การวัดมูลค่ายุติธรรม

Download Report

Transcript การวัดมูลค่ายุติธรรม

TFRS 13 การวัดมูลค่ายุติธรรม
แน่งน้ อย เจริญทวีทรัพย์
TFRS 13 เรื่อง การวัดมูลค่ายุติธรรม
เหตุผลในการจัดทามาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้
เพื่อเป็ นการรวบรวมความหมายของคาว่ามูลค่ายุติธรรมให้ อยู่ในที่
เดียวกัน และมีความชัดเจนเกี่ยวกับการเปิ ดเผยข้ อมูลเรื่องมูลค่า
ยุติธรรม และลาดับชั้นของการวัดมูลค่ายุติธรรม
จัดทาตาม
IFRS BV2013
วันถือปฏิบัติ: วันที่ 1 มกราคม 2558
2
TFRS 13
•
•
•
•
•
ขอบเขต และคำจำกัดควำม
กำรวัดมูลค่ ำยุตธิ รรม
ลำดับชัน้ ของมูลค่ ำยุตธิ รรม
เทคนิคกำรประเมินมูลค่ ำ
กำรเปิ ดเผยข้ อมูล
3
ขอบเขตและคำจำกัดควำม
• ให้ คำนิยำมและควำมหมำยของ FV
• เป็ นกำรกำหนดกรอบกำรวัด FV ให้ อยู่ในที่เดียวกัน
• ให้ มำใช้ ในกรณีมำตรฐำนกำรบัญชี หรือมำตรฐำนกำร
รำยงำนทำงกำรเงินฉบับอื่นกำหนดให้ วัดมูลค่ ำ หรื อให้ มี
กำรเปิ ดเผยข้ อมูล
• ให้ มีกำรเปิ ดเผยข้ อมูลเกี่ยวกับกำรวัด FV
4
ขอบเขต
TAS 40 TAS 41
In scope
TAS 2 TAS 36
TAS 17 TFRS 2
0ut of scopemeasurement and
disclosure
TAS 19 TAS 26 TAS 36
Measurement
requirements of TFRS
13 but not disclosures
5
Out of scope: measurement +
disclosures
• TAS 2 สินค้ ำคงเหลือ : มูลค่ ำสุทธิท่ จี ะได้ รับ (Net
realisable value)
• TAS 36 กำรด้ อยค่ ำของสินทรัพย์ : กำรวัดมูลค่ ำจำกกำรใช้
(value in use) โดยใช้ กำรคำนวณกระแสเงินสดที่คำดว่ ำจะ
ได้ รับคืนคิดลดเป็ นมูลค่ ำปั จจุบัน
• TAS 17 สัญญำเช่ ำ
• TFRS 2 กำรจ่ ำยโดยใช้ ห้ นุ เป็ นเกณฑ์
6
Out of scope: disclosures
Out of scope for disclosure requirement but
measurement requirement of TFRS 13
applies:
• TAS 19 สินทรัพย์ ของโครงกำรที่มีกำรวัดมูลค่ ำด้ วย FV
• TAS 26 เงินลงทุนในโครงกำรเกษียณอำยุท่ วี ัดมูลค่ ำด้ วย FV
• TAS 36 สินทรัพย์ ท่ มี ูลค่ ำที่คำดว่ ำจะได้ รับคืนวัดมูลค่ ำด้ วย
FV หักต้ นทุนกำรจำหน่ ำย
7
มูลค่ายุติธรรม ( Fair value)
• มูลค่ ำยุตธิ รรม เป็ นรำคำที่จะได้ รับจำกกำรขำย
สินทรัพย์ หรือจ่ ำยเพื่อโอนหนีส้ ิน ในรำยกำร
ปกติระหว่ ำงผู้ร่วมตลำด ณ วันที่วัดมูลค่ ำ
8
ความหมายของ FV
ใหม่
-รำคำที่จะรับจำกกำรขำย
สินทรัพย์ หรือจ่ ำยเพื่อโอน
หนีส้ ิน
-รำยกำรปกติ ( orderly
transaction)
-ระหว่ ำงผู้ร่วมตลำด
- ณ วันที่วัดมูลค่ ำ
เดิม
- จำนวนซึ่งสินทรัพย์ มีกำร
แลกเปลี่ยน และหนีส้ ินมี
กำรชำระ
-ระหว่ ำงผู้ท่ มี ีควำมรู้ และ
เต็มใจ
-ซึ่งไม่ เกี่ยวข้ องกัน
9
ความหมายของ FV
• มีกำรระบุ สินทรั พย์ ท่ มี ีกำรขำย หรื อ กำรโอนหนีส้ ิน
• มีกำรระบุว่ำเป็ นกำรวัดในรำยกำรปกติ (orderly
transactions) ระหว่ ำงผู้มีส่วนร่ วมในตลำดใน
ตลำดหลัก ซึ่งมิใช่ กำรบังคับขำย เดิมไม่ ชัดเจน
• รำคำโอนเป็ น exit price
• มีกำรระบุว่ำวัดมูลค่ ำ ณ วันใด
10
สิ นทรัพย์หรื อหนี้สิน
• กำรวัดมูลค่ ำเกี่ยวข้ องกับสินทรัพย์ หรือหนีส้ นิ ที่ระบุ
ดังนัน้ หำกลักษณะเหล่ ำนีผ้ ้ ูร่วมตลำดนำมำพิจำรณำกำร
กำหนดรำคำ หมำยถึงสถำนที่และข้ อจำกัด (หำกมี)ในกำร
ขำยหรือกำรใช้ ณ วันที่วัดมูลค่ ำ
• Unit of account กำรวัดอำจเป็ นแบบเอกเทศ
(stand alone) หรือ กลุ่มของสินทรัพย์ ท่ เี กี่ยวข้ อง
และหนีส้ ิน (ธุรกิจ) หน่ วยในกำรวัดมูลค่ ำจะสอดคล้ องกับ
มำตรฐำนกำรบัญชีอ่ นื
11
Unit of account
Examples
• Equity security
• Investment property
• Intangible asset
• Warranty liability
• OR a group of related assets and/or liabilities (
ie a business)
ผูร้ ่ วมตลาด ( market participants)
Independent
Knowledgeable
Able to enter
into the
transaction
Willing to enter
into the
transaction
Buyers or sellers
ในตลำดหลัก(
principal) หรื อตลำด
ที่ ให้ ประโยชน์ สูงสุด
(most
advantageous)
โดยมีข้อสมมติว่ำผู้ร่วมตลำด จะทำให้ เกิดประโยชน์ ทำงเศรษฐกิจที่ดีท่ สี ุด
ของตน (มูลค่ ำสูงสุดสำหรั บสินทรั พย์ และน้ อยสุดสำหรั บหนีส้ นิ )
13
ตลาดหลัก หรื อ ตลาดที่ให้ประโยชน์สูงสุ ด
ตลำดที่ให้ ประโยชน์ สูงสุด
• จำนวนเงินสูงสุดที่จะได้ รับจำกกำรขำย
สินทรัพย์ หรือน้ อยสุดจำกกำรโอน
หนีส้ ินพิจำรณำจำก transaction cost
and transportation cost
ตลำดหลัก
• มีปริมำณรำยกำร หรื อระดับของ
กิจกรรม ของสินทรั พย์ หรื อ
หนีส้ ิน มำกที่สุด
ไม่ รวมต้ นทุนกำรทำรำยกำร ( transaction cost )
แต่ รวมค่ ำขนส่ ง ( transport cost) เนื่องจำกเป็ นลักษณะ
ของสินทรัพย์ หรือหนีส้ ิน
14
ตัวอย่าง ตลาดหลักหรื อตลาดที่ให้ประโยชน์สูงสุ ด
สำหรับผู้ผลิตถั่วเหลืองในประเทศไทยสมมติว่ำมีตลำดสองแห่ ง
ดังนี ้
• ตลำดส่ งออก รำคำจะสูงแต่ มีข้อจำกัดในปริมำณส่ งออก
เนื่องจำกรัฐบำลจะจัดสรรโควตำให้
• ตลำดในประเทศ รำคำจะต่ำกว่ ำแต่ ไม่ มีข้อจำกัดเรื่องปริมำณ
ผู้ผลิตต้ องกำรขำยทัง้ หมดส่ งออก โดยส่ วนที่เหลือขำยใน
ประเทศ
คำถำม ตลำดใดที่ควรนำมำใช้ ในกำรกำหนด FV
15
ตัวอย่าง ตลาดหลัก หรื อตลาดที่ให้ประโยชน์สูงสุ ด
สมมติว่ำผู้ค้ำรำยหนึ่งในประเทศไทยสำมำรถเข้ ำถึงตลำด SingaporeและHong Kong
และปกติมีกำรซือ้ ขำยในตลำด Singapore โดยข้ อมูลในตลำด Hong Kong ซึ่งมีกำร
ซือ้ ขำยปริมำณสูงเป็ นดังนี ้
Singapore Hong Kong
• Unit price
50
52
• Transaction cost
2
6
• Transport cost
4
4
• Net proceeds
44
42
• Fair value
46
48
ตลำดหลัก คือ HK และตลำดที่ให้ ประโยชน์ สูงสุดคือ Singapore
16
ความสามารถในการเข้ าถึงตลาด
( market accessibility)
• ต้ องเป็ นตลำดที่กจิ กำรสำมำรถเข้ ำถึงได้ ณ วันที่วัด
มูลค่ ำ
• เนื่องจำกกิจกำรที่แตกต่ ำงกันอำจสำมำรถเข้ ำถึง
ตลำดที่แตกต่ ำงกัน ตลำดหลักหรื อตลำดที่ให้
ประโยชน์ สูงสุดจึงแตกต่ ำงกันแต่ ละกิจกำร
17
No observable market
• หำกไม่ มีตลำดที่สังเกตได้ สำหรับสินทรัพย์ หรือหนีส้ ิน เช่ น
สำหรับสินทรัพย์ ไม่ มีตวั ตน ในกรณีนีฝ้ ่ ำยบริหำรต้ องระบุ
ถึงผู้ร่วมตลำดที่เป็ นไปได้ (เช่ นผู้ซอื ้ ที่เป็ น strategic
and financial buyers) และพัฒนำตลำดสมมติ
จำกข้ อสมมติของผู้ร่วมตลำดเหล่ ำนี ้
• นักลงทุน strategic เหล่ ำนีป้ กติจะอยู่ในอุตสำหกรรม
เดียวกันหรือเหมือนกัน ส่ วนนักลงทุนด้ ำนกำรเงินจะเป็ น
กองทุนส่ วนบุคคล
18
Exit price bid/ ask prices
• TFRS 13 ให้ ใช้ รำคำ exit price
• หำกสินทรัพย์ หรือหนีส้ ิน วัดในมูลค่ ำยุตธิ รรม และมีรำคำ bid
and ask prices ให้ ใช้ รำคำระหว่ ำง bid- ask spread ที่
เป็ นตัวแทนมำกที่สุดของมูลค่ ำยุตธิ รรม
• เดิมกิจกำรอำจใช้ รำคำ bid price สำหรับสินทรัพย์ และ ask
price สำหรับ หนีส้ ิน
19
Restriction on the sale or use of asset
ตัวอย่ ำง กิจกำรถือตรำสำรทุน ซึ่งมีข้อจำกัดกำรขำยเป็ น
ระยะเวลำหนึ่งปี ดังนัน้ ลักษณะของตรำสำรทุนที่ต้องกำร
ประเมินมูลค่ ำจะมีกำรโอนไปยังผู้ร่วมตลำด
กำรวัดมูลค่ ำใช้ เกณฑ์ ของรำคำที่เสนอของสินทรัพย์ ท่ ี
เหมือนกันซึ่งมีกำรซือ้ ขำยในตลำดและนำมำปรับปรุ งด้ วย
ปั จจัยในเรื่องข้ อจำกัดในกำรโอน คือระยะเวลำหนึ่งปี
และปั จจัยเฉพำะที่เกี่ยวข้ องกับผู้ออกตรำสำร
20
กำรวัดมูลค่ ำยุตธิ รรม
21
การวัดมูลค่าสิ นทรัพย์ที่มิใช่สินทรัพย์ทางการเงิน
Highest and best use
พิจำรณำลักษณะของสินทรัพย์
• ทำงกำยภำพ physically possible
• เงื่อนไขทำงกฎหมำย legally possible
• ทำงกำรเงิน financially possible
กำรใช้ ให้ เกิดประโยชน์ สูงสุดและดีท่ สี ุดอำจจะมิใช่ ใน
สภำพปั จจุปัน
อำจใช้ ร่วมกับสินทรัพย์ อ่ นื หรือเป็ นกำรใช้ แบบเอกเทศ
22
ตัวอย่ าง การวัดมูลค่ าสิ นทรัพย์ ทมี่ ใิ ช่ สินทรัพย์ ทางการเงิน
• กิจกำรได้ ท่ ดี นิ มำจำกกำรซือ้ ธุรกิจโดยเป็ นกำรใช้ สำหรับ
โรงงำนผลิต อย่ ำงไรก็ดีเนื่องจำกบริเวณใกล้ เคียงส่ วน
ใหญ่ ได้ นำไปก่ อสร้ ำงเป็ น อำคำรสูงพักอำศัย
• กำรใช้ เกณฑ์ highest and best use จะพิจำรณำ
จำกมูลค่ ำสูงสุดซึ่งเป็ นมูลค่ ำจำกกำรใช้ ก่อสร้ ำงเป็ น
อำคำรสูงพักอำศัย ถึงแม้ ว่ำกิจกำรมิได้ เป็ นสภำพกำรใช้
ปั จจุบนั หรือมิใช่ เป็ นเจตนำของกิจกำร
23
Highest and best use
On a stand alone or in combination with other
assets and /or liabilities assuming that market
participants would have other assets
เครื่องจักร ใช้ รำคำที่สังเกตได้ ของครื่องจักรที่คล้ ำยคลึงกัน (ซึ่ง
ยังไม่ ตดิ ตัง้ หรือมีกำรปรับเพื่อนำมำใช้ ) ปรับด้ วยค่ ำขนส่ งหรือค่ ำ
ติดตัง้ เพื่อให้ สะท้ อนถึง FV ของเครื่องจักรตำมสภำพที่เป็ นอยู่
ในปั จจุปัน
สินค้ ำระหว่ ำงผลิต ซึ่งมีลักษณะพิเศษ สมมติว่ำผู้ร่วมตลำดจะมี
หรือได้ มำซึ่งเครื่องจักรเพื่อใช้ ในกำรผลิตจนเป็ นสินค้ ำสำเร็จรูป
24
การวัดมูลค่ าหนีส้ ิ น(หนีส้ ิ นทางการเงินและที่มิใช่ หนีส้ ิ น
ทางการเงิน) และตราสารทุน
ใช้ รำคำ quoted price ของสินทรั พย์ ท่ ีถือ
โดยบุคคลอื่นที่เหมือนกัน
Level 1 no
adjustment
Note 1 ใช้ ข้อมูลที่สงั เกตได้ มาก
ที่สดุ ซึง่ รวมข้ อมูลตลาด (ราคาและ
ข้ อมูลอื่น)
Use valuation technique
ใช้ ข้อมูลที่สังเกตได้ และสังเกตไม่ ได้
ใช้ ข้อมูลที่สังเกตได้
Level 2 (note 1)
ใช้ ข้อมูลที่สังเกตไม่ ได้ ท่ ีสำคัญ
Level 3
25
การวัดมูลค่าหนี้สิน และตราสารทุน
• ตลำดที่สังเกตได้ ของหนีส้ ิน และตรำสำรทุนจะมี
น้ อยกว่ ำสินทรั พย์ รำคำที่เสนอส่ วนใหญ่ เป็ นตลำด
ของผู้ถือตรำสำรมำกกว่ ำจะเป็ นด้ ำนของผู้ออกตรำ
สำร จึงนำรำคำ FV จำกมุมมองของผู้ถือสินทรั พย์
มำใช้ โดยสมมติว่ำรำคำเท่ ำกันหำกตลำดมี
ประสิทธิภำพ
26
หนี้สินซึ่งมิได้ถือโดยบุคคลอื่นเป็ นสิ นทรัพย์
• เช่ น ค่ ำรือ้ ถอน อำจใช้ เทคนิคกำรประเมินมูลค่ ำ โดยพิจำรณำ
กระแสเงินสดในอนำคตที่ผ้ ูร่วมตลำดคำดว่ ำจะเกิดขึน้ ในกำร
จ่ ำยชำระภำระผูกพัน รวมกำรชดเชยที่ต้องกำรในกำรเข้ ำ
รับภำระหนีส้ ินนัน้
สำหรับ Present value calculations ควรพิจำรณำ
กำรคำดกำรณ์ ของผู้ร่วมตลำด ต้ นทุนในกำรปฎิบัตติ ำมสัญญำ
และค่ ำชดเชยที่ต้องกำร ซึ่งรวมถึง ผลตอบแทนจำกกำรเข้ ำ
รับภำระหนีส้ ิน และ ควำมเสี่ยงเกี่ยวข้ องกับภำระผูกพัน คือ
กระแสเงินสดอำจแตกต่ ำงจำกที่คำดกำรณ์
27
ลำดับชัน้ ของมูลค่ ำยุตธิ รรม
28
ลาดับชั้นของการวัดมูลค่ายุติธรรม (FV hierarchy)
Level 1 input
Level 2 input
Level 3 input
Observable input
Highest priority
No adjustment
-Quoted price
- most reliable
- no adjustment
-no consideration for
block volume
29
-Quoted price for
similar assets or
liabilities inactive
market
-Quoted price for
identical or similar
assets or liabilities in a
non active market
-Use other observable
input (ie interest rate ,
yield curve , input is
collaborated from
observable market
Lowest priority
Unobservable
input
- little market
activities
-Use available
information( entity
own data)
-Use available
information to develop
MP assumptions
Level 2 input
• ตัวอย่ ำง อำคำรซึ่งกิจกำรถือไว้ ใช้
Level 2 input คือรำคำต่ อตำรำงเมตรของอำคำร ซึ่งได้ มำ
จำกข้ อมูล ตลำดซึ่งสังเกตได้ เป็ นอำคำรซึ่งเปรี ยบเทียบกันได้
(คล้ ำยหรื อเหมือนกัน) ในสถำนที่เหมือนกัน
ตัวอย่ ำง สัญญำสิทธิบัตร
กิจกำรได้ สิทธิบัตรมำจำกกำรซือ้ ธุรกิจ level 2 input อำจ
เป็ นอัตรำค่ ำ royalty ในสัญญำที่ผ้ ูถูกซือ้ มีกำรเจรจำกับลูกค้ ำ
30
ตัวอย่าง การปรับปรุ งขนาดการถือครอง
กิจกำรถือหุ้นทุนซึ่งมีกำรซือ้ ขำยในตลำดหลักทรัพย์ หำก
กิจกำรขำยหุ้นที่ถือทัง้ หมดในตลำดในครำวเดียว ปริมำณ
กำรซือ้ ขำยในตลำดปกติอำจไม่ สำมำรถรองรับได้ และทำ
ให้ กิจกำรได้ รับจำนวนที่ต่ำลง กิจกำรควรปรับ FV เพื่อ
สะท้ อนสิ่งนีห้ รือไม่
คำตอบ ไม่ หน่ วยกำรวัดทำงบัญชีคือหุ้นหนึ่งหน่ วย ดังนัน้
ต้ องใช้ รำคำที่เสนอต่ อหน่ วยคูณด้ วยปริมำณที่ถอื ครอง
31
การวัดมูลค่ายุติธรรม ( FV measurement)
• มูลค่ ำยุตธิ รรม เป็ นรำคำที่จะได้ รับจำกกำรขำย
สินทรั พย์ หรื อจ่ ำยเพื่อโอนหนีส้ ิน สำหรั บรำยกำร
ปกติในตลำดหลัก (หรื อตลำดที่ให้ ประโยชน์ สูงสุด )
ณ วันที่วัดมูลค่ ำ ภำยใต้ เงื่อนไขของตลำดปั จจุบัน
โดยไม่ คำนึงว่ ำรำคำจะสังเกตได้ โดยตรง หรื อกำร
ประมำณโดยใช้ เทคนิคกำรประเมินมูลค่ ำ
32
เทคนิคกำรประเมินมูลค่ ำ
33
เทคนิคการประเมินมูลค่ า ( valuation technique)
วิธีตลำด ข้ อมูลได้ มำจำกตลำดสำหรั บ
สินทรั พย์ หรื อหนีส้ ินที่เหมือนกัน
( market approach)
วิธีรำคำทุน ใช้ รำคำเปลี่ยนแทน
(cost approach)
34
วิธีรำยได้ แปลงกระแสเงินสดคิดลดเป็ น
มูลค่ ำปั จจุปัน
( income approach)
เลือกใช้ เทคนิคกำร
ประเมินมูลค่ ำที่
เหมำะสม พิจำรณำจำก
ข้ อมูลที่มีอยู่อย่ ำง
เพียงพอ
-ใช้ ข้อมูลที่สังเกตได้ ให้
มำกที่สุด
- อำจใช้ แบบเดียวหรื อ
หลำยแบบ
วิธีรายได้ ( Income approach)
• Present value techniques
• Multi –period excess earning method
• Option pricing model , Black – ScholesMerton formulae and Binomial Models
35
Present value techniques – key
elements ( B 13 of TFRS 13)
• ประมำณกำรกระแสเงินสดในอนำคต
• กำรคำดกำรณ์ กำรผันแปรในจำนวนเงินและเวลำของกระแสเงินสด
• Risk –free rate for monetary asset ซึ่งมีวันครบอำยุซ่ ึง
เหมือนกับกระแสเงินสด โดยไม่ มีควำมเสี่ยงจำกกำรผิดนัด
• Risk premium จำกควำมไม่ แน่ นอนและกำรไม่ มีสภำพคล่ อง
• ปั จจัยอื่นซึ่งผู้ร่วมตลำดจะนำมำพิจำรณำ
• สำหรับหนีส้ ิน ควำมเสี่ยงจำกกำรไม่ ชำระ รวมควำมเสี่ยงด้ ำนเครดิต
ของกิจกำร
36
Cost approach
• ควรนำมำใช้ เมื่อแนวทำงอื่นไม่ สำมำรถทำได้ หรื อ
ให้ ผลไม่ สมเหตุผล
ใช้ รำคำเปลี่ยนแทนของสินทรั พย์ ซ่ ึงเหมือนกัน
นำมำปรั บด้ วยอำยุกำรใช้ งำน และกำรเสื่อมสภำพ
คิดค่ ำเสื่อมรำคำจำกรำคำเปลี่ยนแทน
37
กำรเปิ ดเผยข้ อมูล
38
การเปิ ดเผยข้อมูล
• ข้ อมูลเกี่ยวกับลำดับชัน้ ของมูลค่ ำยุตธิ รรม
• กำรโอนระหว่ ำง ระดับ 1 และ 2
• วิธีกำรวัดมูลค่ ำและข้ อมูลที่ใช้ ในกำรวัดมูลค่ ำยุตธิ รรม และกำร
เปลี่ยนแปลงเทคนิคกำรประเมินมูลค่ ำ
• กำรเปิ ดเผยข้ อมูลเพิ่มเติมสำหรับระดับ 3 โดยรวมรำยกำรดังนี ้
-กำรกระทบยอด ต้ นงวดและปลำยงวด
- ข้ อมูลเชิงปริมำณเกี่ยวกับข้ อมูลที่สังเกตไม่ ได้ และข้ อสมมติท่ ใี ช้
-กำรอธิบำยถึงกระบวนกำรประเมินมูลค่ ำ (valuation process)
-ข้ อมูลเชิงคุณภำพ เกี่ยวกับกำรอ่ อนไหวของกำรประเมินมูลค่ ำ
39
การเปิ ดเผยข้อมูล
• ควำมอ่ อนไหวของกำรประเมินมูลค่ ำ
คำอธิบำยบรรยำยเกี่ยวกับควำมอ่ อนไหวหำกมี
กำรเปลี่ยนแปลงข้ อมูลที่สังเกตไม่ ได้ และ
ควำมสัมพันธ์ ของระหว่ ำงข้ อมูลที่ใช้ ซึ่งมีผลกระทบ
ต่ อกำรวัดมูลค่ ำกำรวิเครำะห์ เชิงปริมำณสำหรั บ
เครื่ องมือทำงกำรเงิน
40
สรุ ปประเด็นการเปลี่ยนแปลง
• ให้ คาจากัดความแตกต่างจากเดิม โดยให้ พิจารณาผู้
ร่วมตลาด ณ วันที่วัดมูลค่า โดยระบุว่าเป็ นรายการ
ปกติ
• มีการกาหนดลาดับชั้นการวัดมูลค่ายุติธรรมเป็ น 3
ระดับ
• อธิบายถึงเทคนิคในการประเมินมูลค่าหลายแบบ
• ให้ แนวทางการเปิ ดเผยข้ อมูล
41
สรุ ปประเด็นการเปลี่ยนแปลง
ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อรายงานทางการเงิน
• ทาให้ ต้องมีการระบุข้อมูลเกี่ยวกับลาดับชั้นของ การวัด
มูลค่ายุติธรรม และวิธกี ารวัด ข้ อมูลที่นามาใช้ และการ
เปลี่ยนแปลงในเทคนิคการประเมินมูลค่า
• การเปิ ดเผยเพิ่มเติมในกรณีของระดับสามของลาดับชั้นการ
วัดมูลค่ายุติธรรม การกระทบยอดเปลี่ยนแปลง
• มีความชัดเจนมากขึ้นในการวัดมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์
ที่มิใช่สนิ ทรัพย์ทางการเงิน หนี้สนิ และตราสารทุน
42