การจัดการศึกษาของประเทศอินเดีย ระบบการศึกษา ระบบการศึกษาของอินเดียได้ รับการ วางรากฐานโดยประเทศอังกฤษสมัยเป็ น เมืองขึน้ เมื่อปี 1947 เมื่ออินเดียได้ รับเอกราช เมื่อปี 1968 ก็ยงั ยึดรู ปแบบตามอังกฤษ คือเป็ น 10+2+3 (ประถม-ม.ต้ น = 10ปี , ม.ปลาย 2

Download Report

Transcript การจัดการศึกษาของประเทศอินเดีย ระบบการศึกษา ระบบการศึกษาของอินเดียได้ รับการ วางรากฐานโดยประเทศอังกฤษสมัยเป็ น เมืองขึน้ เมื่อปี 1947 เมื่ออินเดียได้ รับเอกราช เมื่อปี 1968 ก็ยงั ยึดรู ปแบบตามอังกฤษ คือเป็ น 10+2+3 (ประถม-ม.ต้ น = 10ปี , ม.ปลาย 2

การจัดการศึกษาของประเทศอินเดีย
ระบบการศึกษา
ระบบการศึกษาของอินเดียได้ รับการ
วางรากฐานโดยประเทศอังกฤษสมัยเป็ น
เมืองขึน้ เมื่อปี 1947 เมื่ออินเดียได้ รับเอกราช
เมื่อปี 1968 ก็ยงั ยึดรู ปแบบตามอังกฤษ
คือเป็ น 10+2+3 (ประถม-ม.ต้ น = 10ปี ,
ม.ปลาย 2 ปี และมหาวิทยาลัย = 3 ปี )
วัตถุประสงค์ ทางการศึกษาของอินเดีย
คื อ การปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพของการศึ ก ษาตามสถาบัน
ต่ าง ๆ เพื่อที่ จะให้ประชากรของรั ฐ ไม่ ว่าจะอยู่ใ น
วรรณะใด เพศใด หรื อฐานะใดก็ตาม มี โอกาสได้
พั ฒ นาศั ก ยภาพของตนได้ อ ย่ า งเต็ ม ที่ ซึ่ งด้ า น
การศึ ก ษาในอิ น เดี ย ได้รั บ งบประมาณเป็ นอันดั บ 2
จากงบประมาณทั้งหมด
วัตถุประสงค์ ทางการศึกษาของอินเดีย
- การพัฒนาด้านร่ างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม
- การพัฒนาค่านิยมทางประชาธิปไตย จริ ยธรรมและศาสนา
- การสร้างสรรค์การรับรู้เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
สังคม เทคโนโลยี วัฒนธรรมและเศรษฐกิจ
- การเข้าใจสิ่ งแวดล้อมและทรัพยากร พลังงานที่มีจากัด
- ความรู้เกี่ยวกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เป็ นต้น
เป้ าหมายทั่วไปของการจัดการศึกษาของอินเดีย
หลักสู ตรโรงเรี ยนโดยรวมมีวตั ถุประสงค์เพื่อ ช่วยให้
ผูเ้ รี ยนได้เรี ยนรู้ เพื่อพัฒนาแนวคิ ด ทัศนคติ ค่ านิ ยม
และนิ สั ย ที่ เ อื้ อ ต่ อ การพัฒ นารอบด้า น บุ ค ลิ ก ภาพ
ความเป็ นจริ ง ในสั ง คม วัฒนธรรม เศรษฐกิ จและ
สิ่ งแวดล้อม ทั้งในระดับชาติและในระดับสากล
องค์ กรวางแผนการจัดการศึกษาของอินเดีย
ประเทศอิ น เดี ย มี อ งค์ ก รระดับ ชาติ ที่ มี บ ทบาทอัน ส าคัญ ในการ
วางแผนการศึ ก ษาหลายองค์ก ร คื อ สภาวิ จ ัย การศึ ก ษาและอบรม
แห่งชาติ (National Council of Educational
Research and Training - NCERT)
สถาบันการวางแผนการศึ กษาและการบริ หารแห่ งชาติ
(The
National
Institute
of
Educational
Planning and Administration -NIEPA) และ
คณะกรรมการจัดสรรงบประมาณแก่ มหาวิทยาลัย
(The
University Grants Commission - UGC)
การเปลีย่ นแปลงหลักสู ตรการศึกษา
นโยบายการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ก าหนดในปี 1986 โดยการ
อนุ ม ัติ จ ากรั ฐ สภา และมี ก ารปรั บ ปรุ ง เปลี่ ย นแปลงนโยบาย
ทางการศึ ก ษาใหม่ ใ นปี 1992 มี ก ารพั ฒ นาเทคโนโลยี
สารสนเทศ แผนปฏิ บ ัติ ก ารในประเทศ ในปี 1998 มี ก าร
ออกแบบพัฒนาหลักสู ตร โดยระบุเป้ าหมายและวัตถุประสงค์
ของแต่ละหลักสูตร มีการพัฒนาสื่ อการสอน สมรรถนะทีค่ าดว่า
จะเป็ น มีตวั บ่งชี้เฉพาะของทุกวิชา
โครงสร้ างพืน้ ฐานหลักสู ตร
วิชาที่เปิ ดสอน ในเกรด 1-10
1. ภาษา
2. คณิ ตศาสตร์
3. ศึกษาสิ่ งแวดล้อม
4. วิทยาศาสตร์
5. สังคมศึกษา
6. การงานอาชีพ
7. ศิลปศึกษา
8. สุ ขศึกษาและพลศึกษา
การศึกษาระดับต่ าง ๆ ของอินเดีย
1. ระดับอนุบาล (Kindergarten) เป็ นการศึกษาสาหรับ
เด็กที่มีอายุระหว่าง 3-5 ปี ซึ่ งไม่ใช่ภาคบังคับ
2. ระดับประถมศึกษา (Primary Education)
เป็ นการศึกษาภาคบังคับสาหรับเด็กที่มีอายุต่ากว่า 14 ปี
( grade 1 – 6 )
การศึกษาระดับต่ าง ๆ ของอินเดีย
3. ระดับมัธยมศึกษา (Secondary Education) แบ่งเป็ น 2 ระดับ
คือ มัธยมศึกษาตอนต้น (High School Education)สาหรับ
นักเรี ยนอายุระหว่าง 11 – 14 ปี หรื อ 11 – 15 ปี (grade 6-10)
หรื อ (grade
7-10)
เมื่ อ นัก เรี ยนสอบผ่านจะได้รั บ
Secondary School Certificate
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (High School Education)
สาหรับนักเรี ยนอายุ 16-17 ปี (grade 11-12) เมื่อนักเรี ยนสอบ
ผ่านจะได้รับ Senior School Certificate
การศึกษาระดับต่ าง ๆ ของอินเดีย
4. ระดับอาชีวศึกษา (Vocational Education)
การศึ กษาระดับนี้ จดั ขึ้ นสาหรั บผูท้ ี่ มีความ
ถนั ด ทางช่ า งฝี มื อ หรื อวิ ช าชี พ เฉพาะทาง
ซึ่ งไม่ ป ระสงค์ ห รื อไม่ ส ามารถศึ ก ษาต่ อ ใน
ระดับอุดมศึกษา มีท้ งั หลักสู ตรระยะสั้น 6-12
เดือน และหลักสูตรระยะยาว 2 -4 ปี
การศึกษาระดับต่ าง ๆ ของอินเดีย
5.
ระดับอุดมศึ กษา (Higher
Education)
มหาวิ ท ยาลั ย ในอิ น เดี ย เป็ นของรั ฐ ทั้ งสิ้ น แต่ ล ะ
มหาวิ ท ยาลัย ประกอบด้ว ย College มากมาย College
บางแห่ ง เป็ นของเอกชนซึ่ งอยู่ในความควบคุ มทั้งด้าน
หลัก สู ต รการศึ ก ษาและการสอบของมหาวิ ท ยาลัย
กล่าวคือเมื่อสิ้ นปี การศึกษามหาวิทยาลัยก็จะจัดสอบและ
มอบปริ ญญาบัตรแก่ผสู ้ อบได้
ปริญญาของอินเดีย
5.1 ระดับปริ ญญาตรี (Bachelor Degree) กาหนดระยะเวลาศึกษา
ไว้ 3 ปี
5.2 ระดับปริ ญญาโท (Master Degree) ประมาณ 2 ปี ยกเว้น
สาขาวิชาการศึกษาและพลศึกษา กาหนดระยะเวลาเพียง 1 ปี
5.3 ระดับ Master of Philosophy (M.PHIL) เป็ นการศึกษาระดับ
ก่อนปริ ญญาเอก กาหนดระยะเวลาไว้ 1 ปี
5.4 ระดับปริ ญญาเอก จะใช้เวลา 2- 3 ปี บางแห่ งกาหนดให้เรี ยน
Course Work และเขียน Thesis บางแห่ งให้ทา Research ตามหัวข้อที่
อาจารย์ที่ปรึ กษาอนุมตั ิให้ทาเท่านั้น
รูปแบบและโครงสร้ างการศึกษาของอินเดีย
ภาคการศึกษา
ภาคการศึกษาของโรงเรี ยนต่างๆ
ภาคแรก
ประมาณ เดือนเมษายน - เดือนกรกฎาคม
ภาคสอง ประมาณ เดือนสิ งหาคม - เดือนตุลาคม
ภาคสาม ประมาณเดือนตุลาคม - เดือนธันวาคม
ภาคการศึกษาของมหาวิทยาลัย
ภาคแรก
ประมาณ เดือนกรกฎาคม - เดือนธันวาคม
ภาคสอง
ประมาณ เดือนมกราคม – เดือนพฤษภาคม
การสนับสนุนทรัพยากร
ประเทศอินเดียใช้หลายวิธีในการพัฒนาการศึกษาให้มีประสิ ทธิภาพ
ให้การสนับสนุนการดาเนินงานของหลักสูตร
ตัวอย่ างเช่ น :
1. รัฐแจกเครื่องเขียน,แบบเรียนฟรี
2. ให้ การสนับสนุนการผลิตหนังสือโดยโรงเรียนหรือครู
3. ให้ เรียนฟรีถงึ อายุ 14 ปี
การกาหนดหลักสู ตร
- ในท้องถิ่นโรงเรี ยนจะออกแบบหลักสูตรที่สอดคล้อง
กับความต้องการและความสนใจของนักเรี ยนและ
ผูป้ กครอง
- ในระดับชาติ จะกาหนดหลักสูตรให้ทุกโรงเรี ยน
นาไปใช้
สรุปภาพรวมการศึกษาในอินเดีย
การจัดการศึกษาของอินเดียยังมีปัญหา โดยเฉพาะกับท้องถิ่นที่ยงั
ห่างไกลความเจริ ญ เพราะข้อจากัดทางเศรษฐกิจ ความแตกต่างระหว่าง
ชนชั้นที่มีมหาศาล และมีความแตกต่างทางชนชั้นวรรณะ กลุ่มชนที่ต่าง
เผ่าพันธุ์ วัฒนธรรม ภาษาท้องถิ่นมีมากกว่า 200 ภาษา ข้อจากัดเหล่านี้
เป็ นอุปสรรคต่อการพัฒนาการศึกษาเป็ นอย่างยิง่ อีกประการหนึ่งคือ
จานวนประชากรของอินเดียที่มีกว่า 1,000 ล้านคน ในขณะที่ทรัพยากร
ต่าง ๆ มีอยูอ่ ย่างจากัด