพนักงาน และหน้าที่การทางานต่างๆ ได้แก่ ระบบการจัดเก็บ
ข้อมูลพนักงาน(Employee Record Management) , ระบบฝึ กงาน
(Training) โดยโปรแกรมจาลองการทางานจริ ง เพื่อการเรี ยนรู ้, ระบบการประเมินผล
งานพนักงาน(Evaluation) โดยโปรแกรมที่ใช้ในการให้คะแนนพนักงานที่ทดลอง
งาน
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
55
จบการนาเสนอ
Intro. to com.
Data Structure/DataBase
56