หน่ วยที่ 2 เรื่องเซลล์ ไฟฟ้า - (Electric Cell) สาระสาคัญ • การต่อเซลล์ไฟฟ้ าหมายถึง การนาเซลล์ไฟฟ้ ามาต่อเข้าด้วยกันโดย ปกติเซลล์ไฟฟ้ า เช่ น ถ่านไฟฉายจะมีค่า 1.5 โวลต์ วิธีการนาเอา เซลล์ ไ ฟฟ้ ามาต่ อ.

Download Report

Transcript หน่ วยที่ 2 เรื่องเซลล์ ไฟฟ้า - (Electric Cell) สาระสาคัญ • การต่อเซลล์ไฟฟ้ าหมายถึง การนาเซลล์ไฟฟ้ ามาต่อเข้าด้วยกันโดย ปกติเซลล์ไฟฟ้ า เช่ น ถ่านไฟฉายจะมีค่า 1.5 โวลต์ วิธีการนาเอา เซลล์ ไ ฟฟ้ ามาต่ อ.

หน่ วยที่ 2
เรื่องเซลล์ ไฟฟ้า
-
(Electric Cell)
สาระสาคัญ
• การต่อเซลล์ไฟฟ้ าหมายถึง การนาเซลล์ไฟฟ้ ามาต่อเข้าด้วยกันโดย
ปกติเซลล์ไฟฟ้ า เช่ น ถ่านไฟฉายจะมีค่า 1.5 โวลต์ วิธีการนาเอา
เซลล์ ไ ฟฟ้ ามาต่ อ รวมกั น เข้า จะท าให้ แ รงเคลื่ อ นไฟฟ้ า และ
กระแสไฟฟ้ าเปลี่ยนแปลงไปจากค่าเดิม มีวิธีการนาเซลล์ไฟฟ้ ามา
ต่อ 3 วิธี คือ การต่อแบบอนุกรม การต่อแบบขนาน และการต่อแบบ
ผสม
2.1 เซลล์ไฟฟ้ า
เซลล์ไฟฟ้ า (Electric Cell) เป็ นแหล่งจ่ายไฟฟ้ าชนิดหนึ่ง ไฟฟ้ าที่ได้
จากเซลล์ไฟฟ้ า (Electric Cell) จะเป็ นไฟฟ้ ากระแสตรง เช่น
ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ มีสญ
ั ลักษณ์ดงั รู ปที่ 2.1
a. Cell
b. Battery
รู ปที่ 2.1 สัญลักษณ์เซลล์ไฟฟ้ าและแบตเตอรี่
2.2 การต่อเซลล์ไฟฟ้ า
การต่อเซลล์ไฟฟ้ า หมายถึง การนาเซลล์ไฟฟ้ ามาต่อเข้าด้วยกันโดยปกติ
เซลล์ไฟฟ้ า เช่น ถ่านไฟฉายจะมีค่า 1.5 V วิธีการนาเอาเซลล์ไฟฟ้ ามาต่อ
รวมกันเข้า จะทาให้แรงเคลื่อนไฟฟ้ า และกระแสไฟฟ้ าเปลี่ยนแปลงไปจาก
ค่าเดิม มีวิธีการนาเซลล์ไฟฟ้ ามาต่อ 3 วิธี
2.2.1 การต่อแบบอนุกรม (Series Cell)
2.2.2 การต่อแบบขนาน (Parallel Cell)
2.2.3 การต่อแบบผสม (Series Cell - Parallel Cell)
(ต่อ) เซลล์ไฟฟ้ า
เซลล์ไฟฟ้ า (Electric Cell) หนึ่งเซลล์จะให้แรงดันไฟฟ้ า (Voltage)
และกระแสไฟฟ้ า (Current) ค่าหนึ่งคงที่
ถ้าโหลดต้องการใช้แรงดันไฟฟ้ า และกระแสไฟฟ้ า มากกว่าเซลล์
หนึ่งเซลล์จะจ่ายให้ได้ จึงต้องนาเซลล์ไฟฟ้ าหลาย ๆ เซลล์มาต่อเข้าด้วยกัน
(ตอ)
่
เซลลไฟฟ
้า
์
1) ถ้าโหลดต้องการแรงดันไฟฟ้ ามากกว่า เซลล์หนึ่งเซลล์จะจ่ายให้ได้
จะต้องนาเซลล์ไฟฟ้ านั้นมาต่อกันแบบอนุกรม (Series)
2) ถ้าโหลดต้องการกระแสมากขึ้น จะต้องนาเซลล์ไฟฟ้ ามาต่อแบบขนาน
(Parallel)
3) ถ้าโหลดต้องการทั้งแรงดันไฟฟ้ าและกระแสไฟฟ้ ามากกว่าเซลล์หนึ่ง
เซลล์จะจ่ายให้ได้จะต้องนาเซลล์ไฟฟ้ ามาต่อกันแบบผสม (Series Parallel)
2.3 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม
การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม (Series) คือการนาเอาเซลล์ไฟฟ้ า
มาต่อเรี ยงกันโดยนาขั้วของเซลล์ไฟฟ้ าที่มีข้ วั ต่างกันมาต่อเข้าด้วยกัน
แล้วนาเอาขั้วที่เหลือไปใช้งานในการที่จะนาเซลล์ไฟฟ้ ามาต่อกันแบบ
อนุ กรมควรเป็ นเซลล์ไฟฟ้ า ที่มีขนาดแรงดันไฟฟ้ าและกระแสไฟฟ้ า
เท่ ากัน ผลการต่ อ เซลล์แ บบอนุ ก รมจะท าให้ไ ด้แ รงดัน ไฟฟ้ ารวม
เพิ่มขึ้ น แต่ ก ระแสไฟฟ้ าจะไม่ เ พิ่ม กระแสไฟฟ้ ารวมของวงจรมี ค่า
เท่ากับ กระแสไฟฟ้ าของเซลล์ที่ต่าที่สุด
2.3 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม (ต่อ)
ก. รู ปการต่อเซลล์ไฟฟ้ า
ข. สัญลักษณ์
รู ปที่ 2.2 แสดงการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม
2.3 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม (ต่อ)
จากรู ปที่ 2.2 เป็ นการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม หากกาหนดให้เซลล์ไฟฟ้ า
1 เซลล์ มีแรงดันไฟฟ้ า 1.5 V กระแสไฟฟ้ า 500 mA จะทาให้ได้คุณสมบัติ
ของวงจรดังนี้
1) แรงดันไฟฟ้ าจะเพิ่มขึ้น
จากสูตร
ET = E1 + E2 + E3……….. + En
แทนค่า
ET = 1.5 + 1.5 + 1.5
ET = 4.5 V
2) กระแสไฟฟ้ าของวงจรจะเท่ากับ เซลล์ไฟฟ้ าที่มีกระแสไฟฟ้ าน้อยที่สุด
IT = 500 mA
2.4 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบขนาน (ต่อ)
คือการนาเอาขั้วของเซลล์ไฟฟ้ าแต่ละเซลล์ที่เหมื อนกันมาต่อเข้า
ด้วยกัน แล้วนาเอาขั้วของเซลล์ที่ต่อขนานไปใช้งาน การต่อเซลล์ไฟฟ้ า
แบบขนานเซลล์ ไ ฟฟ้ าแต่ ล ะเซลล์ต ้อ งมี ค่ า แรงดัน ไฟฟ้ าและความ
ต้านทานภายในเซลล์ไฟฟ้ าแต่ละเซลล์เท่ากัน การต่อแบบขนานผลก็คือ
แรงดันไฟฟ้ ารวมเท่ากับแรงเคลื่อนเคลื่อนเซลล์ที่ต่าสุ ด แต่กระแสไฟฟ้ า
รวมจะเพิ่มสูงขึ้น คือ เท่ากับกระแสทุกเซลล์รวมกันดังรู ปที่ 2.3
2.4 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบขนาน (ต่อ)
ก. รู ปการต่อเซลล์ไฟฟ้ า
ข. สัญลักษณ์
รู ปที่ 2.3 แสดงการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบขนาน
2.4 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบขนาน (ต่อ)
จากรู ปที่ 2.3 เป็ นการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบขนาน หากกาหนดให้เซลล์ไฟฟ้ า 1 เซลล์ มี
แรงดันไฟฟ้ า 1.5 V กระแสไฟฟ้ า 500 mA จะให้ได้คุณสมบัติของวงจรดังนี้
1) แรงดันไฟฟ้ าจะเท่าเดิมหรื อเท่ากับแรงดันไฟฟ้ าเซลล์ที่นอ้ ยที่สุด
แรงดันไฟฟ้ ารวม ET = 1.5 V
2) กระแสไฟฟ้ าจะเพิ่มสู งขึ้น
จากสูตร IT = I1 + I2 + I3 ……….+ In
แทนค่า IT = 500 mA + 500 mA + 500 mA
IT = 1500 mA หรื อ 1.5 A
2.5 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบผสม (ต่อ)
ในการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบผสม เซลล์ไฟฟ้ าแต่ละเซลล์ที่จะนามาต่อ
จะต้องมี แรงดันไฟฟ้ า,กระแสไฟฟ้ าและความต้านทานภายในเซลล์
เท่ากันทุกตัว การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบผสมจะมีการต่ออยู่ 2 วิธี คือ แบบ
อนุกรม - ขนาน และแบบขนาน - อนุกรม
2.5 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบผสม (ต่อ)
2.5.1 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม - ขนาน
ก. รู ปการต่อเซลล์ไฟฟ้ า
ข. สัญลักษณ์
รู ปที่ 2.4 แสดงการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม - ขนาน
2.5 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบผสม (ต่อ)
2.5.1 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม - ขนาน
รู ปที่ 2.4 เป็ นการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบผสม (อนุ กรม - ขนาน) ในการต่อ
เซลล์ลกั ษณะนี้ จะทาให้ท้ งั แรงดัน ไฟฟ้ าและกระแสไฟฟ้ าเพิ่ มขึ้ น หาก
กาหนดให้เซลล์ไฟฟ้ า 1 เซลล์ มีแรงดันไฟฟ้ า 1.5 V กระแสไฟฟ้ า 500 mA
จะทาให้ได้คุณสมบัติของวงจรดังนี้
1) แรงดันไฟฟ้ าจะเพิ่มขึ้น
จากสูตร ET = E1 + E2 + E3 หรื อ = E4 + E5 + E6
แทนค่า ET = 1.5 + 1.5 + 1.5
ET = 4.5 V
2.5 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบผสม (ต่อ)
2.5.1 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม - ขนาน
2) กระแสไฟฟ้ าจะเพิ่มสูงขึ้น
จากสูตร IT = I1 + I2
แทนค่า IT = 500 mA + 500 mA
IT = 1000 mA หรื อ 1 A
2.5 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบผสม (ต่อ)
2.5.2 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบขนาน - อนุกรม
ก. รู ปการต่อเซลล์ไฟฟ้ า
ข. สัญลักษณ์
รู ปที่ 2.5 แสดงการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบขนาน - อนุกรม
2.5 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบผสม (ต่อ)
2.5.2 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบขนาน - อนุกรม
รู ปที่ 2.5 เป็ นการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบผสม (ขนาน - อนุกรม) จะทาให้กระแสไฟฟ้ า
เพิม่ ขึ้นส่ วนแรงดันไฟฟ้ าเท่าเดิม ในการต่อเซลล์ลกั ษณะนี้ จะทาให้ได้ท้ งั กระแสไฟฟ้ า
และแรงดันไฟฟ้ าเพิ่มขึ้น หากกาหนดให้เซลล์ไฟฟ้ า 1 เซลล์ มีแรงดันไฟฟ้ า 1.5 V
กระแสไฟฟ้ า 500 mA จะทาให้ได้คุณสมบัติของวงจรดังนี้
การต่อเซลล์ไฟฟ้ า แบบผสม(ขนาน –อนุกรม)
1) กระแสไฟฟ้ าจะเพิ่มสู งขึ้น
จากสูตร IT = I1 + I2 + I3 หรื อ = I4 + I5 + I6
แทนค่า IT = 500 mA + 500 mA + 500 mA
IT = 1500 mA หรื อ 1.5 A
2.5 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบผสม (ต่อ)
2.5.2 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบขนาน - อนุกรม
2) แรงดันไฟฟ้ าจะเพิ่มขึ้น
จากสูตร ET = E1 + E2
แทนค่า ET = 1.5 + 1.5
ET = 3 V
2.5 การตอเซลล
ไฟฟ
่
้า
์
แบบผสม
(ตอ)
่ าแบบขนาน 2.5.2
การตอเซลลไฟฟ
อนุ กรม
2)
่
์
้
แรงดันไฟฟ้าจะเพิม
่ ขึน
้
จากสูตร ET = E1 + E2
แทนคา่
ET = 1.5 + 1.5
ET = 3 V
2.6 ข้อควรระวังในการใช้เซลล์ไฟฟ้ า
2.6.1 เปลี่ยนพร้อมกัน ทุกเซลล์ในคราวเดียวกัน ไม่ปะปนกัน
2.6.2 ปิ ดสวิตช์อุปกรณ์ทุกครั้งหลังการใช้งานอย่าเปิ ดค้างไว้โดยไม่จาเป็ น
2.6.3 ไม่ควรนาเซลล์ไฟฟ้ าหลายชนิ ดหรื อหลายยีห่ อ้ มาใช้ปะปนกัน
2.6.4 นาเซลล์ไฟฟ้ าออกจากอุปกรณ์ทุกครั้งหลังการใช้งาน
2.6.5 ตรวจสอบวิธีการใส่ เซลล์ไฟฟ้ า และขั้วให้ถกู ต้องเสมอ
2.6.6 ไม่แกะชิ้นส่ วนเซลล์ไฟฟ้ าออกมาเล่นและไม่ควรวางไว้ในที่ที่มี
อุณหภูมิสูง
• 2.6.7 หลีกเลี่ยงการทาให้เซลล์ไฟฟ้ าเกิดการช็อตกัน
• 2.6.8 ห้ามนาเซลล์ไฟฟ้ าที่ชาร์ ตไฟไม่ได้มาชาร์ ตไฟใหม่เพราะอาจเกิด
อันตรายได้
•
•
•
•
•
•
จบการ
นาเสนอ
โรงเรียนฐานเทคโนโลยี
โดย แผนกอิเล็กทรอนิกส์