บทที่ 4 การบริหารขอบเขตงานโครงการ

Download Report

Transcript บทที่ 4 การบริหารขอบเขตงานโครงการ

บทที่ 4
การบริหารขอบเขตงานโครงการ
(Project Scope Management)
ขอบเขตงาน (Scope)
• ปั จจัยนีจ
้ าเป็ นต ้องถูกคานึงถึงก่อนปั จจัยอืน
่ ๆ
เนือ
่ งจากเป็ นปั จจัยทีจ
่ ะแสดงภาพรวมและ
ั พันธ์ของปั จจัย
ความสม
• การกาหนดขอบเขตงานของโครงการ เป็ น
ั ซอนกิ
้
กิจกรรมทีม
่ ค
ี วามยุง่ ยากซบ
จกรรมหนึง่ ใน
โครงการ การกาหนดขอบเขตงานของโครงการ
ิ ธิภาพอาจมีผลทาให ้การวางแผน
อย่างไร ้ประสท
รวมถึงการดาเนินงานตามแผนเกิดความ
ี ทีร่ ้ายแรง
ผิดพลาดได ้ง่าย และก่อให ้เกิดผลเสย
ตามมาต่อปั จจัยหลักอืน
่ ๆ ทีเ่ หลืออยู่ คือ ปั จจัย
ขอบเขตงาน (Scope)
• “ขอบเขตงาน (Scope)” หมายถึง กิจกรรมหรือ
งานทัง้ หมดและขัน
้ ตอนต่างๆ ทีเ่ กีย
่ วข ้องกับการ
ิ ค ้าหรือบริการของโครงการ
ผลิตสน
• การบริหารจัดการโครงการทุกๆ โครงการจาเป็ น
อย่างยิง่ ทีจ
่ ะต ้องประกอบด ้วยการกาหนด
ั เจน
ขอบเขตงานของโครงการทีช
่ ด
การบริหารขอบเขตงานโครงการ
(Project scope management)
้
• ประกอบไปด ้วยขัน
้ ตอนต่างๆ ทีใ่ ชในการก
าหนด
และควบคุมสว่ นประกอบทีค
่ วรมีและทีไ่ ม่ควรมี
ในโครงการ
• ขอบเขตงานชว่ ยให ้ทีมงานโครงการและบุคคล
ิ ค ้า
อืน
่ ๆ ทีเ่ กีย
่ วข ้องสามารถเข ้าใจตรงกันว่า สน
หรือบริการทีโ่ ครงการผลิตขึน
้ จะมีลักษณะ
ิ ค ้าหรือบริการที่
อย่างไรและขัน
้ ตอนการผลิตสน
ทีมงานโครงการจะดาเนินการนัน
้ จะมีลักษณะ
่ กัน
อย่างไรเชน
การบริหารขอบเขตงานโครงการ
(Project scope management)
ประกอบด ้วยขัน
้ ตอนหลักๆ 5 ขัน
้ ตอน คือ
1.
2.
3.
4.
5.
การเริม
่ ต ้น (Initiation)
การวางแผนขอบเขตงาน (Scope planning)
การนิยามขอบเขตงาน (Scope definition)
การตรวจสอบขอบเขตงาน (Scope verification)
การควบคุมการเปลีย
่ นแปลงขอบเขตงาน (Scope
change control)
การเริม
่ ต ้น (Initiation)
การเริม
่ ต ้น (Initiation) ประกอบด ้วยการตกลงยอมรับกับ
องค์กรทีจ
่ ะเริม
่ ต ้นโครงการหรือดาเนินการระยะโครงการถัดไป
ผลทีจ
่ ะได ้รับจากขัน
้ ตอนนี้ คือ สัญญาโครงการ (Project
charter) ทีถ
่ อ
ื เป็ นเอกสารหลักฐานสาคัญ เพือ
่ แสดงว่า
โครงการดังกล่าวได ้เกิดขึน
้ แล ้วอย่างเป็ นทางการ พร ้อมทัง้
ข ้อมูลคร่าวๆ เกีย
่ วกับโครงการ
ส่วนประกอบสาค ัญของสัญญาโครงการ คือ
ื่ โครงการและวันทีไ่ ด ้รับอนุญาตให ้เริม
ชอ
่ ดาเนินโครงการ
ื่ ผู ้จัดการโครงการและข ้อมูลทีใ่ ชในการติ
้
ชอ
ดต่อ
ั ้ ๆ เกีย
คาอธิบายสน
่ วกับวัตถุประสงค์ของโครงการ
สรุปขัน
้ ตอนทีว่ างไว ้ในการบริหารโครงการ
บทบาทและหน ้าทีค
่ วามรับผิดชอบของบุคคลทีเ่ กีย
่ วข ้องกับ
โครงการ
ื่ ของบุคคลสาคัญในโครงการ
– ลายมือชอ
– ข ้อเสนอแนะสาคัญๆ เกีย
่ วกับโครงการจากบุคคลทีเ่ กีย
่ วข ้อง
–
–
–
–
–
การวางแผนขอบเขตงาน (Scope
Planning)
• จะเกีย
่ วข ้องกับการจัดทาเอกสารเพือ
่ รวบรวม
หลักเกณฑ์ทจ
ี่ าเป็ นสาหรับใชช้ ว่ ยในการ
ิ ใจเกีย
ตัดสน
่ วกับโครงการในอนาคต ซงึ่ ได ้แก่
ิ ว่า โครงการ
หลักเกณฑ์ทใี่ ชช้ ว่ ยในการตัดสน
ิ้ สมบูรณ์ลงแล ้ว
หรือระยะโครงการได ้เสร็จสน
หรือยัง ผลทีค
่ วรจะได ้รับจากขัน
้ ตอนนีจ
้ ะเป็ น
ี้ จงเกีย
คาชแ
่ วกับขอบเขตงาน (Scope
้ ้างและยืนยัน
statement) ซงึ่ เป็ นเอกสารทีใ่ ชสร
ความเข ้าใจทีถ
่ ก
ู ต ้องตรงกันเกีย
่ วกับขอบเขต
งานโครงการ เอกสารนีจ
้ ะอธิบายกิจกรรมหรือ
การวางแผนขอบเขตงาน (Scope
Planning)
ี้ จงเกีย
สว่ นประกอบหลักของคาชแ
่ วกับขอบเขตงาน
(Scope statement) ได ้แก่
– หลักการและเหตุผลสาหรับโครงการทีอ
่ ธิบายถึงความ
จาเป็ นทางธุรกิจทีท
่ าให ้เกิดโครงการดังกล่าวขึน
้
ั ้ ๆ เกีย
ิ ค ้าหรือบริการของโครงการ
– คาอธิบายสน
่ วกับสน
่ คุณสมบัต ิ เป็ นต ้น
เชน
– สรุปโดยย่อเกีย
่ วกับสว่ นประกอบต่างๆ ทีจ
่ ะได ้รับจาก
โครงการ
– แผนการบริหารขอบเขตงานโครงการทีก
่ าหนดผลสาเร็จ
ของโครงการ ซงึ่ แนะนาหลักเกณฑ์ตา่ งๆ ทีส
่ ามารถวัดได ้
ี้ าโครงการไปสูค
่ วามสาเร็จ เชน
่ ต ้นทุน ตารางเวลา
และชน
และการประเมินคุณภาพ เป็ นต ้น
– การอ ้างอิงเอกสารทีเ่ ป็ นประโยชน์ตอ
่ การสนับสนุน
ิ ค ้า
ขอบเขตงานโครงการ ได ้แก่ คุณสมบัตเิ ฉพาะของสน
หรือบริการ แผนผังองค์กร รายละเอียดของวิธก
ี าร และ
การวางแผนขอบเขตงาน (Scope
Planning)
ี้ จงเกีย
• คาชแ
่ วกับขอบเขตงานอาจจะปรับเปลีย
่ นได ้ตาม
ชนิดของโครงการ และควรจะปรับแต่งให ้เหมาะสมกับ
ความต ้องการของโครงการแต่ละโครงการไป
• โครงการด ้านเทคโนโลยีสารสนเทศทีม
่ ข
ี นาดใหญ่และ
ั ซอน
้ จะมีคาชแ
ี้ จงเกีย
ซบ
่ วกับขอบเขตงานทีม
่ เี นือ
้ หามาก
และยาว
• โครงการด ้านเทคโนโลยีสารสนเทศทีม
่ ข
ี นาดเล็กกว่า จะ
ี้ จงเกีย
ั ้ กว่า
มีคาชแ
่ วกับขอบเขตงานทีม
่ เี นือ
้ หาน ้อยและสน
• โครงการด ้านเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงาน
ั เจนหรือมี
ราชการ หรือหน่วยงานทีต
่ ้องการความชด
ี้ จง
กฎระเบียบควบคุมอย่างเข ้มงวดเคร่งครัด คาชแ
ี้ จง
เกีย
่ วกับขอบเขตงานควรจะถูกจัดทาในรูปของ คาชแ
เกีย
่ วกับงาน (Statement of Work – SOW) ซงึ่ บางครัง้
การนิยามขอบเขตงาน (Scope
Definition)
• การนิยามขอบเขตงาน (Scope definition) เป็ นการแบ่ง
งานหลักๆ ในโครงการให ้ย่อยลงจนสามารถมองเห็น
รายละเอียดได ้ว่าจะต ้องทาอะไรบ ้าง ซงึ่ โดยทัว่ ไปแล ้ว
ทีมงานโครงการมักจะจัดทารายละเอียดเหล่านีใ้ ห ้อยูใ่ น
รูปของโครงสร ้างกิจกรรมย่อย (Work breakdown
structure หรือ WBS)
• โครงสร ้างกิจกรรมย่อย (WBS) เป็ นการจัดกลุม
่ กิจกรรมที่
อยูใ่ นโครงการทัง้ หมดเพือ
่ แสดงให ้เห็นขอบเขตงาน
โครงการทัง้ หมด ในขัน
้ ตอนของการจัดทา WBS นัน
้
กิจกรรมต่างๆ ทีจ
่ าเป็ นทีจ
่ ะต ้องทาในโครงการจะถูก
แบ่งย่อยให ้เล็กลง จนกระทัง่ สามารถแสดงให ้เห็นอย่าง
ั เจนได ้เลยว่า ทีมงานโครงการจะต ้องทาอะไรบ ้างใน
ชด
แต่ละกิจกรรมย่อยเหล่านัน
้ และจะทากิจกรรมย่อย
เหล่านัน
้ อย่างไร ยกตัวอย่างดังรูปที่ 3.3 ซงึ่ แสดงให ้เห็น
ว่า โครงการพัฒนาระบบปฏิบต
ั ก
ิ ารของ Microsoft
้
่
คาชีแจงเกี
ยวก
ับงาน
(Statement of Work – SOW)
้
่
คาชีแจงเกี
ยวกั
บงาน (Statement of Work – SOW)
่
ชือโครงการ
(Project Name):
จัดทาโดย (Prepared by):
วันที่ (Date):
ขอบเขตงาน (Scope of Work):
อธิบายรายละเอียดของงานทีจ
่ ะทา พร ้อมทัง้ ระบุอป
ุ กรณ์และโปรแกรมทีจ
่ ะต ้องใช ้ โดยการบรรยายให ้เห็นภาพ
ั เจนเกีย
ทีช
่ ด
่ วกับงานนัน
้ ๆ
่ างาน (Location of Work):
สถานทีท
อธิบายถึงสถานทีท
่ งี่ านนัน
้ ๆ จะเกิดขึน
้ สถานทีข
่ องอุปกรณ์และโปรแกรมทีจ
่ ะต ้องใช ้ รวมถึงสถานทีท
่ ท
ี่ ม
ี งาน
โครงการจะต ้องทางาน
ระยะเวลาดาเนิ นงาน (Period of Performance):
ระบุเวลาทีไ่ ด ้คาดการณ์ไว ้ว่า งานนัน
้ ๆ จะเริม
่ ต ้นและแล ้วเสร็จ ชวั่ โมงการทางาน จานวนเวลาการทางาน
ทัง้ หมด และข ้อมูลเกีย
่ วกับตารางการทางานทีเ่ กีย
่ วข ้อง
กาหนดเวลาการส่งงาน (Deliverables Schedule):
กาหนดรายการสงิ่ ทีจ
่ ะต ้องสง่ มอบทัง้ หมด พร ้อมการอธิบายรายละเอียดของแต่ละรายการ และวันทีท
่ แ
ี่ ต่ละ
รายการจะครบกาหนด
่ องใช้ (Applicable Standards):
หลักเกณฑ ์หรือมาตรฐานทีต้
ระบุหลักเกณฑ์หรือมาตรฐานของกิจการหรืออุตสาหกรรมทีเ่ กีย
่ วข ้องกับการดาเนินงานนัน
้ ๆ
่
เงือนไขการส่
งมอบงาน (Acceptance Criteria):
อธิบายถึงเงือ
่ นไขทีก
่ จิ การลูกค ้าจะยอมรับงานนัน
้ ๆ
่
ข้อกาหนดเพิมเติ
ม (Special Requirements):
(Statement of Work – SOW)
• ตัวอย่างสว่ นของ WBS สาหรับโครงการพัฒนา
ระบบปฏิบัตก
ิ าร Windows XP
(Statement of Work – SOW)
ิ้ หนึง่ ในการ
• WBS ถือเป็ นเอกสารเบือ
้ งต ้นชน
บริหารจัดการโครงการ เนือ
่ งจากเอกสาร
ดังกล่าวจะแสดงหลักเกณฑ์ในการวางแผนและ
การบริหารจัดการตารางเวลา ต ้นทุน ทรัพยากร
และเหตุการณ์ทเี่ ปลีย
่ นแปลงไปของโครงการ
ิ ธิภาพควรจะแสดงกิจกรรมที่
• WBS ทีด
่ ม
ี ป
ี ระสท
จาเป็ นต ้องทาทัง้ หมดของโครงการ กิจกรรมใด
ทีไ่ ม่จาเป็ นต่อการดาเนินโครงการไม่ควรถูก
แสดงไว ้ใน WBS นี้
วิธก
ี ารสร ้างโครงสร ้างกิจกรรมย่อย
(WBS)
1. วิธก
ี ารใช้คาแนะนา (Using guidelines)
ซงึ่ วิธน
ี จ
ี้ ะเป็ นการสร ้าง WBS ตามแนวทาง หรือ
คาแนะนาเกีย
่ วกับการดาเนินโครงการหรือการ
ทากิจกรรมทีม
่ อ
ี ยูแ
่ ล ้ว บางครัง้ กิจการหรือ
องค์กรขนาดใหญ่จะมีแนวทางและรูปแบบที่
ั เจนในการสร ้าง WBS เพือ
ชด
่ ให ้ผู ้ทีจ
่ ะมาประมูล
้ น
หรือเสนอตัวเข ้ารับทาโครงการได ้ใชเป็
แนวทางในการกาหนดโครงร่างของโครงการ ใน
่ นี้ จึงถือเป็ นสงิ่ ทีห
กรณีเชน
่ ลีกเลีย
่ งไม่ได ้และ
สาคัญมากที่ WBS ทีถ
่ ก
ู จัดทาขึน
้ จะต ้องเป็ นไป
ตามแนวทางเดียวกับคาแนะนาทีก
่ จิ การหรือ
วิธก
ี ารสร ้างโครงสร ้างกิจกรรมย่อย
(WBS)
2. วิธก
ี ารเปรียบเทียบ (Analogy approach)
ั ข ้อมูลหรือ WBS ของโครงการที่
โดยการอาศย
เคยทามาแล ้ว และมีลักษณะคล ้ายคลึงกับ
โครงการทีก
่ าลังพิจารณาอยู่ เพือ
่ เป็ นจุดเริม
่ ต ้น
ในการสร ้าง WBS สาหรับโครงการปั จจุบน
ั การ
้ อให ้เกิดประโยชน์ในแง่ของการ
นาวิธน
ี ม
ี้ าใชจะก่
ประหยัดทรัพยากรต่างๆ ทีเ่ กีย
่ วข ้องได ้บางสว่ น
่ เวลา ค่าใชจ่้ าย และบุคลากร เป็ นต ้น
เชน
วิธก
ี ารสร ้างโครงสร ้างกิจกรรมย่อย
(WBS)
3. วิธก
ี ารสร ้างจากบนลงล่าง (Top-down
approach) การใชวิ้ ธน
ี เี้ พือ
่ สร ้าง WBS จะเริม
่ ต ้นจาก
การกาหนดกิจกรรมหรืองานอย่างกว ้างๆ และมี
ขนาดใหญ่ทส
ี่ ด
ุ ก่อน แล ้วจึงแบ่งกิจกรรมดังกล่าว
ออกเป็ นกิจกรรมย่อย ทีม
่ ข
ี อบเขตอยูภ
่ ายใต ้
กิจกรรมใหญ่อก
ี ทีหนึง่ กระบวนการแตกกิจกรรมใน
ลักษณะนีจ
้ ะชว่ ยให ้มั่นใจได ้ว่า กิจกรรมทีว่ างไว ้
ตามแผนโครงการได ้ถูกกลัน
่ กรองในรายละเอียด
และแจกแจงให ้มีขนาดทีเ่ ล็กลงและพร ้อมทีจ
่ ะ
ั เจนในระดับทีต
ดาเนินการได ้อย่างชด
่ า่ ลงไป วิธน
ี ี้
้
เหมาะทีจ
่ ะนามาใชในการสร
้าง WBS สาหรับ
โครงการทีผ
่ ู ้จัดการโครงการเป็ นผู ้ทีม
่ ค
ี วามรู ้
วิธก
ี ารสร ้างโครงสร ้างกิจกรรมย่อย
(WBS)
้
4. วิธก
ี ารสร ้างจากล่างขึนบน
(Bottom-up
ิ ในทีมงานโครงการ
approach) สาหรับวิธน
ี ี้ สมาชก
ิ ใน
จะมีบทบาทมาก โดยเริม
่ จากการทีส
่ มาชก
ทีมงานจะชว่ ยกันกาหนดกิจกรรมหรืองานทีจ
่ าเป็ น
ทีจ
่ ะต ้องทาในโครงการให ้เฉพาะเจาะจง และมี
จานวนมากทีส
่ ด
ุ เท่าทีจ
่ ะเป็ นไปได ้ กิจกรรมทีเ่ ป็ น
ผลลัพธ์ซงึ่ มักจะมีขนาดเล็กจะถูกจัดรวบรวมเป็ น
ั เจน ตามหมวดกิจกรรมในระดับทีส
กลุม
่ ทีช
่ ด
่ งู ขึน
้
ี ทีเ่ ห็นได ้ชด
ั ของวิธน
อีกทีหนึง่ ข ้อเสย
ี ก
ี้ ็คอ
ื ทีมงาน
ี เวลาจานวนมากไปกับการ
โครงการจะต ้องสูญเสย
สร ้าง WBS อย่างไรก็ตาม วิธน
ี ถ
ี้ อ
ื ว่าเป็ นวิธก
ี ารสร ้าง
ิ ธิภาพมากวิธห
WBS ทีม
่ ป
ี ระสท
ี นึง่ โดยทัว่ ไปแล ้ว
วิธน
ี ม
ี้ ักจะถูกนามาใชกั้ บโครงการทางเทคโนโลยี
ิ ค ้า
สารสนเทศทีเ่ กีย
่ วกับการสร ้าง หรือพัฒนาสน
วิธก
ี ารสร ้างโครงสร ้างกิจกรรมย่อย
(WBS)
5. วิธก
ี ารวางแผนจากความคิด (Mind-mapping
approach) ซงึ่ เป็ นเทคนิคทีแ
่ สดงการแตกความคิด
หลักออกเป็ นกิง่ ก ้านสาขาทีส
่ ร ้างความคิดย่อยๆ ที่
ั พันธ์กน
สม
ั วิธก
ี ารนีจ
้ ะเปิ ดโอกาสให ้ทีมงาน
โครงการได ้เริม
่ ต ้นสร ้าง WBS อย่างอิสระด ้วยการ
ถ่ายทอดความคิดผ่านการเขียนหรือวาด
ั พันธ์ของกิจกรรมหรืองาน ทีค
ความสม
่ ด
ิ ว่า
จาเป็ นต ้องทาในโครงการอย่างคร่าวๆ โดยไม่ต ้องมี
่ วิธก
โครงสร ้างทีเ่ ป็ นทางการดังเชน
ี ารสร ้าง WBS วิธ ี
อืน
่ การกาหนดแล ้วรวบรวมกิจกรรมย่อยให ้เป็ นกลุม
่
ในลักษณะนี้ จะชว่ ยสง่ เสริมและสนับสนุนความคิด
ิ ในทีมงาน ตลอดจน
สร ้างสรรค์ทม
ี่ อ
ี ยูข
่ องสมาชก
ตัวอย่าง Mind-mapping
ข ้อควรคานึงถึงเพิม
่ เติมในการสร ้าง
WBS
• เนือ
้ หารายละเอียดของกิจกรรมใน WBS จะต ้องเป็ นการสรุป
รายละเอียดของกิจกรรมทีอ
่ ยูใ่ นระดับล่างลงไป
• กิจกรรมย่อยทีส
่ ด
ุ (ทีอ
่ ยูใ่ นระดับล่างสุด) จะต ้องมีผู ้รับผิดชอบ
เพียงคนเดียวถึงแม ้ว่าจะมีผู ้ร่วมทากิจกรรมนัน
้ มากกว่า 1 คน
• ข ้อมูลใน WBS จะต ้องสอดคล ้องกับการดาเนินงานจริงของ
โครงการ
ิ ทีมงานโครงการควรมีสว่ นร่วมในการสร ้าง WBS
• สมาชก
เพือ
่ ให ้มั่นใจได ้ว่า การดาเนินโครงการจริงจะเป็ นไปตามแผน
ิ ทีมงานทุกคนได ้ยอมรับและ
ทีก
่ าหนดไว ้ใน WBS และสมาชก
เห็นพ ้องต ้องกัน
• กิจกรรมทุกกิจกรรมใน WBS ควรจะมีการกาหนดไว ้เป็ นลาย
ลักษณ์อก
ั ษรเพือ
่ ให ้เกิดความเข ้าใจทีต
่ รงกันเกีย
่ วกับขอบเขต
งานทีจ
่ ะต ้องทาและทีจ
่ ะไม่ต ้องทา
• WBS ทีถ
่ ก
ู สร ้างขึน
้ จะต ้องสามารถยืดหยุน
่ ได ้เพือ
่ รองรับการ
เปลีย
่ นแปลงทีอ
่ าจจะเกิดขึน
้ และหลีกเลีย
่ งไม่ได ้ ขณะทีย
่ ังคง
ี้ จง
สามารถควบคุมรายละเอียดงานในโครงการตามคาชแ
การตรวจสอบขอบเขตงาน (Scope
Verification)
• การตรวจสอบขอบเขตงาน (Scope verification) เป็ นการ
ยอมรับข ้อตกลงเกีย
่ วกับขอบเขตงานโครงการอย่างเป็ น
ลายลักษณ์อก
ั ษร จึงถือได ้ว่า บุคคลสาคัญๆ ทีเ่ กีย
่ วข ้อง
่ ลูกค ้าและผู ้สนับสนุนโครงการ เป็ นต ้น)
กับโครงการ (เชน
จะยอมรับสว่ นประกอบของโครงการอย่างเป็ นทางการใน
ขัน
้ ตอนนี้ การตรวจสอบขอบเขตงานโดยทัว่ ไป
ประกอบด ้วยการวัด การตรวจสอบ และการทดสอบ
ผลผลิตของโครงการเพือ
่ ให ้แน่ใจว่า ผลผลิตเหล่านั น
้
ถูกต ้องเป็ นไปตามความต ้องการทีร่ ะบุไว ้ ทัง้ ด ้าน
คุณสมบัตเิ ฉพาะและปริมาณ สงิ่ ทีค
่ าดหวังว่าจะได ้รับ
ิ้ ลงแล ้ว ก็คอ
หลังจากขัน
้ ตอนนีเ้ สร็จสน
ื การยอมรับ
ผลผลิตอย่างเป็ นทางการจากบุคคลทีเ่ กีย
่ วข ้อง ขัน
้ ตอน
้
นีเ้ ป็ นขัน
้ ตอนทีม
่ ักจะใชเวลาและเงิ
นทุนจานวนมาก
ดังนัน
้ การตรวจสอบขอบเขตงานจึงควรจะกระทาเพียง
ิ้ งาน เมือ
ิ้ นัน
ิ้ ลง
ครัง้ เดียวต่อชน
่ มั่นใจว่างานชน
้ ได ้เสร็จสน
อย่างสมบูรณ์แล ้ว
การตรวจสอบขอบเขตงาน (Scope
Verification)
การตรวจสอบขอบเขตงาน (Scope
Verification)
• การตรวจสอบขอบเขตงานไม่จาเป็ นจะต ้อง
ิ้
ดาเนินการเมือ
่ โครงการทัง้ โครงการได ้เสร็จสน
ลงเสมอไป การตรวจสอบขอบเขตงานสามารถ
กระทาได ้ทันทีทม
ี่ งี านของโครงการแล ้วเสร็จลง
และพร ้อมทีจ
่ ะทาการวัด ตรวจสอบ และทดสอบ
ได ้ ดังนัน
้ จะเห็นได ้ว่า สงิ่ ทีจ
่ าเป็ นต ้องใช ้
ประกอบการดาเนินงานตามขัน
้ ตอนนี้ ก็คอ
ื
ิ้ สมบูรณ์แล ้วและ
กิจกรรมหรืองานทีเ่ สร็จสน
คุณสมบัตเิ ฉพาะของงานนัน
้ จึงจะทาให ้การ
ตรวจสอบในขัน
้ ตอนนีส
้ ามารถดาเนินไปได ้อย่าง
การควบคุมการเปลีย
่ นแปลงขอบเขต
งาน
(Scope Change Control)
• การควบคุมการเปลีย
่ นแปลงขอบเขตงาน (Scope change
control) มีวต
ั ถุประสงค์เพือ
่ ควบคุมการเปลีย
่ นแปลงที่
อาจจะเกิดขึน
้ และไม่สามารถหลีกเลีย
่ งได ้กับขอบเขต
งานโครงการ ดังนัน
้ ผลลัพธ์ทม
ี่ ักจะได ้จากขัน
้ ตอนนี้ คือ
การเปลีย
่ นแปลงขอบเขตงาน วิธก
ี ารปรับปรุงแก ้ไข และ
การบันทึกบทเรียนทีไ่ ด ้รับ
• ปั จจัยหลักทีท
่ าให ้การเปลีย
่ นแปลงขอบเขตงานเกิดขึน
้
ิ ทีมงานโครงการ สงิ่ แวดล ้อม
ได ้แก่ ลูกค ้า ผู ้ใช ้ สมาชก
ิ ค ้าหรือบริการ ความ
ภายนอก ความล ้าสมัยของสน
เจริญก ้าวหน ้าทางด ้านเทคโนโลยี และการเปลีย
่ นแปลง
ทางด ้านเงินทุน เป็ นต ้น เมือ
่ ผู ้จัดการโครงการเล็งเห็นถึง
ความจาเป็ นทีจ
่ ะต ้องเปลีย
่ นแปลงขอบเขตงานแล ้ว การ
เปลีย
่ นแปลงดังกล่าวจะต ้องได ้รับการอนุมัตจิ ากบุคคลที่
่ ในโครงการขนาดเล็ก
เกีย
่ วข ้อง ยกตัวอย่าง เชน
ผู ้จัดการโครงการอาจเพียงแต่ขออนุมัตท
ิ าการ
คาถามท ้ายบท
• จงอธิบายถึงสว่ นประกอบต่างๆ ทีท
่ าให ้การบริหาร
ขอบเขตงานโครงการทีด
่ ม
ี ค
ี วามสาคัญขึน
้ ได ้
• จงอธิบายขัน
้ ตอนการวางแผนขอบเขตงานและ
ี้ จงเกีย
เนือ
้ หาของคาชแ
่ วกับขอบเขตงาน (Scope
statement)
• จงอธิบายขัน
้ ตอนการนิยามขอบเขตงาน และการ
สร ้างโครงสร ้างกิจกรรมย่อยโดยใชวิ้ ธก
ี ารใช ้
คาแนะนา วิธก
ี ารเปรียบเทียบ วิธก
ี ารสร ้างจากบน
ลงล่าง วิธก
ี ารสร ้างจากล่างขึน
้ บน และวิธก
ี าร
วางแผนจากความคิดโดยสงั เขป