มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2557)

Download Report

Transcript มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2557)

ร่างมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
TFRS 10 งบการเงินรวม
TAS 27 งบการเงินเฉพาะกิจการ
TFRS 11 การร่วมการงาน
TFRS 12 การเปิ ดเผยข้อมูลเกีย่ วกับส่วนได้เสียในกิจการอื่น
TAS 28 เงินลงทุนในบริษทั ร่วม และการร่วมค้า
คุณแน่งน้อย เจริญทวีทรัพย์ และคุณวราพร ประภาศิริกุล
วันที่ 29 ตุลาคม 2557
1
วัตถุประสงค์การสัมมนา
1.
2.
เพื่อเป็ นการซักซ้ อมความเข้ าใจเกี่ยวกับการนามาตรฐานการรายงาน
ทางการเงินมาถือปฏิบัติ
เพื่ อรั บ ฟั ง และรวบรวมประเด็น ปั ญ หาเกี่ยวกับ การน ามาตรฐานการ
รายงานทางการเงินมาถือปฏิบัติ
2
การจัดสัมมนาพิจารณ์ของมาตรฐานการรายงานทางการเงินกลุ่มงบการเงินรวม (Pack 5)
ชื่อหลักสูตร
ร่างมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
8 ฉบับ (TFRS11 ,12 IAS28)
ร่างมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
3 ฉบับ (TFRS10 ,13 IAS27)
ร่างมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
6 ฉบับ
ร่างมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
6 ฉบับ Pack 5
Focus group New Concept for
consolidation
จานวน
ผูเ้ ข้าร่วม
(คน)
วันที่/เวลา
สถานที่
81
14 มี.ค.56/9.0017.00 น.
19 มี.ค.56/9.0012.00 น.
17 กค 56 / 09.0016.00 น.
25-26 มีค 57 /
09.00-16.30 น.
10 กย 57 / 09.0011.30 น.
สภาวิชาชีพบัญชี
43
287
93
130
สภาวิชาชีพบัญชี
ตลาดหลักทรัพย์แห่ง
ประเทศไทย
สภาวิชาชีพบัญชี
สานักงาน กลต.
3
TFRS 10 ประเด็นการเปลีย่ นแปลง

สรุปเนื้ อหาโดยย่อของมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้
มีการให้ ความหมายและคาจากัดความของการควบคุมและอานาจให้ เกิด
ความชัดเจน เพื่อให้ ครอบคลุมประเด็นปัญหาในทางปฏิบัติ และให้ การ
ปฏิบัติเป็ นไปโดยสม่าเสมอ

ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึ้ นต่อรายงานทางการเงิน
ภายใต้ ความหมายและคานิยามใหม่ อาจจะมีกจิ การบางแห่งซึ่งเดิมมิได้
นามาจัดทางบการเงินรวม จะต้ องนามารวมเพื่อจัดทางบการเงินรวม
4
TFRS 10 สรุปการปรับปรุงที่สาคัญ
• นามาใช้แทนมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 และ
การตีความฯ ฉบับที่ 12
• การปรับปรุง เนือ่ งจากการนามาใช้มีความแตกต่างในเรือ่ ง
ของการควบคุม (control) ฉบับใหม่จึงมีการให้คาจากัด
ความทีช่ ดั เจนขึ้ น
• ภาคผนวกมีการให้ตวั อย่าง ในหลายกรณี
• มีผลบังคับใช้ 1 มกราคม 2558 ( IFRS is effective 1 Jan
2013) โดยให้มีการปรับย้อนหลังงบการเงิน
• ต้องใช้ควบคู่กบั TAS 27 , 28 และ TFRS 11,12
5
สรุปการปรับปรุงที่สาคัญ
ในการพิจารณาเรือ่ งหลักการควบคุมนั้น มีดงั นี้
• โดยปกติพจิ ารณาจาก voting right อย่างไรก็ดีการมีสิทธิออกเสียง
น้อยกว่าร้อยละ 50 ในบางกรณีก็อาจมีการควบคุมได้
• สิทธิในการออกเสียงอาจจะไม่ไช่ปัจจัยสาคัญ หากเป็ นเพียงสิทธิใน
ออกเสียงเกีย่ วข้องกับงานด้านบริหารเท่านั้น (administrative)
• ในบางกรณีอานาจการตัดสินใจทาในฐานะตัวแทน ( agency)
• สิทธิในการออกเสียงนั้นเพือ่ จัดการสินทรัพย์ทีร่ ะบุเฉพาะ specified
assets (silo)
6
การควบคุม ( Control)
• คาจากัดความของการควบคุม
ใหม่ มี 3 ข้อทีส่ าคัญ
เดิม
มีอานาจเหนือกิจการ
อานาจในการกาหนด
นโยบายทางการเงิน
และการดาเนินงาน
ของกิจการเพือ่ ให้
ได้รบั ประโยชน์จาก
กิจกรรมต่างๆ
เปิ ดรับหรือสิทธิทีจ่ ะได้รบั ผลตอบแทน
ผันแปรจากการเข้าไปมีส่วนเกีย่ วข้อง
สามารถใช้อานาจซึ่งส่งผลกระทบต่อ
ผลตอบแทนผูล้ งทุน
7
การควบคุม ( Control)
Power
อานาจ
มีสิทธิทาให้สามารถสัง่ การ
กิจกรรมที่เกีย่ วข้องทาให้
ส่งผลกระทบสาคัญใน
ผลตอบแทนต่อผูล้ งทุน เช่น
สิทธิในการออกเสียง(voting
right)หรือตามสัญญา
Ability to use power
to affect returns
มีความสามารถในการ
ใช้ อานาจ(สิทธิในการ
ตัดสินใจ)
Variable
returns
ผลตอบแทนผันแปร
ผูล้ งทุนเปิ ดรับหรือมีสิทธิใน
ผลตอบแทนผันแปรจากการ
เกีย่ วข้องกับกิจการ
ผลตอบแทนซึ่งไม่คงที่และ
ขึ้ นอยู่กบั performance ของ
กิจการ
เดิมเน้นในเรือ่ งของผลประโยชน์
(benefits)หมายถึง การเงิ8น
ปัจจัยในการประเมินการควบคุม
( Assessing control)
• วัตถุประสงค์และการออกแบบกิจการ
• กิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องคืออะไรและมีการตัดสินใจในกิจกรรมนั้น
อย่างไร
• สิทธิทาให้สามารถในปั จจุปันในการสังการกิ
่
จกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง
หรือไม่
• ผูล้ งทุนเปิ ดรับหรือมีสิทธิในผลตอบแทนผันแปร จากการเกีย่ วข้อง
กับกิจการหรือไม่
• ผูล้ งทุนสามารถใช้อานาจเหนือกิจการ เพือ่ ส่งผลกระทบต่อ
ผลตอบแทนของผูล้ งทุน
9
ข้ อบ่ งชี้อนื่ เพือ่ นำมำประกอบกำรพิจำรณำ
(ย่อหน้าที่ ข18)
• ผู้ลงทุนสามารถแต่ งตัง้ อนุมัตผิ ้ ูบริหารสาคัญซึ่งสั่งการกิจกรรมที่
เกี่ยวข้ องโดยไม่ มีสัญญา
• สั่งการให้ กจิ การเข้ าทารายการที่สาคัญ หรื อคัดค้ าน เพื่อประโยนช์
ของผู้ลงทุนโดยไม่ มีสัญญา
• สามารถมีอิทธิพลในกระบวนการเสนอชื่อเพื่อเลือกสมาชิกผู้กากับ
ดูแลกิจการ
• ผู้บริหารคนสาคัญของผู้ลงทุนและผู้ได้ รับการลงทุนเป็ นคนเดียวกัน
• สมาชิกผู้มีหน้ าที่กากับดูแลเป็ นบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้ องกับผู้
ลงทุน
10
ตัวอย่างการพิจารณาการควบคุม
ตัวอย่าง 1 อานาจจากสิทธิในการแต่งตั้งฝ่ ายบริหาร(ตามตัวอย่างที่ 5 ในมาตรฐานการรายงาน
ทางการเงิน ฉบับที่ 10)
ผู้ลงทุน ก ถือสิทธิในการออกเสียงในผู้ได้ รับการลงทุนร้ อยละ 40 และผู้ลงทุนรายอื่น ๆ 12
รายถือสิทธิในการออกเสียงในผู้ได้ รับการลงทุนร้ อยละ 5 ต่อราย สัญญาของผู้ถือหุ้นให้ สทิ ธิผ้ ู
ลงทุน ก ในการแต่งตั้งถอดถอน และกาหนดค่าตอบแทนของฝ่ ายบริหารซึ่งรับผิดชอบในการ
สั่งการกิจกรรมที่เ กี่ยวข้ อง ในการเปลี่ยนแปลงสัญญาจาเป็ นต้ อ งใช้ การออกเสียงของผู้ถือ
หุ้นส่วนใหญ่ 2 ใน 3
ในกรณีน้ ีผ้ ูลงทุน ก สรุปว่าขนาดของการถือสิทธิของผู้ลงทุนและเมื่อเปรียบเทียบกับขนาดการ
ถือหุ้นโดยผู้ถือหุ้นอื่นเพียงอย่างเดียวไม่สามารถเป็ นข้ อสรุปในการกาหนดว่ าผู้ลงทุนมีสิทธิท่ี
เพียงพอทาให้ มีอานาจ
อย่างไรก็ตาม ผู้ลงทุน ก ต้ องพิจารณาว่าสิทธิตามสัญญาในการแต่งตั้งถอดถอน และกาหนด
ค่าตอบแทนของฝ่ ายบริหาร เพียงพอที่จะสรุปว่าตนมีอานาจเหนือผู้ได้ รับการลงทุน ข้ อเท็จจริง
ที่ว่าผู้ลงทุน ก อาจจะไม่ใช้ สิทธิน้ ี หรือโอกาสที่จะใช้ สิทธิในการคัดสรร แต่งตั้ง หรือเพิกถอน
ฝ่ ายบริหารต้ องไม่นามาพิจารณาในการประเมินว่าผู้ลงทุน ก มีอานาจหรือไม่
11
ตัวอย่างการพิจารณาการควบคุม
ตัวอย่าง 2 กรณีถอื หุ้นน้ อยกว่าร้ อยละ 50 ของสิทธิออกเสียง สามารถสั่งการกิจกรรมที่
เกี่ยวข้ องได้ ต้ องพิจารณาในข้ อเท็จจริงและสถานะการณ์ท่เี กี่ยวข้ อง (ตามตัวอย่างที่
4 ในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10)
กิจการ ก ถือหุ้นร้ อยละ 48 ในบริษัทจดทะเบียนแห่ งหนึ่ง ส่วนสิทธิในการออกเสียง
ที่เหลือถือโดยผู้ถือหุ้น 1,000 รายโดยไม่มีผ้ ูถือหุ้นรายใดถือเกินกว่าร้ อยละ 1 และ
ไม่ มี ผ้ ู ถื อ หุ้ นคนใดท าข้ อ ตกลงในการปรึ ก ษาหารื อ กั บ ผู้ ถื อ หุ้ น คนอื่น หรื อ เพื่ อ
ตัดสินใจร่ วมกัน หลังจากได้ ประเมินสัดส่วนของสิทธิในการออกเสียงที่ได้ มา โดย
คานวณจากขนาดการถือหุ้นโดยผู้ถอื หุ้นอื่น ผู้ลงทุนเห็นว่าร้ อยละ 48 เพียงพอทาให้
ควบคุมกิจการได้
• ในกรณีนี้ กิจการ ก มีอานาจควบคุม
ในตัวอย่างที่คล้ายกัน(ตัวอย่าง 7)แต่มีผูถ้ ือหุน้ 10 รายถือหุน้ ร้อยละ 5 ต่อราย
กรณีนี้ต้องพิจ ารณาว่ ากลุ่ ม 10 รายนี้ มี ขอ้ ตกลงที่จะออกเสียงร่ วมกันหรื อไม่
และแนวทางการออกเสียงของกลุ่มนี้ ในอดีต
12
ตัวอย่างการพิจารณาการควบคุม
ตัวอย่าง 3 (ตามตัวอย่างที่ 9 ในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่
10)
กิจการ ก และ ข ถือหุ้นร้ อยละ 70 และ 30 ในกิจการ ค ทั้งนี้กจิ การ ข มี
call option ที่จะซื้อจาก ก ร้ อยละ 50 สามารถใช้ สทิ ธิภายในสองปี ในราคา
คงที่ท่กี าหนดไว้ ซึ่งเป็ นสถานะ deeply out of the money และคาดว่าจะเป็ น
เช่นนี้ตลอดสองปี ซึ่งหากมีการใช้ สทิ ธิจะทาให้ กจิ การ ข ถือหุ้นร้ อยละ 80
อย่างไรก็ดีผ้ ูถอื หุ้น ก ใช้ สทิ ธิในการสั่งการกิจกรรมที่เกีย่ วข้ องซึ่งแสดงถึง
ความสามารถในปัจจุปัน
• ในกรณีนี้หมายความว่า ข คงไม่ใช้สิทธิซื้อ และไม่มีอานาจควบคุม
อย่างไรก็ดีตอ้ งพิจารณาปั จจัยอื่นๆว่า กิจการ ข จะได้รบั ประโยชน์จาก
การใช้สิทธิหรือไม่ เช่น ป้องกันส่วนได้เสียของตน หรืออื่นๆ
13
Principle and agent
ตัวอย่าง 4 (ตามตัวอย่างที่ 13 ในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10)
ผู้จัดการกองทุนจดทะเบียนแห่งหนึ่งดาเนินการจัดตั้ง และขายหน่วยลงทุน และ
จัดการกองทุนซึ่งมีตราสารจัดตั้งระบุไว้ ชัดเจนเกี่ยวกับนโยบายการลงทุน โดยถือเงิน
ลงทุนร้ อยละ 10 และได้ รับผลตอบแทนในอัตราร้ อยละ 1 ของสินทรัพย์สทุ ธิกองทุน
ตามอัตราตลาด ผู้จัดการกองทุนไม่มีข้อผูกพันต่อผลขาดทุนที่เกินกว่าเงินลงทุนร้ อย
ละ 10 กองทุนไม่จาเป็ นต้ องมีและไม่มีการแต่งตั้งคณะกรรมการอิสระ ผู้ลงทุนไม่มี
สิทธิท่มี ีความสาคัญที่มีผลกระทบต่ออานาจในการตัดสินใจของผู้จดั การกองทุน แต่
สามารถไถ่ถอนส่วนได้ เสียภายใต้ ข้อจากัดที่กองทุนกาหนดไว้ ได้
ในกรณีนผูี้ จ้ ดั การกองทุนเปิ ดรับผลตอบแทนผันแปรรวมทั้งมีอานาจในการ
ตัดสินใจ แต่ภายใต้กรอบทีร่ ะบุไว้ ดังนั้นคือ ตัวแทนและมิได้มีอานาจควบคุม
กองทุน
14
Principle and agent
ตัวอย่าง 5 (ตามตัวอย่างที่ 15 ในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับ
ที่ 10)
Sponsor
-
Investor
35%
REIT Manager
65%
Fee
Fix +
Variable
REIT
ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์
ผู้จัดการกองทุนสามารถถูกถอดถอนได้ จากการออกเสียงข้ างมากของผู้
ลงทุนอื่น โดยไม่ มีคณะกรรมการกองทุนซึ่งทาหน้ าที่แทนผู้ลงทุน
15
Control of specified assets(Silo)
• สินทรัพย์และหนี้สนิ ที่เกี่ยวข้ องของกิจการมีสญ
ั ญาหรือข้ อตกลงกับ
กิจการอื่น โดยให้ อานาจในการควบคุมสินทรัพย์น้นั สินทรัพย์และ
หนี้สนิ ระบุเฉพาะนั้น พิจารณาว่าเป็ น deemed separate entity
• เงื่อนไขที่สาคัญคือเจ้ าหนี้และผู้ถอื หุ้นของกิจการ ไม่มีส่วนได้ เสียใน
ผลตอบแทนและส่วนได้ เสียคงเหลือใน silo นั้น
A
100 %
Z
Silo
สัญญาหรือ
ข้อตกลง
16
TFRS 11 กำรร่ วมกำรงำน
ประเด็นกำรเปลีย่ นแปลง
เป็ นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดขึ้นโดย IFRS11 Joint Arrangement
► ยกเลิกมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 เรื่ อง ส่ วนได้เสี ยในการร่ วมค้า
►
หน้า 17
TFRS 11 กำรร่ วมกำรงำน
ประเด็นกำรเปลีย่ นแปลง
มีสิทธิในสิ นทรัพย์ และมีภำระ
ผูกพันในหนีส้ ิ นทีเ่ กีย่ วข้ องกับ
กำรร่ วมกำรงำน
มีสิทธิในสิ นทรัพย์ สุทธิของกำร
ร่ วมกำรงำน
หน้า 19
กำรร่ วมกำรงำน
การควบคุมร่ วม - ตัวอย่าง
กรณีที่ 1
กรณีที่ 2
กรณีที่ 3
ได้รับความเห็นชอบอย่างน้อย
75%
ได้รับความเห็นชอบอย่างน้อย
75%
ได้รับความเห็นชอบโดยเสี ยง
ส่ วนใหญ่
กิจกำร ก
50%
50%
35%
กิจกำร ข
30%
25%
35%
กิจกำร ค
20%
25%
-
รำยย่ อย
-
-
35%
ก+ข
ก+ข หรือ ก+ค
ไม่มีการควบคุมร่ วม
เว้นแต่มีการระบุใน
สัญญาว่าต้องมี ก+ข
ในการตัดสิ นใจ
ข้ อกำหนดในกำรตัดสินใจ
ใดๆที่สำคัญของกำรงำน
สรุป
กิจการ ก และ ข มีการ
ควบคุมร่ วม
อาจไม่มีการควบคุมร่ วม
เว้นแต่มีการระบุในสัญญา
ว่าต้องมีใครบ้างในการ
ตัดสิ นใจ
หน้า 20
วิธีปฏิบัตทิ ำงบัญชี
วิธีรวมตามสัดส่ วนกับวิธีการดาเนินงานร่ วมกัน
วิธีรวมตำมสัดส่ วน
รำยกำร
กิจกำร ก
กิจกำร ข
กิจกำร ก
กิจกำร ข
200
100
100
200
-
อาคารสานักงาน
1,000
500
500
500
500
เงินกูย้ มื **
(100)
(50)
(50)
-
(100)
หนี้สินอื่น
(80)
(40)
(40)
(40)
(40)
1,020
510
510
660
360
รถบรรทุก*
สุ ทธิ
100%
วิธีกำรดำเนินงำนร่ วมกัน
(กำรรับรู้สินทรัพย์ และหนีส้ ิ น)
* กิจการ ก มีสิทธิท้งั หมดในรถบรรทุก
** กิจการ ข มีภาระผูกพันทั้งหมดในเงินกูย้ มื
หน้า 21
สรุป กำรปฏิบัติในช่ วงเปลีย่ นแปลง
Jointly controlled entities (TAS31)  Joint Venture/Joint operations (TFRS11)
TAS 31
Equity
TFRS 11
Equity
Consolidated FS
Separate FS
-
-
(Joint venture)
Proportionate
Equity
(Joint venture)
Equity
Assets/
Liabilities
(Joint operations)
Proportionate
Assets/
Liabilities
(Joint operations)
Dr. Investment – Equity
Dr. Liabilities
Cr. Assets
Dr./Cr. Retained earnings
Dr. Assets
Cr. Liabilities
Cr. Investment – Equity
Dr./Cr. Retained earnings
(อาจมีผลกระทบต่ องบการเงินรวม)
-
Dr. Assets
Cr. Liabilities
Cr. Investment – Cost
Dr./Cr. Retained earnings
Dr. Assets
Cr. Liabilities
Cr. Investment – Cost
Dr./Cr. Retained earnings
Jointly controlled assets/operations (TAS31)  Joint operations (TFRS11)
TAS 31
Assets/
Liabilities
TFRS 11
Assets/
Liabilities
(Joint operations)
Consolidated FS
Separate FS
-
-
หน้า 22
มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทร่ วมและกำรร่ วมค้ ำ
ประเด็นกำรเปลีย่ นแปลง
►
►
ระบุวธิ ีการบัญชีและวางข้อกาหนดในการนาวิธีส่วนได้เสี ยมาปฏิบตั ิสาหรับ
► เงินลงทุนในบริ ษท
ั ร่ วม
► การร่ วมค้า
ยกเลิก TAS 28 (ปรับปรุ ง 2555)
หน้า 23
มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทร่ วมและกำรร่ วมค้ ำ
ประเด็นกำรเปลีย่ นแปลง
ข้ อยกเว้ นเพิม่ เติมสำหรับกำรไม่ นำวิธีส่วนได้ เสี ยมำใช้
►
1) กรณีทเี่ งินลงทุนถูกถือโดย หรือถูกถือโดยทางอ้ อมผ่ านกิจการซึ่งเป็ น
•
•
กิจการร่ วมลงทุน (venture capital organizations)
กองทุนรวม (mutual fund)
• หน่วยลงทุน (unit trust) หรื อกิจการที่มีลกั ษณะคล้ายคลึงกัน
• กองทุนประกันที่โยงกับการลงทุน (investment-linked insurance funds)
กิจการอาจจะเลือกวัดมูลค่าเงินลงทุนโดยวิธีมูลค่ายุติธรรมผ่านกาไรขาดทุนได้ (TFRS 9/TAS39)
หากส่ วนหนึ่งของเงินลงทุนถูกถือโดย หรื อถูกถือโดยทางอ้อมผ่านกิจการข้างต้น
► ส่ วนที่ถือผ่านกิจการข้างต้น - TFRS 9/TAS39
► ส่ วนที่เหลือที่ถือโดยตรง - วิธีส่วนได้เสี ย
หน้า 24
มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทร่ วมและกำรร่ วมค้ ำ
ประเด็นกำรเปลีย่ นแปลง
2) นา TFRS 5 มาใช้ หากเงินลงทุน/บางส่ วนของเงินลงทุนเข้ าเกณฑ์ การเป็ นสินทรั พย์ ทถี่ อื วว้ เพือ่ ขาย
► สาหรับส่ วนที่เหลือที่ไม่ได้ถูกจัดประเภทให้ใช้วธิ ี ส่วนได้เสี ยจนกว่าถูกจาหน่ายออกไปจริ ง
► เมื่อขายแล้ว -> ส่ วนที่เหลือจากการขายให้นา TFRS 9/TAS39 มาปฏิบตั ิเว้นแต่ยงั ถือว่าเป็ นเงิน
ลงทุนในบริ ษทั ร่ วมหรื อการร่ วมค้าก็ยงั คงให้ใช้วธิ ีส่วนได้เสี ยต่อไป
หน้า 25
มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทร่ วมและกำรร่ วมค้ ำ
ประเด็นกำรเปลีย่ นแปลง
3) การนาสินทรัพย์ ทวี่ ม่ เป็ นตัวเงินวปแลกกับส่ วนวด้ เสียในบริษทั ร่ วมหรือการร่ วมค้ า
►
►
กาไรจะถูกรับรู้เฉพาะส่วนได้เสี ยของผูล้ งทุนอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับกิจการ
นอกจากส่วนได้เสี ยแล้ว หากกิจการได้รับสิ นทรัพย์ที่เป็ นตัวเงิน หรื อสิ นทรัพย์ที่ไม่เป็ นตัวเงินด้วย กิจการต้อง
รับรู้กาไรดังนี้
สินทรัพย์ ที่
ไม่ เป็ นตัว
เงิน
นำไปแลก
ส่ วนได้ เสี ยใน
กิจกำร
กำไร/ขำดทุน - รับรู้ เฉพำะส่ วนของผู้ลงทุนอืน่
และนำไปตัดรำยกำรออกจำกเงินลงทุนทีร่ ับรู้
ตำมวิธีส่วนได้ เสี ย
สิ นทรัพย์ ทเี่ ป็ นตัว
เงิน/ไม่ เป็ นตัวเงิน
กำไร/ขำดทุน รับรู้เต็มจำนวน
หน้า 26
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 12
เรื่อง กำรเปิ ดเผยข้ อมูลเกีย่ วกับส่ วนได้ เสียในกิจกำรอืน่
►
รวมข้อกาหนดในการเปิ ดเผยข้อมูลที่เคยกระจายอยูใ่ นหลายๆมาตรฐาน เข้ามาอยูใ่ นที่เดียว
►
►
►
►
►
บริ ษทั ย่อย
การร่ วมค้า
บริ ษทั ร่ วม
กิจการซึ่งมีโครงสร้างเฉพาะตัว
มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ให้ถือปฏิบตั ิกบั งบการเงินสาหรับรอบระยะเวลาบัญชี
ที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 ทั้งนี้อนุญาตให้นามาใช้ก่อนได้ (โดยไม่ได้กาหนดว่า
ถ้าใช้ก่อนแล้วต้องนา TFRS10, TFRS11 TAS 27 มาใช้ก่อนด้วย)
หน้า 27
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 12
ประเด็นกำรเปิ ดเผยเพิม่ เติมจำกข้ อกำหนดเดิมทีเ่ คยมีในหลำยๆมำตรฐำน
1. กิจกำรต้ องเปิ ดเผยข้ อมูลเกีย่ วกับดุลพินิจและสมมติฐำนทีส่ ำคัญ
►
►
►
►
กิจการมีการควบคุมกิจการอื่น
กิจการมีการควบคุมร่ วมในการงานหรื อมีอิทธิพลอย่างมีนยั สาคัญ
ประเภทของการร่ วมการงาน ในกรณี จดั ตั้งเป็ นหน่วยงานแยกต่างหาก
กิจการเป็ นตัวแทนหรื อตัวการ
หน้า 28
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 12
ประเด็นกำรเปิ ดเผยเพิม่ เติมจำกข้ อกำหนดเดิมทีเ่ คยมีในหลำยๆมำตรฐำน
2. ส่ วนได้ เสี ยในกิจกรรมและกระแสเงินสดของกลุ่มกิจกำรทีเ่ ป็ นของส่ วนได้ เสี ยที่ไม่ มี
อำนำจควบคุม
►
เปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบริ ษทั ย่อยแต่ละรายที่มีส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุมที่มีสาระสาคัญ
►
►
►
►
►
►
►
ชื่อ สถานที่หลักในการประกอบกิจการ
สัดส่วนของส่วนได้เสี ยในความเป็ นเจ้าของที่ถือโดยส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม
สัดส่วนของสิ ทธิในการออกเสี ยงที่เป็ นของส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม ในกรณี ที่ต่างจากสัดส่วนของส่วน
ได้เสี ยในความเป็ นเจ้าของที่ถือโดยส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม
กาไรหรื อขาดทุนที่แบ่งให้กบั ส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุมในระหว่างรอบระยะเวลารายงาน
ส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุมสะสม ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน
เงินปันผลที่จ่ายให้กบั ส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม
ข้อมูลทางการเงินโดยสรุ ปของบริ ษทั ย่อย (สิ นทรัพย์หมุนเวียน/ไม่หมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน/ไม่หมุนเวียน
รายได้ กาไรหรื อขาดทุน กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม)
หน้า 29
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 12
ประเด็นกำรเปิ ดเผยเพิม่ เติมจำกข้ อกำหนดเดิมทีเ่ คยมีในหลำยๆมำตรฐำน
3.
ลักษณะและขอบเขตของสิ ทธิซึ่งทำให้ ส่วนได้ เสี ยทีไ่ ม่ มอี ำนำจควบคุมสำมำรถจำกัด
ควำมสำมำรถของกิจกำรในกำรเข้ ำถึงหรือใช้ สินทรัพย์ และกำรจ่ ำยชำระหนีส้ ิ นของกลุ่ม
กิจกำรได้ อย่ ำงมีนัยสำคัญ
หน้า 30
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 12
ประเด็นกำรเปิ ดเผยเพิม่ เติมจำกข้ อกำหนดเดิมทีเ่ คยมีในหลำยๆมำตรฐำน
4. ลักษณะและกำรเปลีย่ นแปลงของควำมเสี่ ยงทีเ่ กีย่ วเนื่องกับส่ วนได้ เสี ยของกิจกำรซึ่งมีโครงสร้ ำง
เฉพำะตัวที่รวมในงบกำรเงินรวม
► เงื่อนไขของข้อตกลงที่บริ ษท
ั ใหญ่หรื อบริ ษทั ย่อยต้องให้การสนับสนุนด้านการเงิน
► เหตุการณ์หรื อสถานการณ์แวดล้อมที่อาจทาให้กิจการที่เสนอรายงานนั้นประสบกับการขาดทุน เช่นสัญญาการให้
สภาพคล่องทางการเงิน
► กรณี ที่บริ ษท
ั ใหญ่หรื อบริ ษทั ย่อยรายหนึ่งรายใดให้การสนับสนุนด้านการเงินหรื อด้านอื่น ๆ ทั้ง ๆ ที่ไม่มีภาระ
ผูกพันตามสัญญากิจการต้องเปิ ดเผยข้อมูลดังต่อไปนี้
ประเภทของรายการและจานวนเงินที่ให้การสนับสนุน รวมทั้งกรณี ที่ช่วยให้ได้รับการสนับสนุนทางการเงิน
► เหตุผลของการให้การสนับสนุนดังกล่าว
► เปิ ดเผยความตั้งใจที่จะให้การสนับสนุนและช่วยให้ได้รับการสนับสนุนด้านการเงิน
► และกรณี ที่ให้การสนับสนุนทั้งๆที่ไม่ได้รวมอยูใ่ นงบการเงินรวม กิจการต้องเปิ ดเผยเหตุผลของการสนับสนุนดังกล่าว
►
หน้า 31
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 12
ประเด็นกำรเปิ ดเผยเพิม่ เติมจำกข้ อกำหนดเดิมทีเ่ คยมีในหลำยๆมำตรฐำน
5. ข้ อมูลทำงกำรเงินโดยรวมของเงินลงทุนในกำรร่ วมค้ ำและในบริษทั ร่ วมทีแ่ ต่ ละรำยไม่ สำระสำคัญ
►
►
ข้อมูลทางการเงินโดยรวมของการร่ วมค้าทั้งหมดที่แต่ละรายไม่สาระสาคัญ
ข้อมูลทางการเงินโดยรวมของบริ ษทั ร่ วมทั้งหมดที่แต่ละรายไม่สาระสาคัญ
6. หนีส้ ิ นทีอ่ ำจเกิดขึน้ ซึ่งเกีย่ วข้ องกับส่ วนได้ เสี ยของกิจกำรในกำรร่ วมค้ ำหรื อในบริษัทร่ วม โดยให้
แสดงแยกต่ ำงหำกจำกจำนวนของหนีส้ ิ นที่อำจเกิดขึน้ อืน่ ๆ (TAS 37) ยกเว้ นในกรณีทเี่ ป็ นไปได้ ยำก
ทีก่ ำรขำดทุนนั้นจะเกิดขึน้
หน้า 32
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 12
ประเด็นกำรเปิ ดเผยเพิม่ เติมจำกข้ อกำหนดเดิมทีเ่ คยมีในหลำยๆมำตรฐำน
7 กำรเปิ ดเผยเกีย่ วกับกิจกำรซึ่งมีโครงสร้ ำงเฉพำะตัวทีไ่ ม่ ได้ รวมอยู่ในงบกำรเงินรวม
ลักษณะของส่ วนได้ เสีย
► กิจการต้องเปิ ดเผยข้อมูลทั้งในเชิ งคุณภาพและเชิ งปริ มาณ ซึ่ งรวมถึง
►
►
►
►
ลักษณะ วัตถุประสงค์ ขนาด และ
กิจกรรมของกิจการซึ่งมีโครงสร้างเฉพาะตัวนั้น และ
ข้อมูลซึ่งแสดงให้เห็นว่ากิจการซึ่งมีโครงสร้างเฉพาะตัวนั้นได้รับการค้ าจุนด้านเงินทุนอย่างไร
ในกรณี ที่กิจการได้ร่วมก่อตั้งกิจการซึ่งมีโครงสร้างเฉพาะตัวซึ่งไม่ได้รวมอยูใ่ นงบการเงินรวม แต่กิจการไม่ได้
เปิ ดเผยข้อมูลถึงส่วนได้เสี ยของกิจการดังกล่าว (ไม่ได้มีส่วนได้เสี ย ณ วันที่ในรายงาน)
►
►
►
วิธีการที่กาหนดว่ากิจการใดเป็ นกิจการซึ่งมีโครงสร้างเฉพาะตัวที่ตนร่ วมก่อตั้ง
รายได้ที่เกิดขึ้นในระหว่างรอบระยะเวลารายงาน รวมถึงคาพรรณาเกี่ยวกับประเภทของรายได้
มูลค่าตามบัญชี ณ เวลาที่โอน ของสิ นทรัพย์ท้ งั หมดที่โอนในระหว่างรอบระยะเวลารายงาน
หน้า 33
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 12
ประเด็นกำรเปิ ดเผยเพิม่ เติมจำกข้ อกำหนดเดิมทีเ่ คยมีในหลำยๆมำตรฐำน
7. กำรเปิ ดเผยเกีย่ วกับกิจกำรซึ่งมีโครงสร้ ำงเฉพำะตัวทีไ่ ม่ ได้ รวมอยู่ในงบกำรเงินรวม (ต่ อ)
ลักษณะของควำมเสี่ยง
► กิจการต้องเปิ ดเผยข้อมูลต่อไปนี้ โดยสรุ ปในรู ปแบบของตารางเว้นแต่แบบอื่นจะเหมาะสมกว่า
►
►
►
►
มูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์และหนี้สินที่กิจการรับรู ้ในงบการเงินของตน
ชื่อของรายการในงบแสดงฐานะทางการเงินซึ่งรวมสิ นทรัพย์และหนี้สินเหล่านั้นเข้าไว้
จานวนผลขาดทุนสู งสุ ดที่อาจเกิดขึ้น รวมถึงวิธีที่ใช้ในการหาจานวนผลขาดทุนสู งสุ ดนั้น หากไม่สามารถกาหนดได้
ต้องเปิ ดเผยข้อเท็จจริ งและเหตุผล
เปรี ยบเทียบมูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์และหนี้สินกับขาดทุนสู งสุ ดที่กิจการอาจได้รับ
หน้า 34
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 12
ประเด็นกำรเปิ ดเผยเพิม่ เติมจำกข้ อกำหนดเดิมทีเ่ คยมีในหลำยๆมำตรฐำน
7. กำรเปิ ดเผยเกีย่ วกับกิจกำรซึ่งมีโครงสร้ ำงเฉพำะตัวทีไ่ ม่ ได้ รวมอยู่ในงบกำรเงินรวม (ต่ อ)
►
หากกิจการให้การสนับสนุนด้านการเงินหรื อด้านอื่น ๆ และมีหรื อเคยมีส่วนได้เสี ยอยูใ่ นกิจการซึ่งมีโครงสร้าง
เฉพาะตัวนั้นทั้ง ๆ ที่กิจการไม่มีภาระผูกพันตามสัญญาที่จะต้องให้การสนับสนุนดังกล่าว กิจการต้องเปิ ดเผย
ข้อมูลดังต่อไปนี้
►
►
►
ประเภทและจานวนเงินของการสนับสนุน รวมถึงกรณี ที่กิจการช่วยให้ได้รับการสนับสนุนด้านการเงิน
เหตุผลของการให้การสนับสนุนดังกล่าว
เปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความตั้งใจใด ๆ ในปัจจุบนั ที่จะให้การสนับสนุนด้านการเงินและด้านอื่น ๆ แก่กิจการซึ่งมี
โครงสร้างเฉพาะตัวซึ่งไม่ได้รวมอยูใ่ นงบการเงินรวม รวมทั้งความตั้งใจที่จะช่วยกิจการซึ่งมีโครงสร้างเฉพาะตัว
ให้ได้รับการสนับสนุนด้านการเงิน
หน้า 35