5 นำเสนอ Tele ทันต 22_10_2557 - สสจ.ชัยภูมิ

Download Report

Transcript 5 นำเสนอ Tele ทันต 22_10_2557 - สสจ.ชัยภูมิ

1
ยุทธศาสตร์ ตัวชีว้ ัด และ แนวทางเก็บขอมูล
กระทรวงสาธารณสุข ปี งบประมาณ 2558
ที่เกี่ยวข้ องกับการจัดบริการสุขภาพช่ องปาก
สานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย
นโยบายการดาเนินงานของรั ฐมนตรี 10 นโยบาย
นโยบายส่วนที่เกี่ยวข้ องการจัดบริการสุขภาพช่องปาก 4 นโยบาย ดังนี ้
นโยบายที่ 1 โครงการเฉลิมพระเกียรติ์ : โครงการฟั นเทียมพระราชทาน
นโยบายที่ 2 พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพ่มการเข้ าถึงการบริการที่มี
คุณภาพอย่างทัว่ ถึง พัฒนาและดาเนินการทศวรรษแห่งการพัฒนาระบบ
บริการปฐมภูมิ : ขยายบริการทันตฯในรพ.สต. โครงการแก้ ปัญหาของ
พื ้นที่ โครงการส่งเสริมสุขภาพร่วมกับท้ องถิ่น
นโยบายที่ 3. สร้ างเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชากรไทย
ตลอดช่วงชีวิต โดยจัดทาแผนและร่วมดานินการในลักษณะบูรณาการ
นโยบายที่ 4 นโยบายที่ 5. พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการบุคลากรสุขภาพ :
การจัดทาแผนกาลังคนทันตบุคลกร เชื่อมโยงกับแผนการผลิตและแผน
ความต้ องการครุภณ
ั ฑ์ปี 2558-2560
ยุทธศาสตร์ ตัวชีว้ ัด ที่เกี่ยวข้ องการจัดบริการสุขภาพช่ องปาก
ยุทธศาสตร์ ท่ ี 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
1. กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย (0 - 5 ปี )
ระดับกระทรวง
1. อัตราส่วนการตายมารดาไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
2. ร้ อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพฒ
ั นาการสมวัย
ระดับเขต
1. MCH Board ระดับจังหวัด มีกลไกในการเฝ้าระวังและแก้ ปัญหา
สุขภาพอนามัยแม่และเด็ก
2. ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ ร้ อยละ 60
ศูนย์ เด็กเล็กคุณภาพ มีกระบวนการจัดบริ การที่ได้ มาตรฐาน 6
ด้ าน คือ ด้ านการเจริ ญเติบโต อนามัยช่องปากและการจัดอาหารถูก
หลักสุขาภิบาล ด้ านพัฒนาการและการเรี ยนรู้ตามช่วงวัย ด้ านการ
จัดสภาพแวดล้ อมภายในและภายนอก ด้ านการป้องกันและควบคุม
โรคติดต่อ ด้ านบุคลากรมีสขุ ภาพร่างกายและจิตใจที่ดีมีความรู้ใน
การเลี ้ยงดูเด็ก ด้ านการมีสว่ นร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน ท้ องถิ่น และ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง พร้ อมทังบรรลุ
้
ผลลัพธ์ที่ต้องการให้ บรรลุ 4 ข้ อ คือ
1) เด็กพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่าร้ อยละ 85 2) เด็กมีสว่ นสูง
ระดับดีและรูปร่างสมส่วนไม่น้อยกว่าร้ อยละ 70 3) เด็กมีฟันน ้านมผุ
ไม่เกิดร้ อยละ 55 หรื อ มีฟันน ้านมผุลดลงร้ อยละ 3 ในแต่ละปี
4) เด็กที่พฒ
ั นาการล่าช้ าทุกคนได้ รับการส่งต่อไปยังสถานบริ การ
กิจกรรมและการประเมินการดูแลสุขภาพช่ องปากในศูนย์ เด็ก
และ สุขภาพช่ องปากกลุ่มเด็กปฐมวัย ตอบเป้าหมาย Service plan ผุ
ไม่ เกินร้ อยละ 55
2.) กลุ่มเด็กวัยเรี ยน (5 – 14 ปี )
ระดับกระทรวง
1.เด็กนักเรี ยนเริ่มอ้ วนและอ้ วนไม่เกินร้ อยละ 10
2. อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรเด็กแสนคนจากการจมน ้าของเด็กไม่เกิน 6.5
ระดับเขตสุขภาพ
1.จานวนโรงเรี ยนที่เข้ าร่วมโครงการโรงเรี ยนส่งเสริมสุขภาพร้ อยละ 95
2. จานวนโรงเรี ยนที่ดาเนินกิจกรรมผ่านเกณฑ์ KPI ระดับจังหวัดทุกด้ านร้ อยละ
40
3.จานวนการเสียชีวิตจากการจมน ้าของเด็กลดลง ตามเกณฑ์ในแต่ละพื ้นที่
เสี่ยง
ระดับจังหวัด
1. โรงเรี ยนจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากและนักเรี ยนในโรงเรี ยนได้ รับ
บริการทันตกรรมป้องกัน รักษา ร้ อยละ 50
2.เด็กวัยเรี ยนมีสว่ นสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ร้ อยละ 70
3. เด็ก ป.1 ทุกคนได้ รับการตรวจวัดสายตาและการได้ ยิน โดยร้ อยละ 80
ของเด็กที่มีปัญหาได้ รับการช่วยเหลือแก้ ไข
4. จานวนการเสียชีวิตจากการจมน ้าของเด็กลดลงตามเกณฑ์ในแต่ละพื ้นที่
เสี่ยง
4.) กลุ่มวัยทางาน (15 – 59 ปี )
ส่ วนที่เกี่ยวข้ องกับการจัดบริการสุขภาพช่ องปาก คือ การตรวจช่ องปาก
ในผู้ป่วยเบาหวานความดัน ตามมาตรฐานกิจกรรมบริการของกรม
ควบคุมโรค
5.) กลุ่มผู้สูงอายุ (60 ปี ขึน้ ไป)
ส่ วนที่เกี่ยวข้ องกับการจัดบริการสุขภาพช่ องปาก คือ
- กิจกรรมส่ งเสริมสุขภาพช่ องปากในระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
(Long Term Care) ด้ านสุขภาพ
- โครงการเฉลิมพระเกียรติ/โครงการตามพระราชดาริ
ยุทธศาสตร์ ท่ ี 2 พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน
ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้ าถึงบริการได้
ด้ านระบบบริการปฐมภูมิ
KPI ระดับกระทรวง : ร้ อยละของอาเภอที่มี District Health System (DHS)ที่เชื่อมโยง
ระบบบริการปฐมภูมิกบั ชุมชนและท้ องถิ่นอย่างมีคณ
ุ ภาพ(ไม่น้อยกว่าร้ อยละ 80)
-มีแผน 10 เรื่ อง
-ผลสาเร็จ UCARE
KPI ระดับจังหวัด
1 สัดส่วนผู้ป่วยนอกผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ของ ศสม.และรพ.สต.
เทียบกับโรงพยาบาลแม่ข่ายและมีผลการควบคุมความดันโลหิตสูง เบาหวานดีขึ ้น
2 ร้ อยละการใช้ บริการของประชาชนในเขตรับผิดชอบใช้ บริการผู้ป่วยนอก (OPD)ที่หน่วย
บริการปฐมภูมิ 3 ร้ อยละศสม./รพ.สต.ที่มีการ Out reach service โดยแพทย์ออกไป
บริการเวชศาสตร์ ชมุ ชน และ 4 ร้ อยละของอาเภอที่สามารถจัดบริการได้ ตามแผน Service
plan ด้ านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ดาเนินการโดยกลไก DHS
1. สัดส่ วนผู้ป่วยนอกผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ของ
ศสม.และรพ.สต.เทียบกับโรงพยาบาลแม่ ข่ายและมีผลการควบคุม
ความดันโลหิตสูง เบาหวานดีขนึ ้ ส่ วนที่เกี่ยวข้ องกับการจัดบริการ
สุขภาพช่ องปาก คือ การตรวจช่ องปากในผู้ป่วยเบาหวานความดัน
ตามมาตรฐานกิจกรรมบริการของกรมควบคุมโรค
2 ร้ อยละการใช้ บริการของประชาชนในเขตรับผิดชอบใช้ บริการ
ผู้ป่วยนอก (OPD) ที่หน่ วยบริการปฐมภูมิ คือ
2. การจัดบริการสุขภาพช่ องปาก การให้ บริการส่ งเสริมทันตสุขภาพ
ทันตกรรมป้องกัน และ บริการทันตกรรมพืน้ ฐาน ทัง้ ในสถานบริการ
สุขภาพ และ นอกสถานบริการสุขภาพ ได้ ตามเกณฑ์ 5
กลุ่มเป้าหมาย 14 กิจกรรม
ผลงานบริการรวมทุกประเภทไม่ น้อยกว่ า 200 ครัง้ ต่ อ 1000
ประชากร
4 ร้ อยละของอาเภอที่สามารถจัดบริการได้ ตามแผน Service plan ด้ าน
ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ดาเนินการโดยกลไก DHS (งานบริการ
สุขภาพช่ องปาก เป็ นหนึ่งในสิบสาขาใน Service plan) ต้ องมีโครงการ
แก้ ปัญหาสุขภาพช่ องปากระดับอาเภอในกลุ่มเป้าหมายสาคัญอย่ าง
น้ อย 1 โครงการ ที่ใช้ กลไก DHS (ระบบเครือข่ ายสุขภาพช่ องปาก
ระดับอาเภอในรูปแบบนักจัดการปั ญหาสุขภาพช่ องปากระดับ
อาเภอ)
ด้ านระบบบริการทุตยิ ภูมิ และตติยภูมิ
KPI ระดับกระทรวง :
1. การส่งต่อผู้ป่วยออกนอกเขตสุขภาพลดลง
KPI ระดับเขตสุขภาพ :
1. รพ. (M2) มีแพทย์ผ้ เู ชี่ยวชาญสาขาหลักตามเกณฑ์ (เงือนไขหากไม่
มีแพทย์ผ้ เู ชี่ยวชาญอยูป่ ระจา ต้ องมีแพทย์หมุนเวียน)
2. ดัชนีผ้ ปู ่ วยใน (CMI) ของแต่ละระดับสถานบริการสุขภาพตาม
Service Plan ผ่านเกณฑ์ที กาหนด
3. โรงพยาบาลทุกระดับได้ รับการรับรองคุณภาพ HA
4. การพัฒนาระบบบริการ 1 0 สาขา ผ่านเกณฑ์ทีกาหนดในแต่ละ
สาขา
Template ที่ 9. สาขาสุขภาพช่ องปาก
KPI เพิ่มการเข้ าถึงบริการสุขภาพช่องปากของประชาชนทุกกลุม่ วัย ในหน่วย
บริการทุกระดับ ไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ ๒๐
2
แนวทางการบริหารงบบริการสร้ างเสริม
สุขภาพและป้องกันโรค ปี งบประมาณ 2558
ที่เกี่ยวข้ องการจัดบริการสุขภาพช่ องปาก
ค่ าใช้ จ่ายเพื่อบริการP&Pในระบบหลักประกันสุขภาพแห่ งชาติ
1. การตรวจและดูแลเพื่อส่ งเสริมสุขภาพของหญิงตัง้ ครรภ์
2. การตรวจและการบริบาลสุขภาพ พัฒนาการ และภาวะโภชนาการของ
เด็กและเยาวชน ตามแนวทางของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
และ/หรือแนวทางการตรวจสุขภาพของประชาชนชาวไทยซึ่งจัดทาโดย
แพทยสภา
3. การสร้ างเสริมภูมิค้ ุมกันโรคตามแผนงานการสร้ างเสริมภูมิค้ ุมกันโรค
ของประเทศ รวมทัง้ วัคซีนไข้ หวัดใหญ่
4. การตรวจคัดกรองเพื่อค้ นหาภาวะเสี่ยงต่ อการเสียสุขภาพและศักยภาพ
ที่เอือ้ อานวยต่ อการสร้ างเสริมสุขภาพสาหรับประชาชนทั่วไปและกลุ่ม
เสี่ยง ตามแนวทางการตรวจสุขภาพของประชาชนไทย ซึ่งจัดทาโดย
แพทยสภา/ราชวิทยาลัย
14
ค่าใช้จ่ายเพื่อบริ การP&Pในระบบหลักประกันสุ ขภาพแห่งชาติ
5. การวางแผนครอบครัว ตามแนวทางของกรมอนามัย กระทรวง
สาธารณสุข และหรือแนวทางการตรวจสุขภาพของประชาชนไทยซึ่ง
จัดทาโดยแพทยสภา
6. การให้ ยาต้ านไวรัสเอดส์ ป้องกันการแพร่ กระจายเชือ้ จากแม่ ส่ ูลูก
7. การเยี่ยมบ้ านและการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน
8. การให้ คาปรึกษาแนะนา การสร้ างเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
และการให้ ความรู้เพื่อสร้ างเสริมสุขภาพและป้องกันการเจ็บป่ วยแก่
ผู้รับบริการทัง้ ระดับบุคคลและครอบครัว ตลอดจนสนับสนุนให้
ประชาชนมีส่วนร่ วมในการสร้ างเสริมสุขภาพ
9. การสร้ างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่ องปาก
15
กรอบแนวคิดพืน
้ ฐานของหลักประกันสุขภาพถ ้วนหน ้า
ในการกาหนดแนวทางการบริหารกองทุน
1)
2)
3)
4)
ความเป็ นธรรมตาม Health Need ของประชาชน และ
พืน้ ที่ดาเนินการ
ประสิทธิผลและคุณภาพของผลงานบริการสาธารณสุข
การมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วนในการร่ วมดาเนินงาน
หลักประกันสุขภาพและการบริการสาธารณสุข
ประสิทธิภาพการบริหารค่ าใช้ จ่ายเพื่อบริการ
สาธารณสุข
16
งบประมาณPP ปี 58 ที่ได้รับจัดสรร
ปี 57
ปี 58
1. PP-capitation
383.61
383.61
2. UC pop (คน)
48,852,000
48,606,000
3. รวมงบประมาณ
18,740,115,720
18,645,747,660
4. Thai pop (คน)
64,871,000
65,104,000
288.88
286.40
5. PP ต่อ Thai pop
(ร่าง) สรุปการจัดสรรเงินแยกตามรายการ
วงเงินอ ัตรา
งบระด ับประทศ
(NPP+PPD)
้ ที่
งบระด ับพืน
(PPA +PPB+PPD)
งบกองทุน_อปท.
ปี 2557
ิ ธิ)
(บาท/ปชก.ทุกสท
ปี 2558
ิ ธิ)
(บาท/ปชก.ทุกสท
เพิม
่ +/
ลด-
288.88
286.40
-2.48
24.50
(23+1.5)
27
(26+1)
+2.50
219.38
(21.38+192+6)
214.40
(8+201.40+5)
- 4.98
45
45
-
หมายเหตุ งบ PPA_57 (21.38 บ/ปชก.) รวมงบคัดกรอง TSH & CA Cx (PPA_58 =8 บ./ปชก ไม่รวมงบ TSH & CA Cx)
18
Goal
ประชาชนมีคุณภาพชีวต
ิ ทีด
่ ี
คาใช
านสุ
ขภาพของ
่
้จายด
่
้
ครัวเรือนลดลง
ลดปัจจัยเสี่ ยงทางสุขภาพ อัตราป่วย อัตราตาย ทีเ่ ป็ นภาระโรคของประ
outcome
บริการ P&P ตามสิทธิประโยชน์
เด็ก 0-5 ปี
output
วัยทางาน(25-59ปี )
ผูสูงอายุ(60ปี )
เยาวชน-วัยรุน(13-24
ปี )
-- การป้องกันและควบคุม
่
-ดูแลสุขภาพทัว่ ไป/ช่องปาก ้
หญิงตัง้ ครรภและ
์
-ดู
แ
ลสุ
ขภาพทัว่ ไป/ช่องปาก
ความผิดปกติแตก
าเนิ
ด
ติ
ด
ตามการเจริ
ญ
เติ
บ
โต
่
เด็ก 6-12ปี
- การรับยา/วัคซีน
หลังคลอด - วัคซีนพืน้ ฐาน/ไขหวั
การรับยา/วัคซีน
-ดูแลสุขภาพช่องปาก - การอนามัยเจริญพันธ/
้ ดใหญ
่ ซีนพืน
-วั
ค
้
ฐาน/ไข
หวั
ด
ใหญ
์
้
่
- บริการANC คุณ- ภาพ
-การคัดกรองโรค/ปัจจัยเสี่ ยง
ตรวจติดตามการเจริญเติบโต/
- การรับยา/วัคซีน
สุขภาพทางเพศ
- ตรวจติดตามการเจริญเติบโต
- การดูแลหลังคลอด
พัฒนาการ
- การอนามัยเจริญพัน-ธ/์ การคัดกรองโรค/ปัจจัยเสี่ ยง - วัคซีน Flu
-ตรวจติดตามพัฒนาการ
สุขภาพทางเพศ
- วัคซีน Flu - ดูแลสุขภาพช่องปาก - ดูแลสุขภาพชองปาก
่
- วัคซีน Flu
- การคัดกรองโรค/ปัจจัยเสี่ ยง
สถานประกอบการ โรงเรียน
Input
ระบบ
บริการ
การดูแลตนเอง
(Self care)
บริการทางเลือก
ศูนยเด็
์ กเล็ก
บริการสาธารณสุข
(Health Promotion service)
หน่วยบริการ
บริการชุมชน
(Community service)
องคกรปกครองส
วนท้องถิน
่
์
่
(หน
วยบริ
ก
ารภาครั
ฐ
/
เอกชน
)
(NGO/Social enterprise) ่
กรอบแนวทางการบริหารงบ P&P ปี 2558
P&P
ิ ธิ 65.104 ล ้านคน)
(286.40 บาท x ปชก. ทุกสท
(ก)
NPP & Central
Procurement
(27 บาท/คน)
ี สมุดสุขภาพ
• วัคซน
• บริการปั ญหาระดับ
ประเทศ : TSH /
Thalassemia /
Child development
/ Teenage
pregnancy
• ไม่เกิน 1 บาทต่อคน
เป็ นค่าสนับสนุน
สง่ เสริมระบบ การ
กากับติดตาม/
ประเมินผล
งบทีไ่ ด ้รับ 383.61
บาท/คน
UC pop 48.606 คน
(ข)
P&P ในชุมชน
(45 บาท/คน)
(ค)
P&P basic services
(214.40 บาท/คน)
• บริหารแบบ global
budget ระดับเขต
สาหรับเขต 1-12
จัดสรรให ้กองทุน
ท ้องถิน
่ ทีม
่ ค
ี วาม
พร ้อม หากมีเงิน
เหลือให ้ ปรับเกลีย
่
เป็ น P&P basic
services โดย
ความเห็นชอบจาก
อปสข.
• สาหรับ สปสช.เขต
13 ซงึ่ ยังไม่ม ี
กองทุนฯท ้องถิน
่
ให ้ สปสช.จัดสรร
เป็ น P&P basic
services
1. บริหารแบบ global budget ระดับเขต โดยคานวณ GB ระดับเขตตามจานวน
ประชากรโครงสร ้างกลุม
่ อายุ ผลงานบริการ/อัตราความครอบคลุมบริการ
2. หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใชจ่้ าย ให ้เป็ นไปตามกรอบแนวทางและหลักเกณฑ์กลาง
และเพิม
่ เติมหลักเกณฑ์คา่ ใชจ่้ ายในระดับพืน
้ ทีไ่ ด ้โดยต ้องผ่านความเห็นชอบจาก
อปสข.
3.กรอบแนวทางและหลักเกณฑ์กลางการจ่ายค่าใชจ่้ าย มีดังนี้
1) ไม่น ้อยกว่า 20 บาทต่อคนจ่ายตามเกณฑ์คณ
ุ ภาพผลงานบริการ รวมกับเงิน
ปฐมภูมต
ิ ามเกณฑ์ QOF โดยจ่ายให ้หน่วยบริการ/สถานบริการ
2) ไม่เกิน 8 บาทต่อคน สาหรับบริการทีต
่ ้องการเร่งรัดการเข ้าถึงบริการหรือ
แก ้ปั ญหาพืน
้ ที่ ระดับเขต/จังหวัด ตามความจาเป็ นทางสุขภาพ โดยจ่ายให ้
หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงาน/องค์กร/ภาคประชาชน กรณีพน
ื้ ที่ สปสช.
เขต 13 กทม. ให ้สามารถปรับค่าใชจ่้ ายได ้มากกว่าทีก
่ าหนด โดยความ
เห็นชอบของ อปสข.
3) ไม่เกิน 5 บาทต่อคน สาหรับสนั บสนุนและสง่ เสริมระบบ การกากับติดตาม/
ประเมินผล ระดับเขต/จังหวัด/อาเภอ โดยจ่ายให ้หน่วยบริการ/สถานบริการ/
หน่วยงาน/องค์กร/ภาคประชาชน
4) สว่ นทีเ่ หลือ (ประมาณ 181.40 บาทต่อคน) จ่ายแบบเหมาจ่ายทีอ
่ าจปรับด ้วย
โครงสร ้างอายุ/ผลงานบริการ และ/หรือจ่ายตามรายการบริการ โดยจ่ายให ้ 20
หน่วยบริการ/สถานบริการ
สรุ ปสิ่ งที่แตกต่างของปี 57 และ 58
ปี 2557
ปี 2558
NPP
ี ไข ้หวัด
-เพิม
่ กลุม
่ เป้ าหมายวัคซน
ใหญ่ อีก 2 กลุม
่ คือ
1) หญิงตัง้ ครรภ์>4เดือน
2) เด็ก 6 เดือน-2 ปี
- งบสนับสนุนภายใต ้งบ PP_
สนับสนุน จานวน 1.5 บาท/ปชก.
PPA
- การแก ้ปั ญหาพืน
้ ที/่ นโยบาย
PP
สาคัญระดับประเทศ ระบุทศ
ิ ทาง
Basic
สนับสนุนองค์กรเอกชน/ภาค
service
ประชาชนดาเนินการหรือร่วม
ให ้บริการในกองทุนสุขภาพชุมชน
รวมทัง้ งบในระดับเขต/จังหวัดด ้วย
- จ่ายค่าตรวจคัดกรอง TSH & Pap
smear
 รวมงบทีม
่ ก
ี ารบริหารจัดการในระดับพืน
้ ทีไ่ ว ้ด ้วยกัน
(PPA+PPB+PP_สนับสนุน)
 บริหารวงเงินระดับเขต โดยสปสช.จัดสรรงบเป็ น
Global Budget ระดับเขต ตามจานวนประชากร
โครงสร ้างอายุ ผลงานบริการและหรืออัตราความ
ครอบคลุมบริการ ซงึ่ แนวทางการจ่ายแก่หน่วย
บริการ/หน่วยงานในพืน
้ ทีใ่ ห ้เป็ นอานาจของ อปสข.
ในการพิจารณา ภายใต ้กรอบแนวทางกลางที่ คกก.
หลักประกันฯกาหนด
 เขต/จังหวัดไม่ต ้องกันงบสาหรับการตามจ่าย
ค่าตรวจคัดกรอง TSH แทนหน่วยบริการ
PPB
-บริหารงบQPบูรณาการกับการบริหารงบ
QOFของระบบบริการปฐมภูม ิ
PP_ท ัน
-อยูภ
่ ายใต ้งบ PPB แต่ยังระบุวงเงิน
PP_
-จัดสรรเป็ นGlobal budget ระดับเขต
- จัดสรรงบสาหรับการสร ้างการมีสว่ นร่วมกับองค์กร
ปกครองสว่ นท ้องถิน
่ ออกเป็ นการเฉพาะ
(แยกจากงบบริการ PP_ระดับพืน
้ ที)่
- สปสช.เขต 13 กรุงเทพมหานคร ทีไ่ ม่มท
ี ้องถิน
่ ร่วม
ดาเนินการให ้ สปสช.ปรับงบไปรวมกับงบ PP Basic
ตกรรม
21
-เพิม
่ กลุม
่ เป้ าหมาย EPI อีก 2 กลุม
่ คือ
1) MMR/MR เข็มที2
่ ในเด็ก 2ปี ครึง่
2) dT ในกลุม
่ อายุ 20-50 ปี
- จ่ายค่าตรวจคัดกรอง TSH แทนหน่วยบริการ
้ 1 บ/ปชก.
- สนับสนุนและสง่ เสริมการจัดบริการ/M&E โดยใชงบ
PP_
กองทุน
ท้องถิน
่
งบ P&P ที่จ่ายตรงแก่หน่วยบริ การ ปี 2555-2558
2555
2556
2557
2558
(244.76
บ/ปชก.)
(232.36
บ/ปชก.)
(288.88
บ/ปชก.)
(286.40
บ/ปชก.)
PP Express
demand
Capitation
(55.40%)
PP Express
demand
Capitation
(50%)
PP Basic
services
Capitation
(60%)
PP Basic
service
Capitation
/Specific group
Specific group
(25%)
Specific group
(44.60%)
Workload
(25%)
Quality
Performa
nce
คิดเป็ น 61.53 %
ของงบ PP ทังหมด
้
คิดเป็ น 60.92%
ของงบ PP ทังหมด
้
Workload
(40%)
Workload
/Coverage
QOF
QOF
คิดเป็ น 66.46 %
ของงบ PP ทังหมด
้
คิดเป็ น 70.32 %
ของงบ PP ทังหมด
้
การบริหารจัดการงบบริการสร้ างเสริมสุขภาพ
ระดับประเทศ
ก.สาธารณสุข
สปสช.
Policy
Global budget
NPP
ระดับเขต/
จังหวัด
เขตบริการ
สุขภาพ
สปสช.เขต (อปสข.)
(214.40 + 45 บ/ปชก)
Service plan
KPI
สสจ.
PCU
PCU
PCU
45 บ/ปชก.
(NGO/Social
ที่เหลือจาก อปท.
CUP
ระดับอาเภอ
(DHS)
ที่เหลือจาก อปท.
บริการ
ทางเลือก
อปท.
enterprise)
การบริ หารงบบริ การ P&P ปี 2558
ส่ วนที่ (ก) บริการ P&P บริหารระดับประเทศ จานวน 27 บาท/ปชก.
Central
Procurement
(22.66 บ/ปชก.)
ี EPI
1.ค่าวัคซน
(เพิม
่ MR เด็ก 2 ปี ครึง่ และdT ในผู ้ใหญ่ อายุ 20-50 ปี )
ี &การจัดการวัคซน
ี ไข ้หวัดใหญ่
2.ค่าวัคซน
3.ค่าจัดพิมพ์สมุดบันทึกสุขภาพ
National priority
Programs
(4.34 บ/ปชก.)
ค่าบริการสร ้างเสริมสุขภาพและป้ องกันโรคทีเ่ ป็ นนโยบายและ
ความสาคัญระดับประเทศ
ี่ ง
• การตรวจยืนยันโรคโลหิตจางธาลัสซเี มียทุกขัน
้ ตอนในคูเ่ สย
• การตรวจคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนและการดูแล
ต่อเนือ
่ งในราย ทีต
่ รวจพบความผิดปกติ
• การป้ องกันและควบคุมการตัง้ ครรภ์ไม่พงึ ประสงค์ในวัยรุ่น
• การตรวจประเมินและดูแลพัฒนาการเด็ก
• โครงการแก ้ไขปั ญหาระดับประเทศ ทีผ
่ า่ นความเห็นชอบจาก
คณะอนุกรรมการ PP
• สนั บสนุนและสง่ เสริมระบบเพือ
่ การเข ้าถึงบริการ/คุณภาพบริการ
ส่ วนที่ (ข) P&P กองทุนท้องถิ่น 45 บาท/คน
เกณฑ์
การจ่าย
การสนับสนุน/
การจ่าย
บริการสร ้างเสริมสุขภาพและป้ องกันโรคทีด
่ าเนินการในชุมชน ใน
รูปแบบความร่วมมือกับองค์กรปกครองสว่ นท ้องถิน
่ ตามประกาศของ
คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยจัดสรรให ้กองทุน
หลักประกันสุขภาพในระดับท ้องถิน
่ หรือพืน
้ ที่ ทีม
่ ค
ี วามพร ้อมในการ
เข ้าร่วมดาเนินงาน และบริหารจัดการในระดับท ้องถิน
่ หรือพืน
้ ทีต
่ าม
เจตนารมณ์ แห่ง พรบ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545
มาตรา 18(8) และ (9) และมาตรา 47
-สปสช.จัดสรรวงเงินตามจานวนท ้องถิน
่ ทีม
่ อ
ี ยูใ่ นพืน
้ ทีใ่ ห ้ สปสช.
เขตดาเนินการ สาขาเขตเบิกจ่ายงบ 45 บาท/คน โอนให ้กองทุนฯ
และท ้องถิน
่ สมทบตามอัตราทีก
่ าหนด
-กรณีทม
ี่ งี บคงเหลือให ้พิจารณาดาเนินการตามการบริหารงบสว่ น
(ค) P&P Basic service
- สาหรับกรณีพน
ื้ ที่ สปสช.เขต 13 กรุงเทพมหานคร ซงึ่ ยังไม่มก
ี องทุน
หลักประกันสุขภาพในระดับท ้องถิน
่ ให ้ สปสช.จัดสรรเป็ นค่าใชจ่้ ายสว่ น
(ค) P&P Basic service
ส่ วนที่ (ค) P&P บริการพืน้ ฐาน 214.40 บาท/คน
(P&P basic services)
กรอบ
กิจกรรม
ิ ธิประโยชน์
• การบริการสร ้างเสริมสุขภาพและป้ องกันโรคตามสท
(รวมทันตกรรมสง่ เสริมป้ องกัน) ในทุกกลุม
่ วัย ทัง้ เชงิ รับและเชงิ รุก
• คุณภาพผลงานบริการ
• การบริการสร ้างเสริมสุขภาพและป้ องกันโรคเพือ
่ การแก ้ปั ญหาพืน
้ ที่
(รวมถึงพืน
้ ทีพ
่ เิ ศษ/กลุม
่ เป้ าหมายเฉพาะ)
อาทิ –การตรวจคัดกรองตาต ้อกระจก
-การจัดบริการเชงิ รุกเพือ
่ ให ้ผู ้ประกันตน/แรงงานนอกระบบ/คนชายขอบ
เข ้าถึงบริการ
ั พันธ์
-การป้ องกันและควบคุมโรคติดต่อทางเพศสม
-การจัดบริการเชงิ รุกหรือบริการเสริมเข ้าไปในพืน
้ ที/่ โรงเรียนหรือสถาน
ประกอบการ
-การสนั บสนุนภาคประชาชน/องค์กรเอกชนเพือ
่ จัดบริการสาหรับ คนชาย
ขอบหรือจัดบริการเสริมเพิม
่ เติมจากปกติ เป็ นต ้น
ทัง้ นีต
้ ้องเป็ นค่าบริการเพือ
่ ให ้กลุม
่ เป้ าหมายเข ้าถึงบริการ
• สนับสนุนและสง่ เสริมระบบ เพือ
่ ลดปั ญหา(gap) การเข ้าถึงบริการ/
คุณภาพบริการ รวมทัง้ การกากับติดตามและประเมินผล ระดับเขต/จังหวัด/
อาเภอ
ส่วนที่ (2) P&P บริ การพื้นฐาน 214.40 บาท/คน
(P&P basic services)
การบริหารจ ัดการ/การสน ับสนุน/การจ่าย
แนวทางการจ ัดสรร
(3.1) ไม่น ้อยกว่า
20 บาท/คน
บริหารวงเงินระดับเขต โดยสปสช.จัดสรรงบเป็ นGlobal Budget ระดับเขตตาม
จานวนประชากร โครงสร ้างอายุ ผลงานบริการและหรืออัตราความครอบคลุมบริการ
ทัง้ นีแ
้ นวทางการจ่ายแก่หน่วยบริการ/หน่วยงานในพืน
้ ทีใ่ ห ้เป็ นอานาจของ อปสข.ใน
การพิจารณา ภายใต ้กรอบแนวทางกลางที่ คกก.หลักประกันฯกาหนด
งบจ่ายตามเกณฑ์คณ
ุ ภาพและผลงานบริการปฐมภูม ิ (รวมกับงบปฐมภูม)ิ
เพือ
่ จ่ายให ้หน่วยบริการ/สถานบริการตามเกณฑ์คณ
ุ ภาพผลงานบริการ(QOF)
(3.2) ไม่เกิน 8
บาท/คน
สาหรับบริการทีต
่ ้องการเร่งรัดการเข ้าถึงบริการหรือแก ้ปั ญหาพืน
้ ที่ ระดับเขต/จังหวัด
ความจาเป็ นด ้านสุขภาพจัดสรรแก่หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงาน/องค์กร/
ภาคประชาชน
(3.3) ไม่เกิน 5
บาท/คน
สาหรับสนับสนุนและสง่ เสริมระบบ เพือ
่ ลดปั ญหา(gap) การเข ้าถึงบริการ/คุณภาพ
บริการ รวมทัง้ การกากับติดตามและประเมินผล ระดับเขต/จังหวัด/อาเภอ โดย
จัดสรรแก่หน่วยงาน/องค์กร/ภาคประชาชน ทัง้ นี้ ให ้กาหนดเป้ าหมายทีต
่ อบสนอง
การเข ้าถึงบริการ/คุณภาพบริการ
(3.4) สว่ นทีเ่ หลือ
(ประมาณ181.40
บาท/คน) จ่าย
แบบเหมาจ่าย
• จัดสรรในลักษณะเหมาจ่ายตามหัวประชากรและปรับด ้วยโครงสร ้างอายุ ผลงาน
บริการ และหรือจ่ายตามรายการบริการ โดยจัดสรรแก่หน่วยบริการ/สถานบริการทีร่ ่วม
ให ้บริการ ทัง้ นีภ
้ ายใต ้ตัวชวี้ ด
ั /เป้ าหมายทีก
่ าหนดร่วมกันในพืน
้ ที่
• งบสว่ นนีส
้ ามารถปรับเกลีย
่ ระหว่างหน่วยบริการภายในจังหวัด ภายใต ้การหารือ
ร่วมกันในระดับจังหวัด โดยสสจ./สปสข.เขต และเสนอต่อ อปสข.เพือ
่ พิจารณา
ทัง้ นีง้ บสว่ นนีจ
้ ะหักเงินเดือนก่อนจัดสรร
่ เสริมระบบบริการ P&P ระด ับเขต ปี 2558
แนวทางการใชง้ บสน ับสนุนและสง
เพือ
่ เป็ นค่าใชจ่้ าย
 การสนั บสนุนและสง่ เสริมการจัดบริการ
 การกากับติดตามและประเมินผล
ิ ธิภาพประสท
ิ ธิผล
 การมีข ้อมูลเชงิ ประจักษ์ เกีย
่ วกับประสท
การบริการ
 การพัฒนาระบบบริการปฐมภูม ิ
 การแพทย์แผนไทยเพือ
่ สร ้างเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค
 ระบบสุขภาพชุมชนเพือ
่ เพิม
่ การเข ้าถึงหรือคุณภาพบริการ
 การสนั บสนุนการมีสว่ นร่วมของภาคประชาชนหรือ
หน่วยงานภาคีทเี่ กีย
่ วข ้อง
28
แนวทางและเป้าหมายงบสน ับสนุนระบบบริการ P&P_ระด ับเขต ปี 2558
แผนงาน/โครงการ
กิจกรรม
1.การพัฒนาศักยภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
ในระดับท ้องถิน
่
• การพัฒนาศักยภาพ
บุคลากร
2. การป้ องกันและแก ้ไข
ปั ญหาการตัง้ ครรภ์ไม่พงึ
ประสงค์ในวัยรุน
่
• การพัฒนาเครือข่าย
ป้ องกันการยุตก
ิ าร
ตัง้ ครรภ์ทไี่ ม่ปลอดภัย
1) มีระบบ/กลไก เพือ
่
เพิม
่ การเข ้าถึงบริการ
ของประชาชน
3.การสง่ เสริมกลไก
• การสนับสนุนกลไกระดับ
สนับสนุนและติดตามสุขภาพ
เขต
่ งปาก
ชอ
• การพัฒนาศักยภาพ
4.การพัฒนาระบบ กลไก
เพือ
่ เพิม
่ การเข ้าถึงบริการ
ตามกลุม
่ วัย
• สง่ เสริม/สนับสนุนให ้เกิด
การพัฒนาระบบ กลไก
เพือ
่ การเข ้าถึงบริการ
5. การสนับสนุนหน่วยงานที่
เกีย
่ วข ้อง เพือ
่ บริหารจัดการ
และกากับติดตามการทางาน
ของหน่วยบริการ
• การสนับสนุน
• การกากับติดตาม
6.การสนับสนุนการพัฒนา
บริการเพือ
่ การเข ้าบริการ
ตามบริบทของพืน
้ ที.่
7....
เป้าหมาย
2) มีรป
ู แบบการจัดบริการ
ทีเ่ อือ
้ /สง่ เสริม การ
เข ้าถึงบริการของ
ประชาชนในพืน
้ ที่
พิเศษ (เขตเมือง/
ทุรกันดาร) หรือ
กลุม
่ เป้ าหมายเฉพาะ
่ กลุม
้
เชน
่ ผู ้ใชแรงงาน/
เกษตรกร ฯลฯ
3) มีบริการทางเลือก
เพือ
่ เพิม
่ การเข ้าถึง
บริการ
อย่างน้อย 3 เรือ
่ ง
29
การกากับติดตามผลการดาเนินงาน
ตามตัวชี ้วัดร่วม กสธ. และ สปสช.ชี ้วัด 19 ตัว
 กลุม่ มารดาและทารก
 กลุม่ ปฐมวัย
 กลุม่ วัยเรี ยน
 กลุม่ วัยทางาน
 กลุม่ สูงอายุ
 กลุม่ เป้าหมายเฉพาะ
4 ตัว
6 ตัว
4 ตัว
2 ตัว
2 ตัว
1 ตัว
มติคณะอนุกรรมการ P&P ครัง้ ที่ 11/56 เมือ
่ วันที่ 25 ธค.56
ตัวชีว้ ัดที่ กสธ. และ สปสช ร่ วมติดตามและประเมิน
กลุ่มมารดา
1. ร้ อยละหญิงตัง้ ครรภ์ ได้ รับการฝากครรภ์ ครัง้ แรกอายุครรภ์ น้อยกว่ า
หรือเท่ ากับ 12 สัปดาห์ ไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 60
2. ร้ อยละของหญิงตัง้ ครรภ์ ได้ รับการฝากครรภ์ ครบ 5 ครัง้ ตามเกณฑ์
ไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 60
3. ร้ อยละของหญิงหลังคลอดได้ รับการดูแลครบ 3 ครัง้ ตามเกณฑ์ ไม่
น้ อยกว่ าร้ อยละ 65
4. ร้ อยละของหญิงตัง้ ครรภ์ ได้ รับการตรวจสุขภาพช่ องปากไม่ น้อย
กว่ าร้ อยละ 90
กลุม่ 0-5 ปี
5 เด็กที่มีผลตรวจ TSH ผิดปกติได้ รับการติดตามเพื่อตรวจยืนยันไม่น้อยกว่าร้ อยละ
90
6. เด็ก 18 เดือน ได้ รับการตรวจพัฒนาการตามวัย (อาจบูรณาการตรวจช่องปาก) ไม่
น้ อยกว่าร้ อยละ 80
7. เด็ก 18 เดือนที่ได้ รับการตรวจพัฒนาการค้ นพบว่าพัฒนาการล่าช้ าไม่ต่ากว่าร้ อย
ละ10
8. เด็กอายุ ครบ 2 ปี ได้ รับวัคซีนครบทุกชนิดตามเกณฑ์(ยกเว้ น MMR) ไม่น้อยกว่า
ร้ อยละ 90
9. เด็กอายุครบ 1 ปี ได้ รับวัคซีน MMR ไม่น้อยกว่าร้ อยละ 95
10. ร้ อยละของเด็กต่ากว่า 3 ปี ได้ รับการทาฟลูออไรด์วานิชไม่น้อยกว่าร้ อยละ 50
ตัวชีว้ ัดที่ กสธ. และสปสช ร่ วมติดตามและประเมิน
กลุม่ วัยรุ่นและวัยทางาน
กลุม่ เด็กวัยเรี ยน
15. ประชาชนอายุ 35-59 ปี ได้ รับการ
11. เด็ก ป. 1 ได้ รับการตรวจช่ อง
คัดกรองเบาหวาน /ความดันไม่
ปาก ไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 85
น้
อ
ยกว่
า
ร้
อ
ยละ
90
12. เด็ก ป. 1 ได้ รับการเคลือบหลุมร่ อง
16. สตรี 30-60 ปี ได้ รับการตรวจคัด
ฟั นไม่น้อยกว่าร้ อยละ 30
กรองมะเร็งปากมดลูกอย่างน้ อย
13. จานวนเด็ก ป. 1 ได้ รับบริการ
1 ครัง้ ภายใน 5 ปี ไม่น้อยกว่าร้ อย
comprehensive care ไม่ น้อยกว่ า
ละ 80
ร้ อยละ 17 ของจานวนเด็ก ป. 1
ทัง้ หมดในพืน้ ที่
14. เด็ก 6-12 ปี อ้ วนไม่เกินร้ อยละ 15
ตัวชีว้ ัดที่ กสธ. และสปสช ร่ วมติดตามและประเมิน
กลุม่ ผู้สงู อายุ
กลุม่ เป้าหมายเฉพาะ
17. ผู้สงู อายุได้ รับการคัดกรอง
เบาหวาน&ความดันโลหิตสูง ไม่น้อย
กว่าร้ อยละ 90
18. ผู้สงู อายุได้ รับการคัดกรองในภาวะ
ผิดปกติ 3 กลุม่ ไม่น้อยกว่าร้ อยละ
30
19. การฉีดวัคซีนไข้ หวัดใหญ่ให้ กบั
กลุม่ เป้าหมายเฉพาะ(ผู้สงู อายุ
มากกว่า 65 ปี ผู้ป่วยโรคเรื อ้ รัง 7 โรค
หญิงมีครรภ์ อายุครรภ์ > 4 เดือน
เด็กอายุ 6 เดือน- 2 ปี ) ไม่น้อยกว่า
ร้ อยละ 25
ตัวชีว้ ัดระดับผลกระทบ ผลลัพธ์ และกระบวนการ ยึดตามที่ กสธ กาหนด
เฉพาะส่ วนที่เกี่ยวข้ องกับ สปสช.
3
โครงการจัดอบรมนักจัดการปั ญหา
สุขภาพช่ องปากระดับอาเภอและตาบล
ปี ๒๕๕๘
“ ทศวรรษแห่งการพัฒนาเครื อข่ายบริการสุขภาพ
ระดับอาเภอ District Health System ( DHS) /
ทศวรรษแห่ งการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ”
การบริหารงานผ่านคณะกรรมการภายใต้ แนวคิด
“การร่วมคิด ร่วมทา ร่วมแก้ ไขปั ญหา” ของทัง้
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.)
โรงพยาบาลชุมชน และสานักงานสาธารณสุขอาเภอ
วัตถุประสงค์ โครงการ
 เพื่อพัฒนาระบบบริ หารจัดการและสนับสนุนเครื อข่าย
บริ การสุขภาพช่องปากระดับอาเภอในระดับเขตและจังหวัด
 พัฒนาศักยภาพการดาเนินงาน “นักจัดการปั ญหาสุขภาพ
ช่องปากระดับอาเภอ”
 พัฒนาผลลัพธ์ของการแก้ ปัญหาสุขภาพช่องปากของ
เครื อข่ายบริ การสุขภาพช่องปากระดับอาเภอ
ผลผลิตที่คาดหวัง
ทันตบุคลากรผ่ านการอบรมตามเป้าหมาย และ มี
แผนแก้ ปัญหาสุขภาพช่ องปากระดับ Cup ไม่ น้อยกว่ า
ร้ อยละ 50
กระบวนการจัดอบรม
การอบรมทันตแพทย์ ท่ ใี น รพศ./รพท./รพช.ทุกแห่ งๆ ละ
1 คน แบ่ งเป็ น 4 ครั ง้ รอบ
ครั ง้ ที่ 1 วันที่ 3 – 5 พฤศจิกายน 2557
เขตบริ การสุขภาพที่ 4 และ ถ จานวน 150 คน โรงแรมทีเค.
พาเลซ กทม.
ครั ง้ ที่ 2
เขตบริการสุขภาพที่ 2 จานวน 98 คน และ เขตบริการ
สุขภาพที่ 3 จานวน 60 คน โรงแรมท็อปแลนด์ จังหวัด
พิษณุโลก
ครัง้ ที่ 3 ระหว่างวันที่ 2 – 4 ธันวาคม 2557
 เขตบริ การสุขภาพที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่ จานวน 130 คน
ประชุมโรงแรม จ.เชียงใหม่
 เขตบริ การสุขภาพที่ 8 จังหวัดอุดรธานี จานวน 80 คน ห้ อง
ประชุมโรงแรม จ.อุดรธานี
 เขตบริ การสุขภาพที่ 10 จังหวัดอุบลราชธานี จานวน 120 คน
ห้ องประชุมโรงแรม จ.อุบลราชธานี
ครัง้ ที่ 4 ระหว่างวันที่ 22 – 24 ธันวาคม 2557
เขตบริ การสุขภาพที่ 7 จังหวัดขอนแก่น จานวน 80 คน ห้ องประชุม
โรงแรม
กาหนดการจัดอบรม “นักจัดการปั ญหาสุขภาพช่ องปากระดับอาเภอ
และตาบล ปี ๒๕๕๘” หลักสูตร ๓ วัน
วันที่ ๑
๐๘.๔๕ – ๐๙.๐๐ น. พิธีเปิ ดการอบรม
๐๙.๐๐ – ๑๐.๓๐ น. มาตรการแก้ ปัญหาสุขภาพช่องปากตามกลุม่ วัย
๑๐.๓๐ – ๑๒.๐๐ น. บทบาทของ CUP manager และการบริหารจัดการ
การแก้ ปัญหาสุขภาพช่องปาก
๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน
๑๓.๐๐ – ๑๔.๓๐ น. การประเมินผลโครงการแก้ ปัญหาสุขภาพช่องปาก
๑๔.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. นาเสนอโครงการแก้ ปัญหาสุขภาพช่องปากของ
จังหวัด ๔ จังหวัด
(รอบที่ 1 ตัวแทนคือ : นนทบุรี ปทุมธานี ราชบุรี นครปฐม
รอบที่ ๒ ตัวแทนคือ : : พิษณุโลก อุตรดิตถ์ นครสวรรค์ พิจิตร)
วันที่ ๒
๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ประชุมกลุม่ ย่อยตามจานวนจังหวัด เพื่อพัฒนา
โครงการแก้ ปัญหาสุขภาพช่องปากระดับอาเภอ
๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน
๑๓.๐๐ – ๑๔.๓๐ น. นาเสนอโครงการแก้ ปัญหาสุขภาพช่องปากระดับ
อาเภอ เบื ้องต้ น
อภิปรายโดย ผู้แทนทันตแพทย์สาธารณสุขจังหวัด
๑๔.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. นาเสนอโครงการแก้ ปัญหาสุขภาพช่องปากระดับ
อาเภอ ครัง้ ที่ ๑
จานวน ๔ อาเภอ จากพื ้นที่ ๔ จังหวัด
วันที่ ๓
๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. นาเสนอโครงการแก้ ปัญหาสุขภาพช่องปากระดับ
อาเภอ ครัง้ ที่ ๒
จานวน ๖ อาเภอ จากพื ้นที่ ๖ จังหวัด
๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน
๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. ประชุมปรึกษาหารื อภายในเขตบริการสุขภาพ “เพื่อ
ขับเคลื่อนการแก้ ปัญหาสุขภาพช่องปากของพื ้นที่ (ระบบแผน ระบบ
งบประมาณ ระบบข้ อมูล และ ระบบกากับประเมินผล)”
รอบที่ ๑
ห้ องที่ ๑ เขตบริการสุขภาพที่ ๔ จานวน ๘ จังหวัด
ห้ องที่ ๒ เขตบริการสุขภาพที่ ๕ จานวน ๘ จังหวัด
รอบที่ ๒
ห้ องที่ ๑ เขตบริการสุขภาพที่ ๒ จานวน ๕ จังหวัด
ห้ องที่ ๒ เขตบริการสุขภาพที่ ๓ จานวน ๕ จังหวัด
หมายเหตุ
๑ รอบ ๓-๕ กาลัง set รายละเอียดกับทีมพื ้นที่
๒ เขตบริ การสุขภาพที่ 6 9 และ 11 กาลังประสานหา
งบประมาณในการจัดอบรม
๓ เขตบริ การสุขภาพที่ ๑๒ จัดอบรมแล้ วโดยงบเขตตาม
นโยบายท่านผู้ตรวจในปี ๒๕๕๗
การเตรียมความพร้ อมของทันตแพทย์ ก่อนเข้ าอบรม
 เตรี ยมข้ อมูลของสถานการณ์พื ้นที่ที่วิเคราะห์แล้ วว่า CUP
ท่านจะทาโครงการอะไร ในกลุม่ เป้าหมายอะไร และจะใช้
มาตรการขับเคลื่อนอย่างไร คาดหวังความสาเร็จที่ปี
25560 อย่างไร
 โครงการที่เคยทาที่ผ่านมาและผลการประเมินคร่าวว่า
สาเร็จหรื อมีปัญหาอุปสรรคอย่างไร
 นา notebook มาเพื่อประโยชน์ในการทาโครงการ
CUP ตนเอง
 ศูนย์อนามัยรวบรวมโครงการแก้ ปัญหา คัดเลือกเข้ า
Phase 2 เพื่อพัฒนาระบบประเมินผลโครงการแก้ ปัญหา
มีงบประมาณ จัดอบรม 2 รุ่น