สำนักงาน กสทช. (Office of NBTC)

Download Report

Transcript สำนักงาน กสทช. (Office of NBTC)

สำนักงำนคณะกรรมกำรกิจกำรกระจำยเสี ยง
กิจกำรโทรทัศน์ และกิจกำรโทรคมนำคมแห่งชำติ
Office of the National Broadcasting and
Telecommunications Commission
การรักษาความปลอดภัย
เกีย่ วกับการสื่ อสาร
นายสุ พฒ
ั น์ ทวีพนั ธ์
สานักงาน กสทช. เขต 6 ขอนแก่ น
1
2 สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
หัวข้ อการบรรยาย
ความรู้ เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับคลืน่ ความถี่
 ระเบียบว่ าด้ วยการรักษาความปลอดภัยแห่ งชาติ

สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
คลืน่ ความถี่
“คลืน
่ ความถี”่ หมายความว่า คลื่นวิทยุหรือคลื่นแฮรตเซียน ซึ่ง
เป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มีความถี่ต่ากว่าสามล้ านเมกะเฮิรตซ์ลงมา
ที่ถูกแพร่กระจายในที่ว่างโดยปราศจากสื่อนาที่ประดิษฐ์ข้ นึ
Sine Wave
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
ความถีว่ ิทยุ (Radio frequency)
องค์ประกอบพื้นฐาน
V
Time
t
ตัวอย่าง ใช้ งานที่ความถี่ (f) 150 MHz
ให้ คานวณหาค่า 
ใช้ สตู รค่า 
 = c/f
= 300,000,000 เมตร/วินาที
150,000,000 รอบ/วินาที (Hertz)
 = 2 เมตร
กาหนดให้
C แทน ความเร็วแสง 300,000,000 เมตรต่อวินาที
f แทน ความถี่ มีหน่วยเป็ น เฮิรตซ์ (Hertz : Hz)
 แทน ความยาวคลื่น มีหน่วยเป็ น เมตร
t แทน คาบ เวลา มีหน่วยเป็ น วินาที
สูตรหาค่า c = f หรือ , f = c/ หรือ,  = c/f และ f = 1/T
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
องค์ประกอบพื้นฐาน
ตัวอย่าง คลื่นวิทยุท่วี ัดด้ วย
เครื่อง Spectrum Analyzer
5
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
ย่านความถี่วิทยุ
VLF
3
kHz
LF
30
kHz
MF
300
kHz
HF
3
MHz
VHF UHF SHF EHF
30
MHz
300
MHz
VLF – Very Low Frequencies
LF – Low Frequencies
MF – Medium Frequencies
HF – High Frequencies
VHF – Very High Frequencies
UHF – Ultra High Frequencies
SHF – Super High Frequencies
EHF – Extremely High Frequencies
3
GHz
30
GHz
300
GHz
3000
GHz
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
การใช้งานย่านความถีว่ ิทยุ
VLF
3
kHz
LF
30
kHz
AM
500-1600 kHz
MF
300
kHz
HF
3
MHz
FM.
87-108 MHz
VHF
30
MHz
Land Mobile
138-174 MHz
UHF
300
MHz
Satellite
3-30 GHz
3
GHz
TV 174-230 MHz
WiFi
2400-2500 MHz
WiMAX, LTE
2.3,2.5 GHz
SHF
Mobile
800-2100 MHz
EHF
30
GHz
TV 510-790 MHz
WiFi
5.15-5.85 GHz
Vehicle radar
76-77 GHz
300
GHz
8 สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
วิทยุการบิน
องค์ กรปกครองฯ
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
ตัวอย่างการผสมสัญญาณ AM และ FM
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
ลักษณะการแพร่กระจายคลื่น
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
คลืน่ ดิน (Ground Wave)
 คลืน
่ ดิน หมายถึง คลืน่ วิทยุทเี่ ดินทางไปตามผิวโลก โดยอาศัยพืน้ ดินเป็ นสื่ อ ความ
แรงของสั ญญาณจะลดลงเรื่อยๆ เมือ่ ระยะทางเพิม่ ขึน้ ภูมปิ ระเทศ ชุ่ มชื้นมีสภาพ
เป็ นนา้ คลืน่ สามารถเดินได้ ไกลกว่ าปกติ ใช้ ติดต่ อสื่ อสารในย่ านความถี่ VLF LF MF
เช่ นใช้ ในการส่ งวิทยุกระจายเสี ยง ระบบ AM(Amplitude Modulation) MW(Medium Wave)
หรือ LW(Long wave)
160 km
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
คลืน่ ตรง (Direct Wave)
 ลักษณะการแพร่ กระจายคลืน
่ วิทยุเหมือนกับการเดินทางของแสง คือพุ่งเป็ น
เส้ นตรงและการกระจายคลืน่ ชนิดนีจ้ ะอยู่ในระดับสายตา (Line of sight)
VHF UHF SHF EHF
h2
h1
ระยะทางขึน้ อยู่กบั ความสู งของสายอากาศเป็ นสาคัญ
km = 4.1 x ( h1 + h2 )
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
เครื่องวิทยุคมนาคม
เครื่องวิทยุคมนาคมสาหรับหน่ วยงานราชการ เครื่องวิทยุคมนาคมสาหรับประชาชน
และรัฐวิสาหกิจ
(CB) ความถี่ 245 MHz
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
เครือ่ งวิทยุคมนาคม
ชนิดมือถือ
ชนิดเคลือ่ นที่
ชนิดประจาที่
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
อุปกรณ์ ร่วม
16สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
 ระเบียบว่ าด้ วยการรักษาความปลอดภัยแห่ งชาติ
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
17
ประกาศ คณะกรรมการกิจการกระจายเสี ยง กิจการโทรทัศน์
และกิจการโทรคมนาคมแห่ งชาติ
เรื่อง การใช้ เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสั งเคราะห์ ความถี่ (SYNTHESIZER)
ของหน่ วยงานของรัฐ
ข้ อ 8 ผู้ใช้ เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสั งเคราะห์ ความถี่ประเภท 2 ต้ องมีคุณสมบัตแิ ละไม่
มีลกั ษณะต้ องห้ าม ดังนี้
(4) ต้ องผ่านการฝึ กอบรมตาม ระเบียบว่ าด้ วยการรักษาความปลอดภัยแห่ งชาติ จาก
หน่ วยงานหรือหน่ วยงานอืน่ ที่ตนสั งกัด หรือหน่ วยงานอืน่ ที่เกีย่ วข้ องกับหน่ วยงานหรือ
หน่ วยงานอืน่ ที่ตนสั งกัด
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
18
กฎหมายและระเบียบทีเ่ กีย่ วข้ องกับการรักษาความปลอดภัย
 ระเบียบว่ าด้ วยการรักษาความปลอดภัยแห่ งชาติเกีย่ วกับการ
สื่ อสาร พ.ศ. 2525
 พระราชบัญญัตขิ ้ อมูลข่ าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
 ระเบียบว่ าด้ วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544
 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยการรักษาความปลอดภัย
แห่ งชาติ พ.ศ. 2552
19สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยการรักษาความปลอดภัย
แห่ งชาติ พ.ศ. 2552
การรักษาความปลอดภัยแห่ งชาติ

มาตรการและการดาเนินการที่กาหนดขึน้ เพื่อพิทักษ์ รักษาและคุ้มครอง
ป้องกันสิ่ งที่เป็ นความลับของทางราชการ ตลอดจนหน่ วยงานของรั ฐ
เจ้ าหน้ าที่ของรั ฐ และทรั พย์ สินมีค่าของแผ่ นดิน ให้ พ้นจากการรั่ วไหล
การจารกรรม การก่ อวินาศกรรม การบ่ อนทาลาย การก่ อการร้ าย การ
กระทาที่เป็ นภัยต่ อความมั่นคงและผลประโยชน์ แห่ งรัฐ และการกระทา
อืน่ ใดทีเ่ ป็ นการเปิ ดเผยสิ่ งทีเ่ ป็ นความลับของทางราชการ
20สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
ประเภทชั้นความลับ มี 3 ชั้น
(1) ลับทีส่ ุด (TOP SECRET) หมายความว่า ความลับที่มี
ความสาคัญที่สดุ เกี่ยวกับบุคคล ข้ อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานที่
และทรัพย์สนิ มีค่าของแผ่นดิน ซึ่งหากความลับดังกล่าวทั้งหมด
หรือเพียงบางส่วนรั่วไหลไปถึงบุคคลผู้ไม่มีหน้ าที่ได้ ทราบ จะ
ทาให้ เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงและผลประโยชน์แห่งรัฐ
อย่างร้ ายแรงที่สดุ
(2) ลับมาก (SECRET) หมายความว่า ความลับ… อย่างร้ ายแรง
(3) ลับ (CONFIDENTIAL) หมายความว่า ความลับ... แห่งรัฐ
21สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
คณะกรรมการนโยบายรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ (กรช.)
1. รัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
เป็ นประธานกรรมการ
2. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี
3. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
4. ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
5. ปลักกระทรวงกลาโหม
6. ปลัดกระทรวงการคลัง
7. ปลักกระทรวงการต่างประเทศ
8. ปลัดกระทรวงคมนาคม
9. ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร
10. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
11. เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา
12. เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
เป็ นรองประธานกรรมการคนที่หนึง่
เป็ นรองประธานกรรมการคนที่สอง
เป็ นกรรมการ
เป็ นกรรมการ
เป็ นกรรมการ
เป็ นกรรมการ
เป็ นกรรมการ
เป็ นกรรมการ
เป็ นกรรมการ
เป็ นกรรมการ
เป็ นกรรมการ
22สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
คณะกรรมการนโยบายรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ
13. ผูอ้ านวยการสานักงบประมาณ
เป็ นกรรมการ
14. ผูบ้ ญ
ั ชาการตารวจแห่งชาติ
เป็ นกรรมการ
15. ผูบ้ ญ
ั ชาการทหารบก
เป็ นกรรมการ
16. ผูบ้ ญ
ั ชาการทหารเรือ
เป็ นกรรมการ
17. ผูบ้ ญ
ั ชาการทหารอากาศ
เป็ นกรรมการ
18. เจ้ากรมข่าวทหาร
เป็ นกรรมการ
19. ผูอ้ านวยการสานักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ เป็ นกรรมการ
20. เลขาธิการสภาความมันคงแห่
่
งชาติ
เป็ นกรรมการและเลขานุ การ
21. ผูอ้ านวยการสานักข่าวกรองแห่งชาติ
เป็ นกรรมการและผูช้ ่วยเลขานุ การ
22. ผูบ้ ญ
ั ชาการศูนย์รกั ษาความปลอดภัย
เป็ นกรรมการและผูช้ ่วยเลขานุ การ
23. ผูบ้ ญ
ั ชาการกองบัญชาการตารวจสันติบาล
เป็ นกรรมการและผูช้ ่วยเลขานุ การ
23สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
กรช. มีอานาจหน้าที่
อาทิเช่น






กาหนดนโยบายและมาตรการการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ
กาหนดแนวทางปฏิบตั ิและอานวยการตามนโยบายและมาตรการการรักษาความ
ปลอดภัยแห่งชาติ
วินจิ ฉัยปั ญหาที่เกีย่ วข้องกับการปฏิบตั ิตามระเบียบนี้
เสนอแนะการแก้ไขปรับปรุงระเบียบนี้ ให้มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับ
สถานการณ์
ออกประกาศเพือ่ ปฏิบตั ิการตามระเบียบนี้
ดาเนินการเกีย่ วกับการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติตามที่คณะรัฐมนตรีหรือ
นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
24
องค์ การรักษาความปลอดภัย
1. สานักข่ าวกรองแห่ งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี เป็ นองค์ การรักษาความ
ปลอดภัย ฝ่ ายพลเรือน
2. ศูนย์ รักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย เป็ นองค์ การ
รักษาความปลอดภัย ฝ่ ายทหาร
3. กองบัญชาการตารวจสั นติบาล สานักงานตารวจแห่ งชาติ เป็ นองค์ การ
รักษาความปลอดภัย ฝ่ ายตารวจ
25สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
ประเภทการรักษาความปลอดภัย
 การ รปภ.เกีย
่ วกับบุคคล (หมวด4, ประวัติ,จนท. ,ความลับของทางราชการ)
 การ รปภ. สถานที่ (หมวด5 ,พิทกั ษ์รกั ษา,ข้อมูลข่าวสาร,อาคารสถานที)่
 การ รปภ.การประชุมลับ (หมวด6 ,การรัว่ ไหล,รบกวน,ถูกจารกรรม)
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
26
ระเบียบว่ าด้ วยการรักษาความปลอดภัยแห่ งชาติ
เกีย่ วกับการสื่ อสาร พ.ศ. 2525
การรักษาความปลอดภัยเกีย่ วกับการสื่ อสาร
(COMMUNICATION SECURITY)

หมายถึง การใช้ มาตรการทีก่ าหนดขึน้ เพือ่ ควบคุมพิทกั ษ์ รักษา
และป้องกันมิให้ ความลับของทางราชการ อันเนื่องมาจาก
การสื่ อสารรั่วไหล หรือรู้ ไปถึง หรือตกไปอยู่กบั บุคคลผู้ไม่ มี
อานาจหน้ าที่หรือฝ่ ายตรงข้ าม
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
ประเภท ชั้นความลับ
มี 3 ชั้น
27
1.ลับทีส่ ุ ด หมายความถึง ข้อมูลข่าวสารลับซึ่ งหาก
เปิ ดเผยทั้งหมดหรื อเพียงบางส่ วนจะก่อให้เกิดความ
เสี ยหายแก่ประโยชน์แห่งรัฐอย่างร้ายแรงที่สุด
2.ลับมาก หมายความถึง ข้อมูลข่าวสารลับซึ่ งหากเปิ ดเผย
ทั้งหมดหรื อเพียงบางส่ วนจะก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่
ประโยชน์แห่งรัฐอย่างร้ายแรง
3.ลับ หมายความถึง ข้อมูลข่าวสารลับซึ่งหากเปิ ดเผย
ทั้งหมดหรื อเพียงบางส่ วนจะก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่
ประโยชน์แห่งรัฐ
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
28
ประเภทและความรับผิดชอบในการรักษาความปลอดภัยเกีย่ วกับ
การสื่ อสาร
1. การรักษาความปลอดภัยในการส่ งข่ าว
2. การรักษาความปลอดภัยทางการรหัส
3. การรักษาความปลอดภัยเกีย่ วกับสถานที่
ทางการสื่ อสาร
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
29
1. การรักษาความปลอดภัยในการส่ งข่ าว
 หมายถึง
มาตรการที่กาหนดขึน้ สาหรับปฏิบัติต่อการ
ส่ งข่ าว เพือ่ ป้องกันมิให้ ผ้ ูไม่ มอี านาจหน้ าทีไ่ ด้ ล่วงรู้ หรือ
รอดพ้นจากการดักรับ การวิเคราะห์ การรับ-ส่ งข่ าว และ
การลวงเลียน
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
30
คุณลักษณะทีด่ ใี นการส่ งข่ าว
1.ความแน่ นนอน ความถูกต้ องในการรับ - ส่ งข่ าวสาร
หากเกิดความพลาดแล้วจะก่อให้ เกิดความสั บสนและเสี ยหายต่ อ
ภารกิจได้
2.ความรวดเร็ว เวลาทีใ่ ช้ ในการรับ ส่ งข่ าว และกรรมวิธีอนื่ ๆ
เพือ่ ให้ ข่าวถึงผู้รับทราบข่ าว และผู้รับปฏิบัติได้ ทันเวลา
3. ความปลอดภัย การป้องกันการส่ งข่ าวให้ พ้นจากการดักรับ
การวิเคราะห์ การรับ – ส่ งข่ าว และการวิเคราะห์ การเข้ ารหัสจาก
ฝ่ ายตรงข้ าม
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
31
วิธีการส่ งข่ าว
1. การนาสาร
2. ไปรษณีย์
เจ้ าหน้ าที่นาสาร
สั ตว์ นาสารที่ฝึกและขึน้ ทะเบียนของ
ทางราชการแล้ว
การส่ งข่ าวทางไปรษณีย์ธรรมดา
ลงทะเบียนตอบรับ
การส่ งข่ าวทางทัศนสั ญญาณ
3. โทรคมนาคม
การส่ งข่ าวทางเสี ยงสั ญญาณ
การส่ งข่ าวทางสาย
การส่ งข่ าวทางวิทยุ
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
32
ความปลอดภัยในการเลือกวิธีส่งข่ าว
มาก
1. เจ้ าหน้ าที่นาสาร
2. ทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ
3. วงจรทางสายทีร่ ับรองแล้ว
4. ไปรษณีย์ธรรมดา
5. วงจรทางสายทีไ่ ม่ รับรอง
6. การส่ งข่ าวทางทัศนสั ญญาณ
7.สั ตว์ นาสารที่ฝึกและขึน้ ทะเบียนของทางราชการแล้ว
8. การส่ งข่ าวทางเสี ยงสั ญญาณ
น้ อย
9. การส่ งข่ าวทางวิทยุ
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
33
ดีทสี่ ุ ด เลือกให้ เหมาะสมกับสถานการณ์
รายละเอียด
ความเร็ว
สะดวก
ประหยัด
รักษาความ
ปลอดภัย
วิทยุ
****
โทรศัพท์
***
ตนเอง
**
ไปรษณีย์
*
****
***
**
*
****
***
**
*
*
**
****
**
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
การแพร่ กระจายคลืน่ วิทยุสื่อสารให้ เหมาะสม
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
การแพร่ กระจายคลืน่ วิทยุสื่อสารให้ เหมาะสม
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
การแพร่ กระจายคลืน่ วิทยุสื่อสารให้ เหมาะสม
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
การแพร่ กระจายคลืน่ วิทยุสื่อสารให้ เหมาะสม
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
การแพร่ กระจายคลืน่ วิทยุสื่อสารให้ เหมาะสม
39สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
ข้ อปฏิบัติเกีย่ วกับ แผนการติดต่ อสื่ อสารทางวิทยุ
เปลีย่ นแปลงแผนสื่ อสาร
ความถี่
เวลา
ใช้ ระบบรับรองฝ่ าย
ใช้ ประมวลลับและรหัส
ห้ าม เปิ ดเผยชื่อตัว ชื่อสกุล ชื่อเล่ น
จัดให้ มีการเฝ้ าฟังการละเมิดการ รปภ. ในข่ ายวิทยุทอี่ ยู่ใน
ความรับผิดชอบ
 หัวหน้ าส่ วนราชการต้ องรั บผิดชอบในการควบคุม กากับดูแล







สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
40
2. การรักษาความปลอดภัยทางการรหัส
หมายถึง
มาตรการที่กาหนดขึน้ สาหรับปฏิบัติต่อ
ข่ าวที่มีช้ันความลับ โดยการนาเอาระบบการรหัสที่
ได้ รับอนุมัตแิ ล้ วไปใช้ อย่างถูกต้ องเพือ่ ป้ องกันมิให้
เปิ ดเผยแก่ บุคคลผู้ไม่ มอี านาจหน้ าที่
41สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
การใช้ ประมวลลับ (CODE)
แทน
 ชื่อ นามสกุล ยศ ตาแหน่ งหน้ าที่
 ชื่อสถานที่ ชื่อหน่ วยราชการ
 วัน เดือน ปี
 จานวนและหมายเลข
 ชื่ออาวุธยุทโธปกรณ์
 นามเรียกขาน
42สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
การใช้ ประมวลลับ (CODE)
ในกรณี
 การรับเสด็จพระราชดาเนิน
 การต้ อนรับบุคคลสาคัญ
 การนาเงินจากทีห่ นึ่งไปยังอีกทีห่ นึ่ง
 การขนย้ ายอาวุธยุทโธปกรณ์
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
43
ระบบการรหัส มี 2 ประเภท
1. ประมวลลับ (CODE)
2. รหัส (CIPHER)
1. ประมวลลับ (CODE)

ประมวลลับ (CODE) หมายถึง การนาตัวอักษรตัวเลข คาพูด
สั ญญาณ สั ญลักษณ์ มาใช้ แทนความหมายอันแท้ จริงตามที่
ตกลงกันไว้ เพือ่ รักษาความลับในการส่ งข่ าว
ตัวอย่ าง ประมวลลับ
รหัส
666
ดอนเมือง
321
A01
ประมวลรหัสโค้ ด ว.
ของ มท.
รหัส
ว.0
ว.4
ว.6
ว.16
ว. 61
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
44
ความหมาย
ผู้อานวยการกอง
ทาเนียบรัฐบาล
เดินทางไปที่
กองอานวยการ
ความหมาย
ขอรับคาสั่ ง,แจ้ งให้ ทราบ
ออกปฏิบัติหน้ าที่
ขออนุญาตติดต่ อโดยตรง (ทางวิทยุ)
ทดสอบสั ญญาณวิทยุ
ขอบคุณ
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
45
2 รหัส (CIPHER)
รหัส
(CIPHER) หมายถึง การใช้ อกั ษรและหรือตัวเลขแทน
อักษรหรือตัวเลขในข้ อความธรรมดาด้ วยวิธีการต่ าง ๆ เพื่อ
รักษาความลับในการส่ งข่ าว
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
ตัวอย่าง ตารางรหั46สแบบ 10 x10
1234
1
2
3
4
5
6
7
8
9
0
1
ก
ข
ฃ
ค
ฅ
ฆ
ง
จ
ฉ
ช
2
ซ
ฌ ญ
ฎ
ฏ
ฐ
ฑ
ฒ
ณ
ด
3
ต
ถ
ท
ธ
น
บ
ป
ผ
ฝ
พ
4
ฟ
ภ
ม
ย
ร
ล
ว
ศ
ษ
ส
5
ห
ฬ
อ
ฮ
ฤ
ฦ
อะ
อา
อิ
อี
6
อึ
อื
อุ
อู
เ
โ
ไ
ใ
อั
อ์
7
1
2
3
4
5
6
7
8
9
0
8
9
การเข้ ารหัส
ก = 11 ข = 12 ส = 40
1 = 71 2 = 72 3 =73
การถอดรหัส
11 = ก 12 = ข 40 = ส
71 = 1 72 = 2 73 = 3
47สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
ข้ อควรระวังการ รปภ.
ทางการรหัสในการติดต่ อสื่ อสารทางวิทยุสื่อสาร
 มีการเปลีย่ นแปลงการใช้ อยู่เสมอ
 เป็ นระบบการรหัสทีไ่ ด้ รับการอนุมตั แิ ล้ วเท่ านั้น
 ไม่ ใช้ ระบบการรหัสผสมกับข้ อความธรรมดา
 การเก็บรักษาระบบการรหัส เก็บไว้ ในตู้เอกสารหรือ
ภาชนะทีใ่ ห้ ความปลอดภัยทันที
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
48
3. มาตรการการรักษาความปลอดภัยเกีย่ วกับสถานที่
ทางการสื่ อสาร
หมายถึง
มาตรการทีก่ าหนดขึน้ เพือ่ พิทกั ษ์ รักษาอาคาร
สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ เจ้ าหน้ าที่ และเอกสารทีใ่ ช้
ดาเนินการเกีย่ วกับการสื่ อสารให้ พ้นจากการจารกรรม
การก่ อวินาศกรรม การถูกยึด การกู้ซ่อม การตรวจการณ์
การถ่ ายภาพการโจรกรรม ตลอดจนการเข้ าถึงของผู้ไม่ มี
อานาจหน้ าที่
49สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
ความจาเป็ นที่ต้องมีการ รปภ. สถานที่ทางการสื่ อสาร
 สถานทีท่ างการสื่ อสาร เป็ นเป้าหมายสาคัญที่ฝ่ายตรงข้ ามจะ
เข้ ายึด หรือทาลายให้ ได้ โดยเร็วทีส่ ุ ด เพือ่ ตัดการติดต่ อสื่ อสาร
ของฝ่ ายเรา เพือ่ ยึดเครื่องมือ
 สถานที่ทางการสื่ อสารมีความสาคัญและความจาเป็ นอย่ างยิง่
ที่จะต้ องมีมาตรการณ์ การรักษาความปลอดภัยอย่ างเพียงพอเพือ่
ดารงการสื่ อสารของฝ่ ายเรา
50สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
มาตรการการรักษาความปลอดภัยเกีย่ วกับสถานที่
1. ป้ องกันการได้ ยนิ แลเห็นการปฏิบัติการสื่ อสารและวัสดุลบั ของการสื่ อสาร
2. กาหนดเป็ นเขตหวงห้ ามเด็ดขาด
3. ในการจัดซื้อวิทยุและวัสดุลบั ทางการสื่ อสาร
4. วัสดุลบั ทางการสื่ อสารจะต้ องได้ รับการกาหนดชั้นความลับ ตามระเบียบว่ าด้ วยการ
รักษาความปลอดภัยแห่ งชาติ
5. การแสดงชั้นความลับของวัสดุลบั ทางการสื่ อสารที่ไม่ ใช่ เอกสาร
6. การส่ งวัสดุลบั ที่ไม่ ใช่ เอกสารทั้งในและนอกประเทศ
7. การทาลายวัสดุลบั ทางการสื่ อสาร ให้ ปฏิบัติตามระเบียบ
8. การทาลายวัสดุลบั ทางการสื่ อสาร จะต้ องให้ แน่ ใจว่ าไม่ สามารถนากลับมาใช้ ได้ อกี
9. กาหนดให้ มีการซ้ อมแผนการขนย้ ายหรือลาลายยามฉุกเฉิน
10. วัสดุลบั ทางการสื่ อสารสู ญหายหรือสงสั ยว่ าเกิดการรั่วไหล
51สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
สรุป การรักษาความปลอดภัยเกีย่ วกับการติดต่ อสื่ อสาร
การที่เรามีความจาเป็ นต่ อการติดต่ อสื่ อสารซึ่ งกันและกัน
และเพื่อป้องกันมิให้ ความลับของทางราชการรั่ วไหล รู้ ไปถึง
หรือตกไปอยู่กบั บุคคลผู้ไม่ มีอานาจหน้ าที่หรือฝ่ ายตรงข้ าม ซึ่ง
อาจจะส่ งผลกระทบต่ อความมั่นคงหรือผลประโยชน์ ของชาติ
ดั ง นั้ น ผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การติ ด ต่ อสื่ อ สาร จะต้ อ งมี
จิ ต ส านึ ก และระมั ด ระวั ง ในการรั ก ษาความปลอดภั ย อยู่
ตลอดเวลาในขณะทีเ่ ราติดต่ อสื่ อสารซึ่งกันและกัน
สำนักงำน กสทช. (Office of NBTC)
52
จบการบรรยาย
หากมีข้อสงสั ยประการใด สามารถสอบถามได้ ที่
สานักงาน กสทช. เขต 6 (ขอนแก่ น)
โทรศัพท์ 043-202600 – 4
E-mail. [email protected]