competency-hr - แนวทางการพัฒนาระบบสมรรถนะเพื่อพัฒนาการ

Download Report

Transcript competency-hr - แนวทางการพัฒนาระบบสมรรถนะเพื่อพัฒนาการ

สงวนลิขสิ ทธ์ สำนักงำน ก.พ.
ภาพรวมทิศทางการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลภาครัฐแนวใหม่
คุณธรรม
หลักการ
สมรรถนะ
ผลงาน
คุณภาพชีวติ
กระจายอานาจ
กรอบแนวคิด
หลัก
ทีส่ าคัญ
คน
ในฐานะ
ทุน
มนุษย์
หุ้นส่ วน
เชิง
ยุทธศาสตร์
ทิศทางการดาเนินการ
Expert)
Right
Sizing
HR
Out
กระจาย
อานาจ
sourcing
HR
ยุทธศาสตร์ ปรั บขนาดกาลังคนภาครั ฐ
1.ทบทวนบทบาทภารกิจ
2.ปรั บกระบวนการและวิธีการทางาน
3.บริ หารจัดการ HR เช่ น
-แผนยุทธศาสตรด้ าน HR
-แผนการสื บทอดตาแหน่ ง
-ระบบฐานข้ อมูลบุคคล
Will do)
-การสรรหาคนในระบบเปิ ด
• เป็ นที่ปรึกษาและออกแบบระบบ HR -แผน Rotation ระหว่างส่ วนราชการ
-ระบบตรวจสอบการใช้ กาลังคน
-ระบบเกลี่ยกาลังคน
ใช้ เครื่องแทนคน
4.พั
ฒนาคนให้ มีสมรรถนะเหมาะสม
•DPIS
-แผนพั
ฒนากาลังคน
•คลังข้ อมูลข้ าราชการ
-ระบบการบริ
หารจัดการความรู้
ที่มีศักยภาพ (Talent
-เครื อข่ ายองค์ความรู้
Inventory)
5.การเสริ มสร้ างแรงจูงใจ เช่ น
• e-Recruitment
-ระบบให้ ค่าตอบแทนตามผลงานและสมรรถนะของบุคคล
• e-Examination
-ระบบ Hipps
• e-Learning
• e-Training
- เกษียณอายุแบบยืดหยุ่น
สู่ “ทุนมนุษย์ ”
Plan
(HR
eHR
• สร้ างสมรรถนะ
และมาตรฐาน
วิชาชีพผู้ปฏิบัติ
งานด้าน HR
• ทางานเบ็ดเสร็จ
ในตัวเอง (Can do+
• บริหารจัดการ
คนในองค์การ
จาก
ปัจจัยการผลิต
• ร่ วมกาหนด
Strategy
• เชื่อมโยง HR กับ
กลยุทธ์ องค์กร
• การวางแผนและ
การใช้ กาลังคน
• ภาวะผู้นาและKM
• วัฒนธรรมที่เน้ น
ผลงาน
• กาลังคนคุณภาพ
• การรับผิดชอบ
มืออาชีพ
• e-Job Evaluation
ใช้
ระเบียบ
กฎหมาย
ทีเ่ อื้อ
เป็ นธรรม
/โปร่ งใส
• พ.ร.บ.ระเบียบ
ข้ าราชการพลเรือน
ฉบับใหม่
-ระบบการจาแนก
ตาแหน่ งและค่าตอบ
แทนใหม่
ฯลฯ
• การว่าจ้ าง
บุคคล หรือ
หน่ วยภายนอก
ให้ รับงาน/
ทางานแทน
• คณะกรรมการ
พิทักษ์ระบบ
คุณธรรม
• มาตรฐานทาง
คุณธรรมและ
จริยธรรม/
จรรยาบรรณ
• ก.พ. มอบอานาจเพิม่
• ให้ ส่วนราชการกาหนด
จานวนตาแหน่ งได้เอง
ตามกรอบงบประมาณ
และหลักเกณฑ์ ก.พ.
/จัดตาแหน่ งได้ตาม
มาตรฐานฯ ที่กาหนด
• CHRO จังหวัด
HR Scorecard ประเมิน/วัดผลและพัฒนาระบบบริหารจัดการ HR
Do
Check
คุ้มค่ า/
วัดผลได้
Action
หลักการในการออกแบบระบบจาแนกตาแหน่งและค่าตอบแทนใหม่
หลักคุณธรรม
(Merit)
หลักสมรรถนะ
(Competency)
หลักผลงาน
(Performance )
กระจายความรับผิดชอบ
ในการบริหารทรัพยากรบุคคล
สงวนลิขสิ ทธ์ สำนักงำน ก.พ.
โครงสร้างตาแหน่งแบบเดิมและแบบใหม่
เปรียบเทียบโครงสร้างชัน้ งานและประเภทตาแหน่ ง ...
เดิม
ใหม่
ระดับ 11
อาวุโส
ทรงคุณวุฒิ
เชี่ยวชาญ
ชานาญการ
พิเศษ
ชานาญงาน
ชานาญการ
ระดับสู ง
ระดับสู ง
ปฏิบัตงิ าน
ปฏิบัติการ
ระดับต้ น
ระดับต้ น
ทัว่ ไป
วิชาการ
ระดับ 10
ทักษะพิเศษ
ระดับ 9
ระดับ 8
ระดับ 7
ระดับ 3-5 หรือ 6
ระดับ 2-4 หรือ 5
ระดับ 1-3 หรือ 4
• จำแนกเป็ น 11 ระดับ สำหรับทุกตำแหน่ ง
• มีบัญชีเงินเดือนเดียว
อานวยการ
บริหาร
• จำแนกกลุ่มตำแหน่ งเป็ น 4 ประเภท อิสระจำกกัน
• แต่ ละกลุ่มมี 2-5 ระดับ แตกต่ ำงกันตำมค่ำงำน
และโครงสร้ ำงกำรทำงำนในองค์กร
• มีบัญชีเงินเดือนพืน้ ฐำนแยกแต่ ละกลุ่ม
• กำหนดชื่อเรียกระดับตำแหน่ งแทนตัวเลข
สงวนลิขสิ ทธ์ สำนักงำน ก.พ.
มาตรฐานกาหนดตาแหน่ง
ส่ วนลักษณะงานของตาแหน่ ง
ส่ วนคุณสมบัติของผู้ดารงตาแหน่ ง
(รหัสมาตรฐานกาหนดตาแหน่ ง)
1. ประเภทตาแหน่ ง .............
6. คุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ ง
2. ชื่อสายงาน ..............................
1) คุณวุฒิการศึกษา
3. ชื่อตาแหน่ งในสายงาน ...............
2) ระยะเวลาการดารงตาแหน่ ง
4. ระดับตาแหน่ ง .......................
3) ประสบการณ์ ปฏิบตั ิ ราชการหรือ
5. หน้ าที่ความรับผิดชอบหลัก
งานที่เกี่ยวข้อง
1) ด้าน.........................
4) คุณสมบัติพิเศษ (ถ้ามี)
1.1 หน้ าที่รบั ผิดชอบหลัก ก.
1.2 หน้ าที่รบั ผิดชอบหลัก ข.
2) ด้าน.........................
7. ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ
ที่จาเป็ นสาหรับตาแหน่ ง
3) ด้าน ........................
(1) มีความรู้ ความสามารถทีจ่ าเป็ นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ ง
(2) มีทกั ษะทีจ่ าเป็ นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ ง
(3) มีสมรรถนะทีจ่ าเป็ นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ ง
2.1 หน้ าที่รบั ผิดชอบหลัก ก.
2.2 หน้ าที่รบั ผิดชอบหลัก ข.
3.1 หน้ าที่รบั ผิดชอบหลัก ก.
3.2 หน้ าที่รบั ผิดชอบหลัก ข.
สงวนลิขสิทธ์ สำนักงำน ก.พ.
ว 27/2552 มาตรฐานและแนวทางการกาหนด
ความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จาเป็ น
สาหรั บตาแหน่ งข้ าราชการพลเรื อนสามัญ
ว 7/2553 มาตรฐานและแนวทางการกาหนด
ความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จาเป็ น
สาหรั บตาแหน่ งข้ าราชการพลเรื อนสามัญ ตาแหน่ ง
ประเภทบริหาร
สงวนลิขสิทธ์ สำนักงำน ก.พ.
การแบ่ งประเภทความรู้ ความสามารถ
ความรู้ ความสามารถที่ใช้ ในการปฏิบตั งิ าน
สาหรั บตาแหน่ งประเภททั่วไป
มี 4 ระดับ
ความรู้ความสามารถที่จาเป็ น
สาหรับการปฏิบัตงิ านใน
ตาแหน่ ง
สาหรั บตาแหน่ งประเภทวิชาการ
มี 5 ระดับ
สาหรั บตาแหน่ งประเภทอานวยการ
และบริหารมี 3 ระดับ
ความรู้ เรื่องกฎหมายและกฎระเบียบ
ราชการ
สงวนลิขสิทธ์ สานักงาน ก.พ.
ความรู้ความสามารถที่จาเป็ นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ งประเภททั่วไป
ระดับที่ 1
ระดับที่ 2
ระดับที่ 3
ระดับที่ 4
มีควำมรู้พ้ืนฐำนในกำรปฏิบตั ิหน้ำที่รำชกำร
มีควำมรู้ควำมสำมำรถตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 1 และมีควำมรู้ควำมสำมำรถ
ประสบกำรณ์ และควำมชำนำญงำนหรื อมีทกั ษะเฉพำะทำง
มีควำมรู้ควำมสำมำรถตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 2 และมีควำมรู้ควำมสำมำรถ
ประสบกำรณ์ และควำมชำนำญงำน หรื อมีทกั ษะในงำนเชิงเทคนิค หรื องำนฝี มือ
เฉพำะทำง ระดับสูง
มีควำมรู้ควำมสำมำรถตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 3 และมีควำมรู้ควำมสำมำรถ
ประสบกำรณ์ และควำมชำนำญงำน หรื อมีทกั ษะในงำนเชิงเทคนิค หรื องำนฝี มือ
เฉพำะทำง ระดับสูงมำก จนได้รับกำรยอมรับในระดับชำติ
สงวนลิขสิทธ์ สำนักงำน ก.พ.
ความรู้ความสามารถที่จาเป็ นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ งประเภทวิชาการ
ระดับที่ 1
ระดับที่ 2
ระดับที่ 3
ระดับที่ 4
ระดับที่ 5
มีวฒ
ุ ิกำรศึกษำระดับปริ ญญำ และสำมำรถประยุกต์องค์ควำมรู้ที่ศึกษำมำใช้ในกำร
ปฏิบตั ิหน้ำที่รำชกำรได้
มีควำมรู้ควำมสำมำรถตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 1 และ มีควำมรู้ควำมเข้ำใจใน
หลักกำร แนวคิด ทฤษฎีของงำนในสำยอำชีพที่ปฏิบตั ิอยู่ รวมทั้งสำมำรถถ่ำยทอดได้
มีควำมรู้ควำมสำมำรถตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 2 และ มีควำมรู้ควำมเข้ำใจอย่ำง
ถ่องแท้เกี่ยวกับลักษณะงำน หลักกำร แนวคิด ทฤษฎีของงำนในสำยอำชีพที่ปฏิบตั ิอยู่
จนสำมำรถนำมำประยุกต์ใช้ให้เข้ำกับสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ได้
มีควำมรู้ควำมสำมำรถตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 3 และ มีควำมเชี่ยวชำญในสำย
อำชีพที่ปฏิบตั ิหน้ำที่รำชกำรอยู่ และสำมำรถแก้ไขปัญหำที่ยงุ่ ยำกซับซ้อน รวมทั้งให้
คำปรึ กษำแนะนำได้
มีควำมรู้ควำมสำมำรถตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 4 และเป็ นผูเ้ ชี่ยวชำญในสำยอำชีพ
ที่ปฏิบตั ิหน้ำที่รำชกำรอยู่ เนื่องจำกกำรสัง่ สมประสบกำรณ์และองค์ควำมรู้ รวมทั้ง
เป็ นที่ปรึ กษำระดับบริ หำร หรื อปฏิบตั ิหน้ำที่รำชกำรที่ตอ้ งตัดสิ นใจแก้ไขปัญหำทำง
วิชำกำรที่ยำกและซับซ้อนเป็ นพิเศษ
สงวนลิขสิทธ์ สำนักงำน ก.พ.
ความรู้ความสามารถที่จาเป็ นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ ง
ประเภทอานวยการ และประเภทบริหาร
ระดับที่ 1
มีควำมรู้ควำมสำมำรถตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 3 ของตำแหน่ง
ประเภทวิชำกำร หรื อ ของตำแหน่งประเภททัว่ ไป
ระดับที่ 2
มีควำมรู้ควำมสำมำรถตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 4 ของตำแหน่ง
ประเภทวิชำกำร หรื อ ของตำแหน่งประเภททัว่ ไป
ระดับที่ 3
มีควำมรู้ควำมสำมำรถตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 5 ของตำแหน่ง
ประเภทวิชำกำร
สงวนลิขสิทธ์ สำนักงำน ก.พ.
ความรู้เรื่องกฎหมายและกฎระเบียบราชการ
หมายถึง ความรู้เรื่องกฎหมายตลอดจนกฎระเบียบต่ างๆ ที่ต้องใช้ ในการปฏิบัตหิ น้ าที่ราชการ
ระดับที่ 1
มีควำมรู้ควำมเข้ำใจกฎหมำย หรื อระเบียบที่เกี่ยวข้องกับกำรปฏิบตั ิหน้ำที่รำชกำร
งำนประจำที่ปฏิบตั ิอยู่
ระดับที่ 2
มีควำมรู้ควำมเข้ำใจตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 1 และสำมำรถหำคำตอบในทำง
กฎหมำยได้เมื่อมีขอ้ สงสัยในกำรปฏิบตั ิหน้ำที่รำชกำร
ระดับที่ 3
มีควำมรู้ควำมเข้ำใจตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 2 และสำมำรถนำไปประยุกต์เพื่อ
แก้ปัญหำในทำงกฎหมำย หรื อตอบคำถำมข้อสงสัยในกำรปฏิบตั ิหน้ำที่รำชกำร
ให้แก่หน่วยงำนหรื อบุคคลที่เกี่ยวข้องได้
มีควำมรู้ควำมเข้ำใจตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 3 และ มีควำมรู้ควำมเข้ำใจกฎหมำย
หรื อระเบียบอื่นที่เกี่ยวข้องกับกฎหมำยหรื อระเบียบในกำรปฏิบตั ิหน้ำที่รำชกำร
รวมทั้งสำมำรถแนะนำ หรื อให้คำปรึ กษำในภำพรวมได้
มีควำมรู้ควำมเข้ำใจตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 4 และมีควำมเชี่ยวชำญทำงกฎหมำย
สำมำรถให้คำแนะนำปรึ กษำ วิเครำะห์เหตุผลและแก้ไขปัญหำได้อย่ำงมี
ประสิ ทธิภำพ
ระดับที่ 4
ระดับที่ 5
สงวนลิขสิทธ์ สำนักงำน ก.พ.
การแบ่ งประเภททักษะ
การใช้ คอมพิวเตอร์ มี 5 ระดับ
การใช้ ภาษาอังกฤษ มี 5 ระดับ
ทักษะที่จาเป็ นสาหรับการ
ปฏิบัตงิ านในตาแหน่ ง
การคานวณ มี 5 ระดับ
การจัดการข้ อมูล มี 5 ระดับ
สงวนลิขสิทธ์ สานักงาน ก.พ.
ทักษะคอมพิวเตอร์
หมายถึง ทักษะในการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ต่างๆ ได้ อย่ างมีประสิทธิภาพ
ระดับที่ 1
สำมำรถใช้คอมพิวเตอร์ในระดับเบื้องต้นได้
ระดับที่ 2
มีทกั ษะระดับที่ 1 และสำมำรถใช้โปรแกรมขั้นพื้นฐำนได้อย่ำงคล่องแคล่ว
ระดับที่ 3
มีทกั ษะระดับที่ 2 และสำมำรถใช้โปรแกรมต่ำงๆ ในกำรปฏิบตั ิงำนได้อย่ำง
คล่องแคล่ว
ระดับที่ 4
มีทกั ษะระดับที่ 3 และมีควำมเชี่ยวชำญในโปรแกรมที่ใช้ หรื อสำมำรถแก้ไขหรื อ
ปรับปรุ งโปรแกรมเพื่อนำมำพัฒนำระบบกำรปฏิบตั ิงำนได้
ระดับที่ 5
มีทกั ษะระดับที่ 4 และมีควำมเข้ำใจอย่ำงลึกซึ้ง เชี่ยวชำญในโปรแกรมต่ำงๆ อย่ำง
กว้ำงขวำง หรื อสำมำรถเขียนโปรแกรมเพื่อพัฒนำระบบกำรปฏิบตั ิงำนได้
สงวนลิขสิทธ์ สำนักงำน ก.พ.
ทักษะภาษาอังกฤษ
หมายถึง ทักษะในการนาภาษาอังกฤษมาใช้ ในงาน
ระดับที่ 1
สำมำรถพูด เขียน อ่ำน และฟังภำษำอังกฤษในระดับเบื้องต้น และสื่ อสำรให้เข้ำใจได้
ระดับที่ 2
มีทกั ษะระดับที่ 1 และสำมำรถพูด เขียน อ่ำน และฟังภำษำอังกฤษ และทำควำมเข้ำใจ
สำระสำคัญของเนื้อหำต่ำงๆ ได้
ระดับที่ 3
มีทกั ษะระดับที่ 2 และ สำมำรถใช้ภำษำอังกฤษเพื่อกำรติดต่อสัมพันธ์ในกำรปฏิบตั ิงำนได้
โดยถูกหลักไวยำกรณ์
ระดับที่ 4
มีทกั ษะระดับที่ 3 และเข้ำใจสำนวนภำษำอังกฤษในรู ปแบบต่ำงๆ สำมำรถประยุกต์ใช้
ในงำนได้อย่ำงถูกต้อง ทั้งในหลักไวยำกรณ์และควำมเหมำะสมในเชิงเนื้อหำ
ระดับที่ 5
มีทกั ษะระดับที่ 4 และมีควำมเชี่ยวชำญในกำรใช้ภำษำอังกฤษอย่ำงลึกซึ้ง ใกล้เคียงกับ
เจ้ำของภำษำ สำมำรถประยุกต์โวหำรทุกรู ปแบบได้อย่ำงคล่องแคล่ว ถูกต้อง และ
สละสลวย อีกทั้งมีควำมเชี่ยวชำญ ศัพท์เฉพำะด้ำนในสำขำวิชำของตนอย่ำงลึกซึ้ ง
สงวนลิขสิทธ์ สำนักงำน ก.พ.
ทักษะการคานวณ
หมายถึง ทักษะในการทาความเข้ าใจและคิดคานวณข้ อมูลต่ างๆ ได้ อย่ างถูกต้ อง
ระดับที่ 1
มีทกั ษะในกำรคิดคำนวณขั้นพื้นฐำนได้อย่ำงถูกต้องและรวดเร็ว
ระดับที่ 2
มีทกั ษะตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 1 และสำมำรถทำควำมเข้ำใจข้อมูลด้ำนตัวเลขได้
อย่ำงถูกต้อง
ระดับที่ 3
มีทกั ษะตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 2 และสำมำรถใช้สูตรคณิ ตศำสตร์ หรื อเครื่ องมือ
ต่ำงๆ ในกำรคำนวณข้อมูลด้ำนตัวเลขได้
ระดับที่ 4
มีทกั ษะตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 3 และสำมำรถวิเครำะห์ขอ้ มูลทำงสถิติ และตัวเลข
ที่ซบั ซ้อนได้
ระดับที่ 5
มีทกั ษะตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 4 สำมำรถแก้ไขข้อผิดพลำดในข้อมูลตัวเลขได้
เข้ำใจข้อมูลต่ำงๆ ในภำพรวม และอธิบำยชี้แจงให้เป็ นที่เข้ำใจได้
สงวนลิขสิทธ์ สำนักงำน ก.พ.
ทักษะการจัดการข้ อมูล
หมายถึง ทักษะในการบริหารจัดการข้ อมูล ตลอดจนวิเคราะห์ ข้อมูลเพือ่ ประโยชน์ ในงาน
ระดับที่ 1
สำมำรถเก็บรวบรวมข้อมูลได้อย่ำงเป็ นระบบ และพร้อมใช้ รวมถึงสำมำรถ
แสดงผลข้อมูลในรู ปแบบต่ำงๆ เช่น กรำฟ รำยงำน เป็ นต้น
ระดับที่ 2
มีทกั ษะระดับที่ 1 และสำมำรถวิเครำะห์ และประเมินผลข้อมูลได้อย่ำงถูกต้อง
แม่นยำ
ระดับที่ 3
มีทกั ษะระดับที่ 2 และ สำมำรถสรุ ปผลกำรวิเครำะห์ นำเสนอทำงเลือก ระบุ
ข้อดีขอ้ เสี ย ฯลฯ โดยอ้ำงอิงจำกข้อมูลที่มีอยูไ่ ด้
ระดับที่ 4
มีทกั ษะระดับที่ 3 และ สำมำรถพยำกรณ์ หรื อสร้ำงแบบจำลองเพื่อพยำกรณ์
หรื อตีควำมโดยอ้ำงอิงจำกข้อมูลที่มีอยู่
ระดับที่ 5
มีทกั ษะระดับที่ 4 และสำมำรถออกแบบเลือกใช้หรื อประยุกต์วิธีกำรในกำร
จัดทำแบบจำลองต่ำงๆ ได้อย่ำงถูกต้องเหมำะสม
สงวนลิขสิทธ์ สำนักงำน ก.พ.
การแบ่ งประเภทสมรรถนะ
สมรรถนะหลัก มี 5 สมรรถนะ
(การมุ่งผลสัมฤทธิ์, บริการที่ดี, การสั่งสมความเชี่ยวชาญ
ในงานอาชีพ, การยึดมั่นในความถูกต้ องชอบธรรมและ
จริยธรรม, การทางานเป็ นทีม)
สมรรถนะที่จาเป็ นสาหรับการ
ปฏิบัตงิ านในตาแหน่ ง
สมรรถนะทางการบริหาร มี 6 สมรรถนะ
(สภาวะผู้นา, วิสัยทัศน์ , การวางกลยุทธ์ ภาครั ฐ,
ศักยภาพเพื่อนาการปรั บเปลี่ยน, การควบคุมตนเอง,
การสอนงานและมอบหมายงาน)
สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ให้ ส่วนราชการกาหนดอย่ างน้ อย
3 สมรรถนะ
สงวนลิขสิทธ์ สานักงาน ก.พ.
ประเภท/
ชัน้ งาน
ความรู้
ทักษะ
สมรรถนะ
ในงาน
กฎหมาย
คอมฯ
อังกฤษ
คานวณ
จัดการ
ข้ อมูล
หลัก
ปฏิบัตงิ าน
O1
1
1
1
1
1
1
1
ชานาญงาน
O2
1
1
1
1
1
1
1
อาวุโส
O3
2
2
2
2
2
2
2
ทักษะพิเศษ
O4
2
2
2
2
2
2
2
ปฏิบัตกิ าร
K1
2
2
2
2
2
1
1
ชานาญการ
K2
2
2
2
2
2
2
2
ชานาญการ
พิเศษ
K3
3
2
2
2
2
3
3
เชี่ยวชาญ
K4
3
2
2
2
2
4
4
ทรงคุณวุฒิ
K5
3
2
2
2
2
5
5
อานวยการต้ น
MS 1
3
2
2
2
2
3
1
3
อานวยการสูง
MS 2
3
2
2
2
2
4
2
4
บริหารต้ น
SES 2
4
2
2
2
2
5
3
บริหารสูง
SES 2
4
2
2
2
2
5
4
*วิสัยทัศน์, กำรวำงกลยุทธ์ภำครัฐ,ศักยภำพเพื่อนำกำรปรับเปลี่ยน
สงวนลิขสิ ทธ์ สำนักงำน ก.พ.
ทางการ
บริหาร
เฉพาะ
ทรง
คุณวุฒ*ิ
3
แนวทางและกรอบเวลาที่ให้ ส่วนราชการปฏิบัติ
ตาม ว27/2552 และ ว7/2553
กำหนดพฤติกรรมบ่งชี ้/ตัวอย่ำงพฤติกรรมของ
สมรรถนะหลักภำยใน ธันวำคม 2552
กำหนดรำยละเอียดควำมรู้ควำมสำมำรถ ทักษะ
และสมรรถนะเฉพำะฯ ภำยใน กันยำยน 2553
กำหนดแล้ วเสนอ อ.ก.พ. กรม เพื่อพิจำรณำเห็นชอบ แล้ ว
รำยงำนให้ อ.ก.พ. กระทรวง และ ก.พ. ทรำบ
สงวนลิขสิทธ์ สำนักงำน ก.พ.
กระบวนการในการกาหนดหาความรู้ ความสามารถ ทักษะ
และสมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานทีป่ ฏิบัติ
•จัดตั้งคณะทางานและวางแผนการทางานเพือ่ นัดหมายในการเก็บข้ อมูล
•ศึกษาข้ อมูลและดาเนินการวิเคราะห์ งาน (Job Analysis)
การวางแผน
Top – Down Approaches
เก็บข้ อมูล
เก็บข้ อมูล
ด้วยวิธี
สัมภาษณ์
ผู้บริหาร
เก็บข้ อมูลจาก
ผู้เชี่ยวชาญใน
สายวิชาชีพ
เก็บข้ อมูล
พันธกิจและ
ยุทธศาสตร์
ของแต่ ละ
สานัก/กอง
เก็บข้ อมูล
เปรียบเทียบกับ
ตาแหน่ งลักษณะ
เดียวกันในส่ วน
ราชการอืน่
Bottom – Up Approaches
เก็บข้ อมูลโดยการ
ทอด
แบบสอบถาม
เก็บข้ อมูลจาก
เรื่องเล่า
ประสบการณ์จริง
• ถอดรหัส (Coding) ข้ อมูลประสบการณ์ จริง
• วิเคราะห์ และสรุ ปข้ อมูลทั้งหมดในแบบฟอร์ มทีก่ าหนดขึน้
วิเคราะห์ ข้อมูล
เลือกตัวทีพ่ บว่ าเกิดขึน้ จากในกระบวนการต่ าง ๆ ถี่มากทีส่ ุ ด 5 อันดับแรก (Consistency)
สั งเคราะห์ ข้อมูล
ควำมรู้ : 1.___ 2. ___ 3. ___ 4. ___ 5. ___
ทักษะ : 1.___ 2. ___ 3. ___ 4. ___ 5. ___
สมรรถนะ : 1.___ 2. ___ 3. ___ 4. ___ 5. ___
ต้ นแบบความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ
สงวนลิขสิ ทธ์ สำนักงำน ก.พ.
20
ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ
เชื่อมโยงกับกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล
การสรรหา
หรือ
คัดเลือก
การบรรจุ
และแต่งตัง้
การวางแผน
ทางก้าวหน้ า
ในสายอาชีพ
ความรู้
ทักษะ
สมรรถนะ
การให้
ค่าตอบ
แทน
สงวนลิขสิทธ์ สำนักงำน ก.พ.
การฝึ กฝน
และการ
พัฒนา
การบริ หาร
ผลการ
ปฏิ บตั ิ
ราชการ
แนวคิดเกีย่ วกับสมรรถนะ
โมเดลภูเขานา้ แข็งกับคุณสมบัตขิ อง
ผู้ดารงตาแหน่ ง
ข้อมูลความรูท้ ี่บุคคลมี
ในสาขาต่างๆ
บทบาทที่บุคคล
แสดงออกต่อผูอ้ ื่น
องค์ ความรู้
และ
ทักษะต่ างๆ
ความเชี่ยวชาญ ชานาญ
พิเศษในด้านต่างๆ
ส่ วนเหนือนา้
เห็นได้ ง่าย
วัดและประเมินได้ ง่าย
ไม่ ได้ ทาให้ ผลงานของบุคคลต่ างกัน
(Threshold Competencies)
ส่ วนใต้ นา้
ความรูส้ ึกนึกคิดเกี่ยวกับ
เอกลักษณ์และคุณค่าของตน
เห็นได้ ยาก
วัดและประเมินได้ ยาก
ทาให้ ผลงานของบุคคลต่ างกัน
จินตนาการ แนวโน้ม
บทบาทที่แสดงออกต่ อสังคม (Social Role)
ภาพลักษณ์ ภายใน (Self-Image)
ความเคยชิน
พฤติกรรมซ้าๆ ใน
รูปแบบใดรูปแบบ
หนึ่ง
อุปนิสัย (Traits)
แรงผลักดันเบือ้ งลึก (Motives)
วิธีคิด วิธีปฏิบตั ิตน
อันเป็ นไปโดยธรรมชาติ
ของบุคคล
สงวนลิขสิทธ์ สำนักงำน ก.พ.
(Differentiating Competencies)
ความหมายของสมรรถนะในระบบราชการพลเรื อนไทย
ก.พ. ให้ ความหมายว่ า คือคุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่
เป็ นผลมาจากความรู้ ความสามารถ ทักษะและ
คุณลักษณะอืน่ ๆ ทีท่ าให้ บุคคลสร้ างผลงานได้ โดดเด่ น
ในองค์ การ
คาจากัดความของ
Competencies คุณลักษณะเชิง
พฤติกรรมทีท่ าให้ บุคลากรบางกลุ่ม/บางคน
ในองค์ กรปฏิบัติงานได้ ผลงานโดดเด่ นกว่ า
คนอืน่ ๆ โดยบุคลากรเหล่านีแ้ สดง
คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมดังกล่าว
• มากกว่ าเพือ่ นร่ วมงานอืน่ ๆ
• ในสถานการณ์ หลากหลายกว่ า และ
• ได้ ผลงานดีกว่ าผู้อนื่
หมายเหตุ: อ้างอิงจากแนวคิดเรือ่ งสมรรถนะ (Competencies) อ้างอิงจาก Dr. McClelland ซึ่งตีพิมพ์บทความสาคัญชื่อ “Testing for
Competence rather than Intelligence” (American Psychologist 28. 1-14) อันถือเป็ นจุดกาเนิดของแนวคิด Competency
สงวนลิขสิทธ์ สำนักงำน ก.พ.
สมรรถนะหลัก
คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม
ที่กาหนดเป็ นคุณลักษณะร่ วมของ
ข้ าราชการพลเรือนสามัญทัง้ ระบบ
เพื่อเป็ นการหล่ อหลอมค่ านิยม
และพฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ ร่วมกัน
สงวนลิขสิทธ์ สำนักงำน ก.พ.
การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation-ACH)
คาจากัดความ: ความมุ่งมั่นจะปฏิบัติหน้ าที่ราชการให้ ดีหรือให้ เกินมาตรฐานที่มีอยู่ โดยมาตรฐานนีอ้ าจเป็ นผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมาของตนเอง
หรือเกณฑ์ วัดผลสัมฤทธิ์ท่ สี ่ วนราชการกาหนดขึน้ อีกทัง้ ยังหมายรวมถึงการสร้ างสรรค์ พัฒนาผลงานหรือกระบวนการปฏิบัติงานตามเป้าหมาย
ที่ยากและท้ าทายชนิดที่อาจไม่ เคยมีผ้ ใู ดสามารถกระทาได้ มาก่ อน
ระดับสมรรถนะและตัวอย่ างพฤติกรรมบ่ งชี ้
ระดับที่ 0: ไม่ แสดงสมรรถนะด้ านนี ้ หรือแสดงอย่ างไม่ ชัดเจน
ระดับที่ 1: แสดงความพยายามในการปฏิบัติหน้ าที่ราชการให้ ดี ตัวอย่ างเช่ น ....
พยายามทางานในหน้ าที่ให้ ถูกต้ อง
พยายามปฏิบัติงานให้ แล้ วเสร็ จตามกาหนดเวลา
มานะอดทน ขยันหมั่นเพียรในการทางาน
แสดงออกว่ าต้ องการทางานให้ ได้ ดีขน
ึ้
แสดงความเห็นในเชิงปรั บปรุ งพัฒนาเมื่อเห็นความสูญเปล่ า หรื อหย่ อนประสิทธิภาพในงาน
ระดับที่ 2: แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และสามารถทางานได้ ผลงานตามเป้าหมายที่วางไว้ ตัวอย่ างเช่ น .....
กาหนดมาตรฐาน หรื อเป้าหมายในการทางานเพื่อให้ ได้ ผลงานที่ดี
ติดตาม และประเมินผลงานของตน โดยเทียบเคียงกับเกณฑ์ มาตรฐาน
ทางานได้ ตามเป้าหมายที่ผ้ บ
ู ังคับบัญชากาหนด หรื อเป้าหมายของหน่ วยงานที่รับผิดชอบ
มีความละเอียดรอบคอบ เอาใจใส่ ตรวจตราความถูกต้ อง เพื่อให้ ได้ งานที่มีคุณภาพ
ระดับที่ 3: แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และสามารถปรับปรุ งวิธีการทางานเพื่อให้ ได้ ผลงานที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน้ ตัวอย่ างเช่ น ......
ปรั บปรุ งวิธีการที่ทาให้ ทางานได้ ดีขน
ึ ้ เร็ วขึน้ มีคุณภาพดีขนึ ้ มีประสิทธิภาพมากขึน้ หรื อทาให้ ผ้ รู ั บบริ การพึงพอใจมากขึน้
เสนอหรื อทดลองวิธีการทางานแบบใหม่ ท่ ค
ี าดว่ าจะทาให้ งานมีประสิทธิภาพมากขึน้
ระดับที่ 4: แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และสามารถกาหนดเป้าหมาย รวมทัง้ พัฒนาวิธีการทางาน เพื่อให้ ได้ ผลงานที่โดดเด่ น หรือแตกต่ างอย่ างไม่ เคยมีใครทาได้ มาก่ อน
ตัวอย่ างเช่ น ......
กาหนดเป้าหมายที่ท้าทาย และเป็ นไปได้ ยาก เพื่อให้ ได้ ผลงานที่ดีกว่ าเดิมอย่ างเห็นได้ ชัด
พัฒนาระบบ ขัน
้ ตอน วิธีการทางาน เพื่อให้ ได้ ผลงานที่โดดเด่ น และแตกต่ างไม่ เคยมีใครทาได้ มาก่ อน
ระดับที่ 5: แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และกล้ าตัดสินใจ แม้ ว่าการตัดสินใจนัน้ จะมีความเสี่ยง เพื่อให้ บรรลุเป้าหมายของหน่ วยงาน หรือส่ วนราชการ ตัวอย่ างเช่ น ......
ตัดสินใจได้ โดยมีการคานวณผลได้ ผลเสียอย่ างชัดเจน และดาเนินการ เพื่อให้ ภาครั ฐและประชาชนได้ ประโยชน์ สูงสุด
บริ หารจัดการและทุ่มเทเวลา ตลอดจนทรั พยากร เพื่อให้ ได้ ประโยชน์ สูงสุดต่ อภารกิจของหน่ วยงานตามที่วางแผนไว้
สงวนลิขสิทธ์ สำนักงำน ก.พ.
บริการที่ดี (Service Mind-SERV)
คาจากัดความ: ความตัง้ ใจและความพยายามของข้ าราชการในการให้ บริการต่ อประชาชน ข้ าราชการ หรือหน่ วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง
ระดับสมรรถนะและตัวอย่ างพฤติกรรมบ่ งชี ้
ระดับที่ 0: ไม่ แสดงสมรรถนะด้ านนี ้ หรือแสดงอย่ างไม่ ชัดเจน
ระดับที่ 1: สามารถให้ บริการที่ผ้ รู ั บบริ การต้ องการได้ ด้วยความเต็มใจ
ให้ การบริ การที่เป็ นมิตร สุภาพ
ให้ ข้อมูล ข่ าวสาร ที่ถูกต้ อง ชัดเจนแก่ ผ้ รู ั บบริ การ
แจ้ งให้ ผ้ รู ั บบริ การทราบความคืบหน้ าในการดาเนินเรื่ อง หรื อขัน
้ ตอนงานต่ างๆ ที่ให้ บริ การอยู่
ประสานงานภายในหน่ วยงาน และกับหน่ วยงานอื่นที่เกี่ยวข้ อง เพื่อให้ ผ้ รู ั บบริ การได้ รับบริ การที่ต่อเนื่องและรวดเร็ ว
ระดับที่2: แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และช่ วยแก้ ปัญหาให้ แก่ ผ้ รู ั บบริ การ
รั บเป็ นธุระ ช่ วยแก้ ปัญหาหรื อหาแนวทางแก้ ไขปั ญหาที่เกิดขึน
้ แก่ ผ้ รู ั บบริ การอย่ างรวดเร็ ว ไม่ บ่ายเบี่ยง ไม่ แก้ ตัว หรื อปั ดภาระ
ดูแลให้ ผ้ รู ั บบริ การได้ รับความพึงพอใจ และนาข้ อขัดข้ องใดๆ ในการให้ บริ การไปพัฒนาการให้ บริ การให้ ดีย่ งิ ขึน
้
ระดับที่ 3: แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และให้ บริการที่เกินความคาดหวัง แม้ ต้องใช้ เวลาหรือความพยายามอย่ างมาก
ให้ เวลาแก่ ผ้ รู ั บบริ การเป็ นพิเศษ เพื่อช่ วยแก้ ปัญหาให้ แก่ ผ้ รู ั บบริ การ
ให้ ข้อมูล ข่ าวสาร ที่เกี่ยวข้ องกับงานที่กาลังให้ บริ การอยู่ ซึ่งเป็ นประโยชน์ แก่ ผ้ รู ั บบริ การ แม้ ว่าผู้รับบริ การจะไม่ ได้ ถามถึง หรื อไม่ ทราบมาก่ อน
นาเสนอวิธีการในการให้ บริ การที่ผ้ รู ั บบริ การจะได้ รับประโยชน์ สูงสุด
ระดับที่ 4: แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และเข้ าใจและให้ บริ การที่ตรงตามความต้ องการที่แท้ จริ งของผู้รับบริ การได้
เข้ าใจ หรื อพยายามทาความเข้ าใจด้ วยวิธีการต่ างๆ เพื่อให้ บริ การได้ ตรงตามความต้ องการที่แท้ จริ งของผู้รับบริ การ
ให้ คาแนะนาที่เป็ นประโยชน์ แก่ ผ้ รู ั บบริ การ เพื่อตอบสนองความจาเป็ นหรื อความต้ องการที่แท้ จริ งของผู้รับบริ การ
ระดับที่ 5: แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และให้ บริ การที่เป็ นประโยชน์ อย่ างแท้ จริ งให้ แก่ ผ้ รู ั บบริ การ
คิดถึงผลประโยชน์ ของผู้รับบริ การในระยะยาว และพร้ อมที่จะเปลี่ยนวิธีหรื อขัน
้ ตอนการให้ บริ การ เพื่อประโยชน์ สูงสุดของผู้รับบริ การ
เป็ นที่ปรึ กษาที่มีส่วนช่ วยในการตัดสินใจที่ผ้ รู ั บบริ การไว้ วางใจ
สามารถให้ ความเห็นที่แตกต่ างจากวิธีการ หรื อขัน
้ ตอนที่ผ้ รู ั บบริ การต้ องการให้ สอดคล้ องกับความจาเป็ น ปั ญหา โอกาส เพื่อเป็ นประโยชน์ อย่ างแท้ จริง
ของผู้รับบริการ
สงวนลิขสิทธ์ สำนักงำน ก.พ.
การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise-EXP)
คาจากัดความ: ความสนใจใฝ่ รู้ สั่งสม ความรู้ความสามารถของตนในการปฏิบัติหน้ าที่ราชการ ด้ วยการศึกษา ค้ นคว้ าและ พัฒนาตนเองอย่ างต่ อเนื่อง
จนสามารถประยุกต์ ใช้ ความรู้เชิงวิชาการและเทคโนโลยีต่างๆ เข้ ากับการปฏิบัติราชการให้ เกิดผลสัมฤทธิ์
ระดับสมรรถนะและตัวอย่ างพฤติกรรมบ่ งชี ้
ระดับที่ 0: ไม่ แสดงสมรรถนะด้ านนี ้ หรือแสดงอย่ างไม่ ชัดเจน
ระดับที่ 1: แสดงความสนใจและติดตามความรู้ ใหม่ ๆ ในสาขาอาชีพของตน หรื อที่เกี่ยวข้ อง
ศึกษาหาความรู้ สนใจเทคโนโลยีและองค์ ความรู้ ใหม่ ๆ ในสาขาอาชีพของตน
พัฒนาความรู้ ความสามารถของตนให้ ดีย่ งิ ขึน
้
ติดตามเทคโนโลยี และความรู้ ใหม่ ๆ อยู่เสมอด้ วยการสืบค้ นข้ อมูลจากแหล่ งต่ างๆ ที่จะเป็ นประโยชน์ ต่อการปฏิบัติราชการ
ระดับที่ 2: แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และมีความรู้ ในวิชาการ และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ในสาขาอาชีพของตน
รอบรู้ ในเทคโนโลยีหรื อองค์ ความรู้ ใหม่ ๆ ในสาขาอาชีพของตน หรื อที่เกี่ยวข้ อง ซึ่งอาจมีผลกระทบต่ อการปฏิบัติหน้ าที่ราชการของตน
รั บรู้ ถึงแนวโน้ มวิทยาการที่ทน
ั สมัย และเกี่ยวข้ องกับงานของตน อย่ างต่ อเนื่อง
ระดับที่ 3: แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และสามารถนาความรู้ วิทยาการ หรื อเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาปรั บใช้ กับการปฏิบัติหน้ าที่ราชการ
สามารถนาวิชาการ ความรู้ หรื อเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาประยุกต์ ใช้ ในการปฏิบัติหน้ าที่ราชการได้
สามารถแก้ ไขปั ญหาที่อาจเกิดจากการนาเทคโนโลยีใหม่ มาใช้ ในการปฏิบัติหน้ าที่ราชการได้
ระดับที่ 4: แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และศึกษา พัฒนาตนเองให้ มีความรู้ และความเชี่ยวชาญในงานมากขึน้ ทัง้ ในเชิงลึก และเชิงกว้ างอย่ างต่ อเนื่อง
 มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในเรื่ องที่มีลักษณะเป็ นสหวิทยาการ และสามารถนาความรู้ ไปปรั บใช้ ได้ อย่ างกว้ างขวาง
สามารถนาความรู้ เชิงบูรณาการของตนไปใช้ ในการสร้ างวิสัยทัศน์ เพื่อการปฏิบัติงานในอนาคต
ระดับที่ 5: แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และสนับสนุนการทางานของคนในส่ วนราชการที่เน้ นความเชี่ยวชาญในวิทยาการด้ านต่ างๆ
สนับสนุนให้ เกิดบรรยากาศแห่ งการพัฒนาความเชี่ยวชาญในองค์ กร ด้ วยการจัดสรรทรั พยากร เครื่ องมือ อุปกรณ์ ท่ เี อือ้ ต่ อการพัฒนา
บริ หารจัดการให้ ส่วนราชการนาเทคโนโลยี ความรู้ หรื อวิทยาการใหม่ ๆ มาใช้ ในการปฏิบัติหน้ าที่ราชการในงานอย่ างต่ อเนื่อง
สงวนลิขสิทธ์ สำนักงำน ก.พ.
การยึดมั่นในความถูกต้ องชอบธรรม และจริยธรรม (Integrity – ING)
คาจากัดความ: การดารงตนและประพฤติปฏิบัติอย่ างถูกต้ องเหมาะสมทัง้ ตามกฎหมาย คุณธรรม จรรยาบรรณแห่ งวิชาชีพ และจรรยาข้ าราชการ
เพื่อรักษาศักดิ์ศรีแห่ งความเป็ นข้ าราชการ
ระดับสมรรถนะและตัวอย่ างพฤติกรรมบ่ งชี ้
ระดับที่ 0: ไม่ แสดงสมรรถนะด้ านนี ้ หรือแสดงอย่ างไม่ ชัดเจน
ระดับที่ 1: มีความสุจริต
ปฏิบัติหน้ าที่ด้วยความสุจริ ต ไม่ เลือกปฏิบัติ ถูกต้ องตามกฎหมาย และวินัยข้ าราชการ
แสดงความคิดเห็นตามหลักวิชาชีพอย่ างสุจริ ต
ระดับที่ 2: แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และมีสัจจะเชื่อถือได้
รั กษาคาพูด มีสัจจะ และเชื่อถือได้
แสดงให้ ปรากฎถึงความมีจิตสานึกในความเป็ นข้ าราชการ
ระดับที่ 3: แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และยึดมั่นในหลักการ
ยึดมั่นในหลักการ จรรยาบรรณแห่ งวิชาชีพ และจรรยาข้ าราชการไม่ เบี่ยงเบนด้ วยอคติหรื อผลประโยชน์ กล้ ารั บผิด และรั บ ผิดชอบ
เสียสละความสุขส่ วนตน เพื่อให้ เกิดประโยชน์ แก่ ทางราชการ
ระดับที่ 4: แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และยืนหยัดเพื่อความถูกต้ อง
ยืนหยัดเพื่อความถูกต้ องโดยมุ่งพิทก
ั ษ์ ผลประโยชน์ ของทางราชการ แม้ ตกอยู่ในสถานการณ์ ท่ อี าจยากลาบาก
กล้ าตัดสินใจ ปฏิบัติหน้ าที่ราชการด้ วยความถูกต้ อง เป็ นธรรม แม้ อาจก่ อความไม่ พึงพอใจให้ แก่ ผ้ เู สียประโยชน์
ระดับที่ 5: แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และอุทิศตนเพื่อความยุติธรรม
ยืนหยัดพิทก
ั ษ์ ผลประโยชน์ และชื่อเสียงของประเทศชาติแม้ ในสถานการณ์ ท่ อี าจเสี่ยงต่ อความมั่นคงในตาแหน่ งหน้ าที่การงาน หรืออาจ
เสี่ยงภัยต่ อชีวิต
สงวนลิขสิทธ์ สำนักงำน ก.พ.
การทางานเป็ นทีม (Teamwork – TW)
คาจากัดความ: ความตัง้ ใจที่จะทางานร่ วมกับผู้อ่ นื เป็ นส่ วนหนึ่งของทีม หน่ วยงาน หรือส่ วนราชการ โดยผู้ปฏิบัติมีฐานะเป็ นสมาชิก ไม่ จาเป็ นต้ องมี
ฐานะหัวหน้ าทีม รวมทัง้ ความสามารถในการสร้ างและรักษาสัมพันธภาพกับสมาชิกในทีม
ระดับสมรรถนะและตัวอย่ างพฤติกรรมบ่ งชี ้
ระดับที่ 0: ไม่ แสดงสมรรถนะด้ านนี ้ หรือแสดงอย่ างไม่ ชัดเจน
ระดับที่ 1: ทาหน้ าที่ของตนในทีมให้ สาเร็จ
สนับสนุนการตัดสินใจของทีม และทางานในส่ วนที่ตนได้ รับมอบหมาย
รายงานให้ สมาชิกทราบความคืบหน้ าของการดาเนินงานของทีม
ให้ ข้อมูล ที่เป็ นประโยชน์ ต่อการทางานของทีม
ระดับที่ 2: แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และให้ ความร่ วมมือในการทางานกับเพื่อนร่ วมงาน
สร้ างสัมพันธ์ เข้ ากับผู้อ่ น
ื ในกลุ่มได้ ดี
ให้ ความร่ วมมือกับผู้อ่ น
ื ในทีมด้ วยดี
กล่ าวถึงเพื่อนร่ วมงานในเชิงสร้ างสรรค์ และแสดงความเชื่อมั่นในศักยภาพของเพื่อนร่ วมทีม ทัง้ ต่ อหน้ าและลับหลัง
ระดับที่ 3: แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และประสานความร่ วมมือของสมาชิกในทีม
รั บฟั งความเห็นของสมาชิกในทีม และเต็มใจเรี ยนรู้ จากผู้อ่ น
ื
ตัดสินใจหรื อวางแผนงานร่ วมกันในทีมจากความคิดเห็นของเพื่อนร่ วมทีม
ประสานและส่ งเสริ มสัมพันธภาพอันดีในทีม เพื่อสนับสนุนการทางานร่ วมกันให้ มีประสิทธิภาพยิ่งขึน
้
ระดับที่ 4: แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และสนับสนุน ช่ วยเหลือเพื่อนร่ วมทีม เพื่อให้ งานประสบความสาเร็จ
ยกย่ อง และให้ กาลังใจเพื่อนร่ วมทีมอย่ างจริ งใจ
ให้ ความช่ วยเหลือเกือ้ กูลแก่ เพื่อนร่ วมทีม แม้ ไม่ มีการร้ องขอ
รั กษามิตรภาพอันดีกับเพื่อนร่ วมทีม เพื่อช่ วยเหลือกันในวาระต่ างๆให้ งานสาเร็ จ
ระดับที่ 5: แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และสามารถนาทีมให้ ปฏิบัติภารกิจให้ ได้ ผลสาเร็จ
เสริ มสร้ างความสามัคคีในทีม โดยไม่ คานึงความชอบหรื อไม่ ชอบส่ วนตน
คลี่คลาย หรื อแก้ ไขข้ อขัดแย้ งที่เกิดขึน
้ ในทีม
ประสานสัมพันธ์ สร้ างขวัญกาลังใจของทีมเพื่อปฏิบัติภารกิจของส่ วนราชการให้ บรรลุผล
สงวนลิขสิทธ์ สำนักงำน ก.พ.
การนาสมรรถนะไปใช้ ในการสรรหาและเลือกสรร
การคัดเลือกแบบอิงสมรรถนะ
องค์ความรู ้
และ
ทักษะต่างๆ
บทบาทที่แสดงออกต่อสังคม (Social Role)
ภาพลักษณ์ภายใน (Self-Image)
อุปนิสยั (Traits)
- การทดสอบความสามารถทั่วไป
- การทดสอบความสามารถเฉพาะตาแหน่ ง
- การทดสอบ/ประเมินทักษะต่ าง ๆ
- การสั มภาษณ์ ม่ ุงค้ นหาพฤติกรรม
- แบบประเมินบุคลิกภาพ
- การทดสอบด้ วยสถานการณ์ จาลอง
- แบบประเมินชีวประวัติ
แรงผลักดันเบื้ องลึก (Motives)
แนวคิดเกีย่ วกับการคัดเลือกบุคลากร : Put the right person to the right job
การนาสมรรถนะไปใช้ ในการพัฒนา
การพัฒนาควรมององค์รวม
องค์ความรู ้
และ
ทักษะต่างๆ
บทบาทที่แสดงออกต่อสังคม (Social Role)
ภาพลักษณ์ภายใน (Self-Image)
อุปนิสยั (Traits)
แรงผลักดันเบื้ องลึก (Motives)
- องค์ ความรู้ และทักษะ ต่ าง ๆ ที่ทา
ให้ พนักงานทางานได้ ผลดี
- พฤติกรรมในการทางานที่พนักงาน
ที่มีผลงานโดดเด่ นกระทา
การฝึ กอบรมแบบอิงสมรรถนะ
วงจรของการพัฒนา
การเรียนรู้
การประเมิน
การนาไปใช้
การนาสมรรถนะไปใช้ ในการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน
ผลงาน
โดยทั ่วไปแล้ว “ผลงาน ประกอบด้วยลักษณะสาคัญ 2 ประการ ได้แก่
(1) เป้าประสงค์ในเชิงปริมาณหรือตัวเลข (Quantitative Targets) และ
(2) เป้าประสงค์ในเชิงคุณภาพหรือพฤติกรรม (Competency)
เป้าประสงค์ในเชิง
ปริมาณ
How
Competencies
เป้าประสงค์ในเชิง
คุณภาพ/พฤติกรรมที่
จาเป็ นในการปฏิบตั ิงาน
What
มุ่งเน้นผล
ระยะสั้น
MBO
มุ่งเน้นการพัฒนา
ศักยภาพและผลใน
ระยะยาว
การประเมินและการนาสมรรถนะไปใช้ ในการเลือ่ น
ตาแหน่ งและแต่ งตั้ง
จุดมุ่งหมาย เพือ่ หาผู้ทจี่ ะทางานได้ ดใี นตาแหน่ งทีจ่ ะ
ไปครอง
• ประเมินผลงานในอดีต (ถ้ าลักษณะงานคล้ ายกันมี
แนวโน้ มว่ าจะทาได้ คล้ ายกับที่เคยทามาแล้ ว)
• ประเมินความรู้ , ทักษะ
• ประเมินสมรรถนะ (พฤติกรรม)
•
ตัวอย่างการตรวจสอบความรู้ ทักษะ สมรรถนะที่จาเป็ นในตาแหน่ งที่จะแต่งตัง้
ตาแหน่ งที่จะแต่ งตั้ง : ตาแหน่ งนักวิชาการอุตสาหกรรม ชานาญการพิเศษ
ผลการตรวจสอบนายสมชาย รั กงาน
1
ความรู้ ความรู้ที่จาเป็ นในงาน
ความรู้ด้านกฎหมาย
ทักษะภาษา
ทักษะ ทักษะคอมพิวเตอร์
ทักษะการคานวณ
ทักษะการจัดการข้ อมูล
มุ่งผลสั มฤทธิ์
สมรรถนะ การบริการที่ดี
ความเชี่ยวชาญในงาน
จริยธรรม
การทางานเป็ นทีม
2
3
4
5
6
ตัวอย่างการตรวจสอบความรู้ ทักษะ สมรรถนะที่จาเป็ นในตาแหน่ งที่จะแต่งตัง้
ตาแหน่ งที่จะแต่ งตั้ง : ตาแหน่ งนักวิชาการอุตสาหกรรม ชานาญการพิเศษ
นายสมชาย
นางสมศรี
นายสมศักดิ์
ความรู้ ความรู้ที่จาเป็ นในงาน
ความรู้ด้านกฎหมาย
ทักษะภาษา
ทักษะ ทักษะคอมพิวเตอร์
ทักษะการคานวณ
ทักษะการจัดการข้ อมูล
มุ่งผลสั มฤทธิ์
สมรรถนะ การบริการที่ดี
ความเชี่ยวชาญในงาน
จริยธรรม
การทางานเป็ นทีม
ระดับ 3
ระดับ 4
ระดับ 2
ระดับ 2
ระดับ 3
ระดับ 3
ระดับ 2
ระดับ 4
ระดับ 3
ระดับ 4
ระดับ 3
33
ระดับ 3
ระดับ 3
ระดับ 3
ระดับ 3
ระดับ 2
ระดับ 2
ระดับ 3
ระดับ 3
ระดับ 3
ระดับ 3
ระดับ 3
31
ระดับ 4
ระดับ 4
ระดับ 2
ระดับ 3
ระดับ 3
ระดับ 4
ระดับ 3
ระดับ 4
ระดับ 4
ระดับ 3
ระดับ 3
37