1-PM and Competency Presentation

Download Report

Transcript 1-PM and Competency Presentation

เอกสารการบรรยายเรือ
่ งการบริหารผลงานและการกาหนดสมรรถนะ
ประจาตาแหน่ง
โครงการพัฒนาการบริหารผลการปฏิบตั ิราชการ การวางแผนทางเดินสายอาชีพและการจัดการความรูข้ อง
สานักงานปลัดกระทรวงการคลัง
โดยสถาบันวิจยั และให้คาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
0
ประเด็นในวันนี้
•
กรอบแนวคิดและกระบวนการกาหนดตัวชี้วัดรายบุคคล
•
กระบวนการในการประเมินสมรรถนะหลัก
•
กระบวนการกาหนดสมรรถนะประจาตาแหน่ง
1
เหตุผลหลักของ
การเปลี่ยนแปลงการบริหารผลงาน (ผลการปฏิบตั ริ าชการ)
มาตรา 74 ข้าราชการพลเรือนสามัญผูใ้ ดประพฤติตน
อยูใ่ นจรรยาและระเบียบวินัยและปฏิบตั ิราชการอย่างมี
ประสิทธิภาพและเกิ ดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิ จของรัฐ ให้
ผูบ้ ังคับ บัญ ชาพิจ ารณาเลื่ อนเงิ นเดือนให้ต ามควรแก่
กรณี ต ามที่ ก าหนดในกฎ ก.พ. และจะให้บ าเหน็ จ
ความชอบอย่างอื่น ซึ่ งอาจเป็ นคาชมเชย เครื่องเชิดชู
เกียรติ หรือรางวัล ด้วยก็ได้
มาตรา 76 ให้ผู บ้ ัง คับ บัญ ชามี หน้าที่ป ระเมิ น ผลการ
ปฏิ บั ติ รา ชก าร ขอ งผู ้ อ ยู่ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชา เพื่ อใ ช้
ประกอบการพิจารณาแต่งตั้ง และเลื่อนเงินเดือนทั้งนี้
ตามหลัก เกณฑ์แ ละวิ ธี ก ารที่ ก.พ. ก าหนด ผลการ
ประเมินตามวรรคหนึ่งให้นาไปใช้เพื่อประโยชน์ในการ
พัฒนาและเพิ่มพูนประสิทธิภาพการปฏิบตั ิราชการด้วย
•
หนังสือสานักงาน ก.พ. ที่ นร 1012/ว 20 ลงวันที่ 3 กันยายน 2552 เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบตั ิงานของข้าราชการพลเรือนสามัญ
•
หนังสือสานักงาน ก.พ. ที่ นร 1008/ว 27 ลงวันที่ 29 กันยายน 2552 เรื่อง มาตรฐานและแนวทางการ
กาหนดความรูค้ วามสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จาเป็ นสาหรับตาแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ
•
หนังสือสานักงาน ก.พ. ที่ นร 1008/ว 28 ลงวันที่ 22 ตุลาคม 2552 เรื่องการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการตาม
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
2
แนวคิดของที่ปรึกษาในการบริหารผลงาน
3
ภาพรวมของระบบการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการ
กาหนดโดยพิจารณา
ความสาเร็จของงานและ
ตกลงกันระหว่าง
ผู้ปฏิบัติและผูบ
้ งั คับบัญชา
สำหรับรอบกำร
ประเมินนี้ ของ
สำนักงำนปลัดกระทรวงกำรคลัง
จะยังคงใช้สดั ส่วน
70:30
จัดทาตัวชีว
้ ด
ั
ผลงานและค่า
เป้าหมาย
คะแนน
ประเมินผลสัมฤทธิ์
ของงาน
คะแนนผล
การปฎิบต
ั งิ าน
พิจารณาเลือ
่ น
เงินเดือน
แจ้งผลการปฏิบต
ั งิ าน
และปรึกษาหารือถึง
การพัฒนาปรับปรุง
โดยอ้างอิงจากข้อกาหนด
สมรรถนะซึง่ ประกาศโดย
ส่วนราชการ และ ก.พ.
องค์ประกอบ
พฤติกรรม
สมรรถนะ
คะแนน
ประเมินสมรรถนะ
สาหรับข้าราชการ
ผู้อยูใ
่ นระหว่างทดลอง
ปฏิบต
ั ห
ิ น้าทีร่ าชการ
ใช้สด
ั ส่วน 50:50
เป็นเวลา 2 ช่วงการประเมิน
ติดต่อกัน
4
การกาหนดตัวชี้วัดผลงาน (70 คะแนนแรก)

ขั้นตอนที่ 1: เลือกใช้เทคนิควิธีการวัดวิธีใดวิธีการหนึ่งหรือหลายวิธีผสมกันก็ได้

กำรถ่ำยทอดตัวชี้ วัดผลสำเร็จของงำนจำกบนลงล่ำง (Goal Cascading Method)

กำรสอบถำมควำมคำดหวังของผูร้ บั บริกำร (Customer-Focused Method)

กำรไล่เรียงตำมผังกำรเคลื่อนของงำน (Work Flow Charting Method)

กำรพิจำรณำจำกประเด็นสำคัญที่ตอ้ งปรับปรุง (Issue- Driven)

ขั้นตอนที่ 2: สรุปตัวชี้วัดลงในแบบสรุปการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน

ขั้นตอนที่ 3: ระบุค่าเป้าหมาย โดยแยกออกเป็ น 5 ระดับลงในแบบฟอร์ม

ขั้นตอนที่ 4: กาหนดน้ าหนักของแต่ละตัวชี้วัด
5
ตัวอย่างของตัวชี้วัดซึ่งมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ในมิตทิ ี่แตกต่างกัน
ปริมาณ
คุณภาพ
ปริมาณ
ความเร็ว
• ร้อยละของจานวนการดาเนินการ
....................... ได้สาเร็จ เทียบ
กับเป้าหมายตามแผนงาน
1
2
3
4
5
80
ชิ้ น
90
ชิ้ น
100
ชิ้ น
110
ชิ้ น
120
ชิ้ น
คุณภาพ
ปริมาณ
ความเร็ว
• ร้อยละของกระบวนงานหลักที่
ดาเนินการเกีย
่ วกับ...............
ได้แล้วเสร็จ เทียบกับเป้าหมาย
ตามกรอบเวลา/ปฏิทน
ิ ทีก
่ าหนดไว้
ตาม
แผนงาน
1
2
3
4
5
มากกว่า ภายใน ภายใน ภายใน ภายใน
4 วัน 4 วัน 3 วัน 2 วัน 1 วัน
คุณภาพ
ความเร็ว
• ระดับความพึงพอใจของ
ผู้รับบริการในด้าน…………………………………..
ต่อการปฏิบต
ั งิ านของเจ้าหน้าที่
1
2
3
4
5
ควร
แก้ไข
พอใช้
ดี
โดดเด่น
เป็ น
ตัวอย่าง
ตัวชี้วัดทีเ่ สนอให้กาหนดขึน
้ นั้นส่วนใหญ่พยายามวัดในเชิงสัมพัทธ์ (เชิงเปรียบเทียบกับเป้าหมาย) มากกว่าการกาหนดระดับที่ตายตัว
เพื่อให้เกิดความยืดหยุน
่ สอดคล้องกับปัจจัยแวดล้อมทีเ่ ป็นพลวัต พร้อมทั้งมีตว
ั ชีว
้ ด
ั ที่หลากหลายในมิติทแ
ี่ ตกต่างกัน
6
กระบวนการในการกาหนดตัวชี้วัดผลงานระดับบุคคล
ตัวชี้ วัดระดับสำนัก
จำกคำรับรอง
งำนตำมหน้ำที่
รับผิดชอบใน JDs
ตัวชี้ วัดระดับ
กลุ่มงำน/ฝ่ ำย
ตัวชี้ วัดระดับ
บุคคล
งำนตำมหน้ำที่
รับผิดชอบใน JDs
ในรอบนี้ ตัวชี้ วัดตำม
คำรับรองต้อง
ครบถ้วนสมบูรณ์
งำนตำมหน้ำที่
รับผิดชอบใน JDs
โครงกำร
พิเศษ
7
กระบวนการกลั ่นกรองเพื่อพัฒนาตัวชี้วัด
High
Ability to Influence A
High
Low
Key Performance
Indicators (KPIs)
B
Low
High
Degree of Impact
Effectiveness of Linkage to
C
responsibility
กำรคัดกรองตัวชี้ วัดได้พิจำรณำในประเด็นของ
(A)ควำมสำมำรถของผูด้ ำรงตำแหน่ งในกำร
ควบคุม
(B)ระดับของผลกระทบ
(C)ควำมยึดโยงกับบทบำทและภำระงำนในหน้ำที่
(D)ควำมชัดเจนในกำรมอบหมำยและวัดผล ซึ่งจะ
ได้มำซึ่งตัวชี้ วัดสำหรับนำไปใช้ต่อไป
Low
Low
D
Ability to Clearly Assign &
measure
High
8
จานวน KPIs ที่เหมาะสม
•
จานวนที่เหมาะสม
1-2
จำนวนที่น้อยค่อนข้ำง
เสี่ยงสูงหำกคะแนนใน
ตัวชี้ วัดนั้นสูงหรือตำ่
เกินไปอำจส่งผลให้กำร
ประเมินเบี่ยงเบนได้
•

3
4-6
จำนวนที่ค่อนข้ำง
เหมำะสมกับหน่ วยงำน
ทัว่ ไป สำมำรถจดจำ
และบรรลุได้จริง
7-10
>10
จำนวนที่มำกค่อนข้ำง
ยำกต่อกำรบรรลุได้ใน
ระดับสูงแก่ทุกตัวชี้ วัด
แต่มีขอ้ ดีที่ช่วยให้ทรำบ
จุดแข็ง-อ่อนได้ชดั เจน
ตัวชี้วัดของหน่วยงาน/หน้างาน/ตาแหน่งงานต่างๆ สามารถปรับเปลี่ยนได้ทุกรอบการ
ประเมิน หรืออาจใช้ตวั ชี้วัดเดิมได้ อย่างไรก็ดีที่ปรึกษาสนับสนุนให้ต้งั เป้าหมายที่สูงขึ้น
ท้าทายขึ้น หากปั จจัยแวดล้อมและนโยบายเอื้ออานวย
9
ตัวอย่างการกาหนดเป้าหมายเพื่อวัดความสาเร็จของผลงาน
ในกำรคิดตัวชี้ วัด ควรคิดเพื่อให้ได้ครบทั้งขั้นตอนกำร
ทำงำน
ผลสัมฤทธิ์
RESULTS
ภำรกิจ
ยุทธศำสตร์
วัตถุประสงค์
ปั จจัยนำเข้ำ
INPUTS
กระบวน
กำร
ผลลัพธ์
ผลงำน
PROCESSES
OUTPUTS
OUTCOMES
OBJECTIVES
จัดทำเครื่องมือ
ควำมคุม้ ค่ำ
ควำมประหยัด
ควำมครบถ้วน
ควำมมีประสิทธิภำพ
ควำมมีส่วนร่วม
จำนวน
คุณภำพ
ผลกระทบ
เวลำส่งมอบ
10
การกาหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์
กาหนดค่าเป้าหมายแยกเป็น 5
ระดั
2
3 บ
4
1
5
ค่าเป้าหมายในระดับ
ท้าทาย ยาก
มีโอกาสสาเร็จ <50%
ค่าเป้าหมาย
ต่าสุดที่รับได้
ค่าเป้าหมาย
ในระดับ
ต่ากว่ามาตรฐาน
ค่าเป้าหมายที่มี
ความยาก
ปานกลาง
อำจมีกำรกำหนด
Percentile
เปรียบเทียบใน
ลักษณะงำนที่
คล้ำยกัน
ในรอบนี้ ต้องกำหนดเป้ำหมำย
ที่ระดับ 3 มิเช่นนั้นอำจมี
ปั ญหำตอนเลื่อนเงินเดือน
ค่าเป้าหมายที่เป็น
ค่ามาตรฐาน
โดยทั่วไป
ลาดับการพิจารณา
1
2
4
3
5
11
การกาหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์
เกณฑ์การกาหนดค่าเป้าหมาย
การกระจายตัวของผลการประเมิน
S-M-A-R-T
Specific
สามารถปฏิบต
ั งิ านได้ตาม
เป้าหมาย
Number of officers
Measurable
0
1
2
3
4
5
Unsatisfactory
Improvement
required
Moderate
Good Performer
Exceeds
expectations
Outstanding
Attainable, Ambitious
Realistic and Relevant
Time-bound
Performance measurement
Measure against target
ณ ที่ 3 คะแนนแสดงให้เห็นว่าได้ปฏิบต
ั ิงานบรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมายแล้ว
12
สร้างทางเลือกในการได้คะแนนอย่างเหมาะสม-สมา่ เสมอ
1
2
3
4
5
มีช่องว่ำงของคะแนน
ส่งผลให้เกิดควำมส่งต่อกำร
ประเมินระดับ
1
1
2
2
3
3
4
4
5
5
กำหนดระดับเป้ำหมำย
ครบถ้วน
13
การกาหนดน้ าหนักของแต่ละตัวชี้วัด
 ตัวชี้วัดแต่ละตัวไม่ควรต ่ากว่า 10 คะแนน
 น้ าหนักของแต่ละตัวชี้วัดจะพิจารณาจากปั จจัย
 เวลำที่ใช้ในกำรปฏิบต
ั ิงำนที่เกี่ยวข้องกับตัวชี้ วัดดังกล่ำว โดยหำกใช้เวลำกับผลงำนตัวชี้ วัด
ตัวใดมำกก็ควรให้น้ ำหนักตัวชี้ วัดตัวนั้นมำกด้วย
 ควำมสำคัญและควำมยำกของงำน
โดยหำกผลงำนตัวชี้ วัดตัวใดมีควำมสำคัญและ
มีควำมยำกในกำรบรรลุผลสำเร็จมำกก็ควรให้น้ ำหนักตัวชี้ วัดตัวนั้นมำกด้วย
 ผลกระทบของควำมสำเร็จของตัวชี้ วัดต่อกลุ่มงำน/ส่วนรำชกำร โดยหำกผลงำนตัว ชี้ วัดตัว
ใดมีผลกระทบต่ อควำมสำเร็ จของกลุ่ มงำน/ส่ว นรำชกำรมำกก็ ค วรให้น้ ำหนั กตั ว ชี้ วัด
ตัวนั้นมำกด้วย
14
ตัวอย่างการกรอกแบบฟอร์มตัวชี้วัด
คะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย
ตัวชี้ วัดผลงาน
คะแนน น้ าหนัก รวมคะแนน
(ก)
(ข)
(กXข)
1
2
3
4
5
ระดับควำมสำเร็จของกำรจัดกำร
ควำมรูเ้ พื่อสนับสนุ นประเด็น
ยุทธศำสตร์
ระดับ 1
ระดับ 2
ระดับ 3
ระดับ 4
ระดับ 5
35%
จำนวนผูป้ ระกอบกำรที่ได้รบั กำร
ฝึ กอบรมถ่ำยทอดควำมรูใ้ นโครงกำร
XXX
50 รำย 100 รำย 150 รำย 200 รำย 250 รำย
30%
ร้อยละของข้ำรำชกำรในหน่ วยงำนที่
เข้ำร่วมกำรฝึ กอบรมเรื่องระบบ
YYY
75
80
85
90
95
10%
ระดับควำมพึงพอใจของหน่ วยงำน
ภำยใน
75
80
85
90
95
15%
.....................
รวม 100%
15
ตัวอย่างการใช้แบบฟอร์มในการประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการ
ส่วนผลสัมฤทธิ์
(80%)
70 *80%= 56
ส่วนสมรรถนะ
(20%)
xxxxxx
70
75
80
85
90
4
50% 2.0
*20%=
xxxxxx
5%
15%
20%
25%
30%
3
50% 1.5
รวม
เต็ม 5
3.5
เต็ม 100
70
คะแนน
เป็ นตัวอย่างเพื่อสะดวกต่อการทาความเข้าใจเท่านั้น การนาไปใช้จริงควรมีตวั ชี้ วัด 4-6 ตัวและมีการกระจายตัวของน้ าหนักอย่างสมา่ เสมอ
16
ความสอดคล้องของผลการประเมินรายบุคคลกับภาพรวมของหน่วยงาน
ผลการ
ประเมิน
ข้อสังเกตเพือ
่ การตรวจสอบ
5
4
ในทีม A ผลการประเมินการปฏิบต
ั ริ าชการของ
ทีมในภาพรวมอยู่ที่ 3.5 คะแนน ในขณะที่
คะแนนรายบุคคลอยู่ระหว่าง 1-2 คะแนน
สะท้อนให้เห็นว่าการให้คะแนนรายบุคคลต่า
หรือถูกกดมากเกินไป
ทีม B สะท้อนภาพในทางตรงกันข้ามกับทีม A
กล่าวคือคะแนนรายบุคคลสูงแต่มไ
ิ ด้สะท้อน
ออกมาในผลิตภาพเชิงรวมอย่างแท้จริง
3
ทีม C จากกราฟแม้คะแนนรายบุคคลและผลการ
ประเมินรวมจะสอดคล้องกัน แต่ปัญหาคือจะไม่
สามารถแยกกลุม
่ ผูท
้ ป
ี่ ฏิบต
ั งิ านได้ดแ
ี ละโดดเด่น
ออกจากกันได้ ผู้ที่ทุ่มเทในการทางานสูงอาจ
ท้อแท้และเข้าใจว่าความทุม
่ เทของตนเองมิได้
รับการเห็นคุณค่า
2
1
0
Team A
Team B
คะแนนฯรายบุคคล
(Individual score)
Team C
Team D
คะแนนฯหน่วยงาน/
ทีม (Team score)
* Key message: Alignment of individual score and team score
ทีม D คะแนนรายบุคคลและผลการประเมินรวม
จะสอดคล้องกัน มีการกระจายของคะแนน
รายบุคคลอย่างเหมาะสม สามารถจัดออกเป็น
กลุ่มได้ ช่วยผลักดันให้เกิดวัฒนธรรมการ
ปฏิบต
ั งิ านอย่างมุง่ ผลสัมฤทธิอ
์ ย่างแท้จริง
17
ตัวอย่างการใช้แบบฟอร์มในการประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการ (ต่อ)
ส่วนผลสัมฤทธิ์
(80%)
70 *80%= 56
กำรมุ่งผลสัมฤทธิ์
2
4
20%
0.8
บริกำรที่ดี
2
5
20%
1.0
กำรสัง่ สมควำมเชี่ยวชำญในงำนอำชีพ
2
4
20%
0.8
กำรยึดมัน่ ในควำมถูกต้องชอบธรรม และจริยธรรม
2
5
20%
1.0
กำรทำงำนเป็ นทีม
2
5
20%
1.0
ส่วนสมรรถนะ
(20%)
92 *20%= 18.4
รวม 74.4 คะแนน
เต็ม 5
4.6
92
เต็ม 100
18
ประเด็นในวันนี้
•
กรอบแนวคิดและกระบวนการกาหนดตัวชี้วัดรายบุคคล
•
กระบวนการในการประเมินสมรรถนะหลัก
•
กระบวนการกาหนดสมรรถนะประจาตาแหน่ง
19
ผลงานประกอบด้วยปั จจัยหลัก 3 ประการ
 เกณฑ์วดั ด้ำนกำรเงินและ
กลยุทธ์
ประสิทธิผล
 เกณฑ์วดั ด้ำนลูกค้ำ
 เกณฑ์วดั ด้ำนกระบวนกำรและ
ประสิทธิภำพ
 เกณฑ์วดั ด้ำนพัฒนำองค์กร
เป้ำหมำยตำม
 เป้ำหมำยของงำนที่เชื่อมโยงกับ
ตอบโจทย์หรือผลสัมฤทธิ์
ลักษณะงำน
ควำมรับผิดชอบหลักของงำน
(Main Accountabilities)
ที่องค์กรคำดหวัง
เป้ำหมำยเชิง
วิสยั ทัศน์ พันธกิจ
กลยุทธ์ ค่ำนิ ยม และ
วัฒนธรรมองค์กร
 เป้ำหมำยของกำรพัฒนำควำมรู ้
เป้ำหมำยเชิง
สมรรถนะ
ทักษะ พฤติกรรมที่สอดคล้อง
กับค่ำนิ ยมและยุทธศำสตร์ของ
องค์กร
คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เป็ นผลมำจำกควำมรู ้ ควำมสำมำรถ ทักษะและคุณลักษณะอื่นๆ ที่ทำให้บุคคลสร้ำงผลงำนได้โดดเด่นในองค์กร
20
ส่วนเหนือ
น้า
กรอบแนวคิดเรือ่ งสมรรถนะ (Competencies)
องค์ความรู ้ (Knowledge): ข้อมูลควำมรูท้ ี่บุคคลมีในสำขำต่ำงๆ
ทักษะ (Skills): ควำมเชี่ยวชำญ ชำนำญพิเศษในด้ำนต่ำงๆ
ระดับน้า
ส่วนใต้น้า
บทบาทที่แสดงออกต่อสังคม (Social Role): บทบำทที่บุคคล
แสดงออกต่อผูอ้ ื่น
ภาพลักษณ์ภายใน (Self-Image): ควำมรูส้ ึกนึ กคิดเกี่ยวกับ
เอกลักษณ์และคุณค่ำของตน
อุปนิสยั (Traits): ควำมเคยชิน พฤติกรรมซ้ำๆ ในรูปแบบใด
รูปแบบหนึ่ ง
แรงผลักดันเบื้ องลึก (Motives): จินตนำกำร แนวโน้ม วิธีคิด
วิธีปฏิบตั ิตนอันเป็ นไปโดยธรรมชำติของบุคคล
21
สมรรถนะ (Competencies) ที่แตกต่างกันทาให้การแสดงออกและ
พฤติกรรมแตกต่างกัน
คุณหมอสมชาย
คุณหมอสมหญิง
องค์ความรู ้ และ
ทักษะต่างๆ
สาเร็จการศึกษาเป็ นที่หนึ่งของชั้นปี
สาเร็จการศึกษาเป็ นที่หนึ่งของชั้นปี
แพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง
แพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง
เน้นความรวดเร็วและถูกต้อง
เชิงวิชาการ
บทบาทที่แสดงออกต่อสังคม
ซักถาม ตั้งใจฟั ง และให้เล่าให้
ฟั งถึงอาการและความรูส้ กึ
แพทย์ผเู ้ ชี่ยวชาญ
(ข้าพเจ้าเก่งกว่าใครในสาขาวิชา)
ภาพลักษณ์ภายใน
แพทย์ผรู ้ กั ษาคนไข้
(ข้าพเจ้าอยากให้คนไข้หายดีมีสุข)
ถือดี
อุปนิสยั
เห็นใจผูอ้ ื่น
ความสาเร็จของตน
แรงผลักดันเบื้ องลึก
ความสุขของผูอ้ ื่น
มากกว่า
อัตราการติดเชื้ อหลังผ่าตัด
น้อยกว่า
22
การประยุกต์กรอบแนวคิดเรื่องสมรรถนะ
กับระบบบริหารทรัพยากรบุคคล
• ผูท้ ี่ได้รบั การคัดเลือกสามารถเรียนรูไ้ ด้รวดเร็ว
• มีเหตุผลประกอบการตัดสินใจในการคัดเลือกคนที่ชดั เจน น่าเชื่อถือ
การ
คัดสรร
• ช่วยลดปั ญหาการว่าจ้างคนที่ไม่
เหมาะสม
• สร้างความชัดเจนในตาแหน่งงาน
การฝึ กฝน
และการ
พัฒนา
การว่าจ้าง
• ช่วยประหยัดค่าใช้จา่ ยในการ
ฝึ กอบรมอย่างไร้ทิศทาง
• เน้นการพัฒนาสมรรถนะที่ช่วยในการ
พัฒนาผลงานมากที่สุด
สมรรถนะ
• หลีกเลี่ยงค่าใช้จา่ ยที่เกิดจากการ
เลื่อนตาแหน่งบุคลากรเกินความ
จาเป็ น
• ระบุและรักษาศักยภาพได้ดีขึ้น
และสร้างแรงจูงใจที่ดีขึ้น อัน
นาไปสู่การพัฒนาผลงาน
การ
บริหาร
ผลงาน
การวางแผน
ทางก้าวหน้า
ในสายอาชีพ
• หลีกเลี่ยงเน้นความสาคัญของบุคคลใน
การสร้างความแตกต่าง
• ให้ผลประกอบการที่ดี
การให้
ผลตอบแทน
• สร้างความชัดเจนว่าพฤติกรรมแบบใดจะช่วยสร้างความดีความชอบ
ให้เกิดขึ้ นได้ และสร้างแรงจูงใจที่ดีขึ้น อันนาไปสู่การพัฒนาผลงาน
23
ต้นแบบสมรรถนะของส่วนราชการ
ประเภท
ข้อกาหนดจากสานักงาน ก.พ.

ให้มีกำรกำหนดพฤติกรรมบ่งชี้ หรือตัวอย่ำงพฤติกรรมของสมรรถนะหลัก สมรรถนะ
ทำงกำรบริหำร และสมรรถนะเฉพำะตำมลักษณะงำนที่ปฏิบตั ิ เพื่อแสดงสมรรถนะของ
แต่ ล ะระดับ ตำมบทบำทหน้ ำ ที่ และควำมรับ ผิ ด ชอบของต ำแหน่ ง ประเภททัว่ ไป
วิชำกำร และอำนวยกำร สำยงำน และระดับตำแหน่ ง

ส่วนรำชกำรอำจกำหนดระดับของควำมรูค้ วำมสำมำรถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็ น
สำหรับตำแหน่ งประเภททัว่ ไป วิชำกำร และอำนวยกำร สำยงำนและระดับให้สู งขึ้ น
ตำมลักษณะงำนได้ตำมควำมเหมำะสม

กำรกำหนดพฤติกรรมบ่งชี้ หรือตัวอย่ำงพฤติกรรมของสมรรถนะหลักให้ดำเนิ นกำรให้
แล้วเสร็จภำยในวันที่ 30 ธันวำคม 2552

กำรกำหนดรำยละเอียดของควำมรูค้ วำมสำมำรถ ทักษะ และสมรรถนะเฉพำะตำม
ลักษณะงำนที่ปฏิบตั ิ ให้ดำเนิ นกำรให้แล้วเสร็จภำยในวันที่ 30 กันยำยน 2553

เมื่ อ ส่ ว นรำชกำรดำเนิ น กำรก ำหนดควำมรูค้ วำมสำมำรถ ทัก ษะ และสมรรถนะที่
จำเป็ นสำหรับ ตำแหน่ งเสร็ จ แล้ว ให้เ สนอ อ.ก.พ. กรมเพื่ อพิ จ ำรณำเห็นชอบ แล้ว
รำยงำนให้ อ.ก.พ. กระทรวง และ ก.พ. ทรำบด้วย
ต้นแบบ
สมรรถนะหลัก
ต้นแบบ
สมรรถนะ
ทางการบริหาร
ต้นแบบ
สมรรถนะ
ประจาสายงาน
24
สมรรถนะหลัก, สมรรถนะประจาผูบ้ ริหาร, (ตัวอย่าง)
สมรรถนะประจาสายงาน
มีร่วมกันใน
กลุ่มงำนเดียวกัน
กำรมองภำพรวม (Conceptual Thinking)
ควำมคิดริเริ่มสร้ำงสรรค์ (Creative Thinking)
กำรสืบเสำะหำข้อมูล (Information Seeking)
กำรมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation)
บริกำรที่ดี (Service Mind)
กำรสัง่ สมควำมเชี่ยวชำญในงำนอำชีพ (Expertise)
กำรยึดมัน่ ในควำมถูกต้องชอบธรรม และจริยธรรม (Integrity)
กำรทำงำนเป็ นทีม (Teamwork)
มีร่วมกัน
ของข้ำรำชกำรพลเรือนไทย
สภาวะผูน้ า (Leadership)
วิสยั ทัศน์ (Visioning)
การวางกลยุทธ์ภาครัฐ
(Strategic Orientation)
ศักยภาพเพื่อนาการปรับเปลี่ยน
(Change Leadership)
การควบคุมตนเอง (Self Control)
การสอนงานและการมอบหมายงาน
(Coaching and Empowering Others)
กำหนดสำหรับผูบ้ ริหำร
25
การมุ่งผลสัมฤทธิ์
(Achievement Motivation- ACH)
คาจากัดความ: ควำมมุ่งมัน่ จะปฏิบตั ิรำชกำรให้ดีหรือให้เกินมำตรฐำนที่มีอยู่ โดยมำตรฐำนนี้ อำจเป็ นผลกำรปฏิบตั ิงำนที่ผ่ำนมำของตนเอง หรือเกณฑ์วดั ผลสัมฤทธิ์ที่
ส่วนรำชกำรกำหนดขึ้ น อีกทั้งยังหมำยรวมถึงกำรสร้ำงสรรค์พฒ
ั นำผลงำนหรือกระบวนกำรปฏิบตั ิงำนตำมเป้ำหมำยที่ยำกและท้ำทำยชนิ ดที่อำจไม่ เคยมีผใู้ ดสำมำรถ
กระทำได้มำก่อน
ระดับที่ 0: ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้ หรือแสดงอย่างไม่ชดั เจน
ระดับที่ 1: แสดงความพยายามในการปฏิบตั ิหน้าที่ราชการให้ดี
• พยำยำมทำงำนในหน้ำที่ให้ถกู ต้อง
• พยำยำมปฏิบตั ิงำนให้แล้วเสร็จตำมกำหนดเวลำ
• มำนะอดทน ขยันหมัน่ เพียรในกำรทำงำน
• แสดงออกว่ำต้องกำรทำงำนให้ได้ดีขนึ้ เช่น ถำมถึงวิธีกำร หรือขอคำแนะนำอย่ำงกระตือรือร้น
• แสดงควำมเห็นในเชิงปรับปรุงพัฒนำเมื่อเห็นควำมสูญเปล่ำ หรือหย่อนประสิทธิภำพในงำน
ระดับที่ 2: แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และสามารถทางานได้ผลงานตามเป้าหมายที่วางไว้
• กำหนดมำตรฐำน หรือเป้ำหมำยในกำรทำงำนเพื่อให้ได้ผลงำนที่ดี
• ติดตำม และประเมินผลงำนของตน โดยเทียบเคียงกับเกณฑ์มำตรฐำน
• ทำงำนได้ตำมเป้ำหมำยที่ผบู้ งั คับบัญชำกำหนด หรือเป้ำหมำยของหน่ วยงำนที่รบั ผิดชอบ
• มีควำมละเอียดรอบคอบ เอำใจใส่ ตรวจตรำควำมถูกต้อง เพื่อให้ได้งำนที่มีคุณภำพ
ระดับที่ 3: แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และสามารถปรับปรุงวิธีการทางานเพื่อให้ได้ผลงานที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้ น
• ปรับปรุงวิธีกำรที่ทำให้ทำงำนได้ดีขนึ้ เร็วขึ้ น มีคุณภำพดีขนึ้ มีประสิทธิภำพมำกขึ้ น หรือทำให้ผรู้ บั บริกำรพึงพอใจมำกขึ้ น
• เสนอหรือทดลองวิธีกำรทำงำนแบบใหม่ที่คำดว่ำจะทำให้งำนมีประสิทธิภำพมำกกว่ำเดิม
ระดับที่ 4: แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และสามารถกาหนดเป้าหมาย รวมทั้งพัฒนาวิธีการทางาน เพื่อให้ได้ผลงานที่โดดเด่น หรือแตกต่างอย่างไม่เคยมีใครทา
ได้มาก่อน
• กำหนดเป้ำหมำยที่ทำ้ ทำย และเป็ นไปได้ยำก เพื่อให้ได้ผลงำนที่ดีกว่ำเดิมอย่ำงเห็นได้ชดั
• พัฒนำระบบ ขั้นตอน วิธีกำรทำงำน เพื่อให้ได้ผลงำนที่โดดเด่น หรือแตกต่ำงไม่เคยมีใครทำได้มำก่อน
ระดับที่ 5: แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และกล้าตัดสินใจได้ แม้ว่าการตัดสินใจนั้นจะมีความเสี่ยง เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของหน่วยงาน หรือส่วนราชการ
• ตัดสินใจได้ โดยมีกำรคำนวณผลได้ผลเสียอย่ำงชัดเจน และดำเนิ นกำร เพื่อให้ภำครัฐและประชำชนได้ประโยชน์สงู สุด
• บริหำรจัดกำรและทุ่มเทเวลำ ตลอดจนทรัพยำกร เพื่อให้ได้ประโยชน์สงู สุดต่อภำรกิจของหน่ วยงำนตำมที่วำงแผนไว้
ข้อมูลจาก
26
บริการที่ดี
(Service Mind- SERV)
คาจากัดความ: ควำมตั้งใจและควำมพยำยำมของข้ำรำชกำรในกำรให้บริกำรต่อประชำชน ข้ำรำชกำร หรือหน่ วยงำนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ระดับที่ 0: ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้ หรือแสดงอย่างไม่ชดั เจน
ระดับที่ 1: สามารถให้บริการที่ผรู ้ บั บริการต้องการได้ดว้ ยความเต็มใจ
• ให้กำรบริกำรที่เป็ นมิตร สุภำพ
• ให้ขอ้ มูล ข่ำวสำรที่ถูกต้อง ชัดเจนแก่ผรู้ บั บริกำร
• แจ้งให้ผูร้ บั บริกำรทรำบควำมคืบหน้ำในกำรดำเนิ นเรื่อง หรือขัน้ ตอนงำนต่ำงๆ ที่ให้บริกำรอยู่
• ประสำนงำนภำยในหน่ วยงำน และกับหน่ วยงำนอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผูร้ บั บริกำรได้รบั บริกำรที่ต่อเนื่ องและรวดเร็ว
ระดับที่ 2: แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และช่วยแก้ปัญหาแก่ผรู ้ บั บริการ
• รับเป็ นธุระ ช่วยแก้ปัญหำหรือหำแนวทำงแก้ไขปั ญหำที่เกิดขึ้ นแก่ผูร้ บั บริกำรอย่ำงรวดเร็ว ไม่บ่ำยเบี่ยง ไม่แก้ตวั หรือปั ดภำระ
• ดูแลให้ผูร้ บั บริกำรได้รบั ควำมพึงพอใจ และนำข้อขัดข้องใดๆ ในกำรให้บริกำร (ถ้ำมี) ไปพัฒนำกำรให้บริกำรให้ดียิ่งขึ้ น
ระดับที่ 3: แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และให้บริการที่เกินความคาดหวัง แม้ตอ้ งใช้เวลาหรือความพยายามอย่างมาก
• ให้เวลำแก่ผรู้ บั บริกำรเป็ นพิเศษ เพื่อช่วยแก้ปัญหำให้แก่ผรู้ บั บริกำร
• ให้ขอ้ มูล ข่ำวสำร ที่เกี่ยวข้องกับงำนที่กำลังให้บริกำรอยู่ ซึ่งเป็ นประโยชน์แก่ผูร้ บั บริกำร แม้วำ่ ผูร้ บั บริกำรจะไม่ได้ถำมถึง หรือไม่ทรำบมำก่อน
• นำเสนอวิธีกำรในกำรให้บริกำรที่ผูร้ บั บริกำรจะได้รบั ประโยชน์สงู สุด
ระดับที่ 4: แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และเข้าใจและให้บริการที่ตรงตามความต้องการที่แท้จริงของผูร้ บั บริการได้
• เข้ำใจ หรือพยำยำมทำควำมเข้ำใจด้วยวิธีกำรต่ำงๆ เพื่อให้บริกำรได้ตรงตำมควำมต้องกำรที่แท้จริงของผูร้ บั บริกำร
• ให้คำแนะนำที่เป็ นประโยชน์แก่ผูร้ บั บริกำร เพื่อตอบสนองควำมจำเป็ นหรือควำมต้องกำรที่แท้จริงของผูร้ บั บริกำร
ระดับที่ 5: แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และให้บริการที่เป็ นประโยชน์อย่างแท้จริงให้แก่ผรู ้ บั บริการ
• คิดถึงผลประโยชน์ของผูร้ บั บริกำรในระยะยำว และพร้อมที่จะเปลี่ยนวิธีหรือขัน้ ตอนกำรให้บริกำร เพื่อประโยชน์สงู สุดของผูร้ บั บริ กำร
• เป็ นที่ปรึกษำที่มีส่วนช่วยในกำรตัดสินใจที่ผูร้ บั บริกำรไว้วำงใจ
• สำมำรถให้ควำมเห็นที่แตกต่ำงจำกวิธีกำร หรือขัน้ ตอนที่ผรู้ บั บริกำรต้องกำร ให้สอดคล้องกับควำมจำเป็ น ปั ญหำ โอกำส เพื่อเป็ นประโยชน์อย่ำงแท้จริงของ
ผูร้ บั บริกำร
ข้อมูลจาก
27
การสั ่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ
(Expertise- EXP)
คาจากัดความ: ควำมสนใจใฝ่ รู ้ สัง่ สม ควำมรูค้ วำมสำมำรถของตนในกำรปฏิบตั ิหน้ำที่รำชกำร ด้วยกำรศึกษำ ค้นคว้ำและ พัฒนำตนเองอย่ำงต่อเนื่ อง จน
สำมำรถประยุกต์ใช้ควำมรูเ้ ชิงวิชำกำรและเทคโนโลยีต่ำงๆ เข้ำกับกำรปฏิบตั ิรำชกำรให้เกิดผลสัมฤทธิ์
ระดับที่ 0: ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้ หรือแสดงอย่างไม่ชดั เจน
ระดับที่ 1: แสดงความสนใจและติดตามความรูใ้ หม่ๆ ในสาขาอาชีพของตน หรือที่เกี่ยวข้อง
• ศึกษำหำควำมรู ้ สนใจเทคโนโลยีและองค์ควำมรูใ้ หม่ๆ ในสำขำอำชีพของตน
• พัฒนำควำมรูค้ วำมสำมำรถของตนให้ดียิ่งขึ้ น
• ติดตำมเทคโนโลยี และควำมรูใ้ หม่ๆ อยูเ่ สมอด้วยกำรสืบค้นข้อมูลจำกแหล่งต่ำงๆ ที่จะเป็ นประโยชน์ต่อกำรปฏิบตั ิรำชกำร
ระดับที่ 2: แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และมีความรูใ้ นวิชาการ และเทคโนโลยีใหม่ๆ ในสาขาอาชีพของตน
• รอบรูใ้ นเทคโนโลยีหรือองค์ควำมรูใ้ หม่ๆ ในสำขำอำชีพของตน หรือที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอำจมีผลกระทบต่อกำรปฏิบตั ิหน้ำที่รำชกำรของตน
• รับรูถ้ ึงแนวโน้มวิทยำกำรที่ทนั สมัย และเกี่ยวข้องกับงำนของตน อย่ำงต่อเนื่ อง
ระดับที่ 3: แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และสามารถนาความรู ้ วิทยาการ หรือเทคโนโลยีใหม่ๆ มาปรับใช้กบั การปฏิบตั หิ น้าที่ราชการ
• สำมำรถนำวิชำกำร ควำมรู ้ หรือเทคโนโลยีใหม่ๆ มำประยุกต์ใช้ในกำรปฏิบตั ิหน้ำที่รำชกำรได้
• สำมำรถแก้ไขปั ญหำที่อำจเกิดจำกกำรนำเทคโนโลยีใหม่มำใช้ในกำรปฏิบตั ิหน้ำที่รำชกำรได้
ระดับที่ 4: แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และศึกษา พัฒนาตนเองให้มีความรู ้ และความเชี่ยวชาญในงานมากขึ้ น ทั้งในเชิงลึก และเชิงกว้างอย่าง
ต่อเนื่อง
• มีควำมรูค้ วำมเชี่ยวชำญในเรื่องที่มีลกั ษณะเป็ นสหวิทยำกำร และสำมำรถนำควำมรูไ้ ปปรับใช้อย่ำงกว้ำงขวำง
• สำมำรถนำควำมรูเ้ ชิงบูรณำกำรของตนไปใช้ในกำรสร้ำงวิสยั ทัศน์ เพื่อกำรปฏิบตั ิงำนในอนำคต
ระดับที่ 5: แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และสนับสนุนการทางานของคนในส่วนราชการที่เน้นความเชี่ยวชาญในวิทยาการด้านต่างๆ
• สนับสนุ นให้เกิดบรรยำกำศแห่งกำรพัฒนำควำมเชี่ยวชำญในองค์กร ด้วยกำรจัดสรรทรัพยำกร เครื่องมือ อุปกรณ์ที่เอื้ อต่อกำรพัฒนำ
• บริหำรจัดกำรให้ส่วนรำชกำรนำเทคโนโลยี ควำมรู ้ หรือวิทยำกำรใหม่ๆ มำใช้ในกำรปฏิบตั ิหน้ำที่รำชกำรในงำนอย่ำงต่อเนื่ อง
ข้อมูลจาก
28
การยึดมั ่นในความถูกต้องชอบธรรม และจริยธรรม
(Integrity- ING)
คาจากัดความ: กำรดำรงตนและประพฤติปฏิบตั ิอย่ำงถูกต้องเหมำะสมทั้งตำมกฎหมำย คุณธรรม จรรยำบรรณแห่งวิชำชีพ และจรรยำข้ำรำชกำรเพื่อรักษำ
ศักดิ์ศรีแห่งควำมเป็ นข้ำรำชกำร
ระดับที่ 0: ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้ หรือแสดงอย่างไม่ชดั เจน
ระดับที่ 1: มีความสุจริต
• ปฏิบตั ิหน้ำที่ดว้ ยควำมสุจริต ไม่เลือกปฏิบตั ิ ถูกต้องตำมกฎหมำย และวินัยข้ำรำชกำร
• แสดงควำมคิดเห็นตำมหลักวิชำชีพอย่ำงสุจริต
ระดับที่ 2: แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และมีสจั จะเชื่อถือได้
• รักษำคำพูด มีสจั จะ และเชื่อถือได้
• แสดงให้ปรำกฎถึงควำมมีจิตสำนึ กในควำมเป็ นข้ำรำชกำร
ระดับที่ 3: แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และยึดมั ่นในหลักการ
• ยึดมัน่ ในหลักกำร จรรยำบรรณแห่งวิชำชีพ และจรรยำข้ำรำชกำร ไม่เบี่ยงเบนด้วยอคติหรือผลประโยชน์ กล้ำรับผิด และรับผิดชอบ
• เสียสละควำมสุขส่วนตน เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ทำงรำชกำร
ระดับที่ 4: แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และยืนหยัดเพื่อความถูกต้อง
• ยืนหยัดเพื่อควำมถูกต้อง โดยมุง่ พิทกั ษ์ผลประโยชน์ของทำงรำชกำร แม้ตกอยูใ่ นสถำนกำรณ์ที่อำจยำกลำบำก
• กล้ำตัดสินใจ ปฏิบตั ิหน้ำที่รำชกำรด้วยควำมถูกต้อง เป็ นธรรม แม้อำจก่อควำมไม่พึงพอใจให้แก่ผเู้ สียประโยชน์
ระดับที่ 5: แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และอุทิศตนเพื่อความยุตธิ รรม
• ยืนหยัดพิทกั ษ์ผลประโยชน์และชื่อเสียงของประเทศชำติแม้ในสถำนกำรณ์ที่อำจเสี่ยงต่อควำมมัน่ คงในตำแหน่ งหน้ำที่กำรงำน หรืออำจเสี่ยงภัยต่อชีวิต
ข้อมูลจาก
29
การทางานเป็ นทีม
(Teamwork- TW)
คาจากัดความ: ควำมตั้งใจที่จะทำงำนร่วมกับผูอ้ ื่น เป็ นส่วนหนึ่ งของทีม หน่ วยงำน หรือส่วนรำชกำร โดยผูป้ ฏิบตั ิมีฐำนะเป็ นสมำชิก ไม่จำเป็ นต้องมีฐำนะ
หัวหน้ำทีม รวมทั้งควำมสำมำรถในกำรสร้ำงและรักษำสัมพันธภำพกับสมำชิกในทีม
ระดับที่ 0: ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้ หรือแสดงอย่างไม่ชดั เจน
ระดับที่ 1: ทาหน้าที่ของตนในทีมให้สาเร็จ
• สนับสนุ นกำรตัดสินใจของทีม และทำงำนในส่วนที่ตนได้รบั มอบหมำย
• รำยงำนให้สมำชิกทรำบควำมคืบหน้ำของกำรดำเนิ นงำนของทีม
• ให้ขอ้ มูล ที่เป็ นประโยชน์ต่อกำรทำงำนของทีม
ระดับที่ 2: แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และให้ความร่วมมือในการทางานกับเพื่อนร่วมงาน
• สร้ำงสัมพันธ์ เข้ำกับผูอ้ ื่นในกลุ่มได้ดี
• ให้ควำมร่วมมือกับผูอ้ ื่นในทีมด้วยดี
• กล่ำวถึงเพื่อนร่วมงำนในเชิงสร้ำงสรรค์และแสดงควำมเชื่อมัน่ ในศักยภำพของเพื่อนร่วมทีม ทั้งต่อหน้ำและลับหลัง
ระดับที่ 3: แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และประสานความร่วมมือของสมาชิกในทีม
• รับฟั งควำมเห็นของสมำชิกในทีม และเต็มใจเรียนรูจ้ ำกผูอ้ ื่น
• ตัดสินใจหรือวำงแผนงำนร่วมกันในทีมจำกควำมคิดเห็นของเพื่อนร่วมทีม
• ประสำนและส่งเสริมสัมพันธภำพอันดีในทีม เพื่อสนับสนุ นกำรทำงำนร่วมกันให้มีประสิทธิภำพยิ่งขึ้ น
ระดับที่ 4: แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และสนับสนุน ช่วยเหลือเพื่อนร่วมทีม เพื่อให้งานประสบความสาเร็จ
• ยกย่อง และให้กำลังใจเพื่อนร่วมทีมอย่ำงจริงใจ
• ให้ควำมช่วยเหลือเกื้ อกูลแก่เพื่อนร่วมทีม แม้ไม่มีกำรร้องขอ
• รักษำมิตรภำพอันดีกบั เพื่อนร่วมทีม เพื่อช่วยเหลือกันในวำระต่ำงๆ ให้งำนสำเร็จ
ระดับที่ 5: แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และสามารถนาทีมให้ปฏิบตั ภิ ารกิจให้ได้ผลสาเร็จ
• เสริมสร้ำงควำมสำมัคคีในทีม โดยไม่คำนึ งควำมชอบหรือไม่ชอบส่วนตน
• คลี่คลำย หรือแก้ไขข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้ นในทีม
• ประสำนสัมพันธ์ สร้ำงขวัญกำลังใจของทีมเพื่อปฏิบตั ิภำรกิจของส่วนรำชกำรให้บรรลุผล
ข้อมูลจาก
30
ตารางแสดงระดับสมรรถนะ
ที่ตอ้ งการในแต่ละตาแหน่งงาน/สายงาน
หมำยเหตุ: 1) ยึดตำมต้นแบบสมรรถนะหลักที่ทำงสำนักงำน ก.พ. กำหนด 2) ยึดตำมต้นแบบสมรรถนะประจำผูบ้ ริหำรที่ทำงสำนักงำน ก.พ. กำหนด 3) ควำมรู้ และทักษะที่
ทำง สำนักงำน ก.พ. บังคับใช้ ให้ยึดระดับตำมที่ทำงสำนักงำน ก.พ. กำหนด ส่วนควำมรู้ และทักษะอื่นๆ ที่นอกเหนื อจำกที่สำนักงำน ก.พ. บังคับให้ยึดระดับตำมสมรรถนะ
ประจำสำยงำน
* Level3: เฉพำะ  วิสยั ทัศน์, กำรวำงกลยุทธ์ภำครัฐ, ศักยภำพเพื่อนำกำรปรับเปลี่ยน
31
กระบวนการในการประเมินสมรรถนะ

กระบวนการในการประเมินสมรรถนะ (Competency) ตั้งอยูบ่ นสมมุติฐานเรื่อง “Job-Person
Matching ที่ว่า
 ยิ่งองค์กรสำมำรถหำบุคลำกรที่ เหมำะกับงำนเท่ ำไร ผลงำนของบุ คลำกรผูน
้ ้ั นก็จ ะยิ่งดีขึ้น
เท่ ำนั้ น กำรที่ บุค ลำกรมี ผ ลงำนดี ไม่เพี ยงแต่ ส่ งผลต่ อผลงำนขององค์ก รและยัง ส่ ง ผลให้
บุคลำกรมีควำมสุขในกำรทำงำนมำกยิ่งขึ้ นด้วย

การประเมินผลสมรรถนะที่สามารถหาความเหมาะสมระหว่างศักยภาพของคนกับสิ่งที่ง าน
ต้องการอย่างถูกต้องนั้นขึ้นอยูก่ บั


มีตน้ แบบสมรรถนะที่ถกู ต้องและเหมำะสมในแต่ละงำน
มีเครื่องมือและกระบวนกำรที่เหมำะสมในกำรประเมินสมรรถนะและควำมสำมำรถ
 ผู ้ป ระเมิ น ด ำเนิ น กำรประเมิ น ด้ว ยควำมโปร่ ง ใสและยุ ติ ธ รรม โดยอำศัย ควำมเข้ำ ใจใน
ต้นแบบสมรรถนะ วิธีกำรในกำรใช้เครื่องมือ และกระบวนกำรในกำรประเมินที่ถกู ต้อง
32
แนวทางในการประเมินสมรรถนะ
วิธีการประเมินสมรรถนะมีได้หลายแนวทางได้แก่


กำรประเมินแบบกำรทดสอบ
กำรประเมินกำรสังเกต เช่น แบบ 360 องศำ หรือตำ่ กว่ำ 360 องศำ โดยจะเป็ นกำร
พิ จ ำรณำจำกกำรสัง เกตพฤติ ก รรมที่ แ สดงออกซึ่ ง สำมำรถประเมิ น โดยเที ย บกับ
Scales ซึ่งมีได้ 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ
- กำรประเมินด้วย Bar
- กำรประเมินด้วย Rating Scale
- กำรประเมินแบบ Hybrid
33
กระบวนการประเมินสมรรถนะ (ต่อ)
ชื่อผูร้ บั กำรประเมิน (นำย/นำง/นำงสำว) _________________________________
ลงนำม __________________________
ชื่อผูบ้ งั คับบัญชำ/ผูป้ ระเมิน (นำย/นำง/นำงสำว) __________________________
ลงนำม __________________________
สมรรถนะ
4. กำรยึดมัน่ ในควำมถูกต้อง
5. กำรทำงำนเป็ นทีม
คะแนน
รวม บันทึกโดยผูป้ ระเมิน (ถ้ำมี) และในกรณี
(ข)
คะแนน
พื้ นที่ไม่พอ ให้บนั ทึกลงในเอกสำร
น้ ำหนัก (กxข/5)
หน้ำหลัง
20%
20%
20%
20%
20%
รวม 100%
นำผลคะแนนคูณกันระหว่ำง ก และ ข
3. กำรสัง่ สมควำมเชี่ยวชำญใน
งำนอำชีพ
คะแนน
(ก)
ให้ใส่ผลคะแนนที่ประเมินลงไป
2. บริกำรที่ดี
ให้ใส่ระดับเป้ำหมำยลงไป
1. กำรมุง่ ผลสัมฤทธิ์
ระดับที่
คำดหวัง
34
การประเมินบุคคล: ข้อผิดพลาดที่พึงหลีกเลี่ยง
ข้อผิดพลาดที่พึงหลีกเลี่ยงในการประเมินผล
1. The Halo Effect:
การปล่อยให้คุณลักษณะเพียงบางอย่างหรืออย่างเดียว (ทั้งเชิงบวกและเชิงลบ)
มาบิดเบือนทัศนคติเกี่ยวกับการประเมินผลงานและสมรรถนะทั้งหมด
2. Stereotyping:
การคิดเอาเองแม้จะไม่เคยพบปะกันมาก่อนว่าบุคคลนั้นๆ จะเป็ นคนประเภทใดโดย
ปราศจากหลักฐานหรือภูมิหลังมาสนับสนุน
3. The Central Tendency: การนึกถึงผลงานโดยอิงเกณฑ์เฉลี่ยของกลุ่มโดยไม่พิจารณารายละเอียดเฉพาะบุคคล
เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งที่อาจตามมา
4. The Recent Error:
ความลาเอียงเพียงเพราะผูถ้ ูกประเมินกระทาความผิดครั้งใหญ่ก่อนการประเมินผล
5. Length of Service Bias: ความลาเอียงด้วยอายุงาน (การปฏิบตั งิ าน การมีประสบการณ์หรือการรูจ้ กั กันมานาน
กว่าไม่ได้หมายความว่าผลสัมฤทธิ์ที่ได้จะต้องดีกว่าด้วย)
6. Initial Impression:
การใช้ความประทับใจครั้งแรกที่พบ (ไม่ว่าจะในทางดีหรือร้ายก็ตาม) มาใช้ประเมินผล
งานโดยมิได้พิจารณาผลงานโดยตรง
7. Stress
การประเมินขณะเครียด มึนเมา หรือขาดสติ
35
การกาหนดคะแนนผลการประเมินสมรรถนะ
รูปแสดงผลคะแนน เทียบตามระดับสมรรถนะที่ได้รบั
Achieved
Level
1
Level
2
Level
3
Level
4
Level
5
ทรงคุณวุฒิ
0
1
2
3
4
เชี่ยวชาญ
1
2
3
4
5
ชานาญการพิเศษ
2
3
4
5
5
ชานาญการ
3
4
5
5
5
ปฏิบตั กิ าร
4
5
5
5
5
ชานาญงาน
4
5
5
5
5
ปฏิบตั งิ าน
4
5
5
5
5
ตัวอย่างการพิจารณาคะแนน
ตัวอย่าง: ถ้ำนำย A อยูใ่ นระดับปฏิบตั ิกำร
ได้รบั ผลกำรประเมินสมรรถนะที่ระดับ 1
ได้รบั ผลกำรประเมินสมรรถนะที่ระดับ 2
ได้รบั ผลกำรประเมินสมรรถนะที่ระดับ 3
จะได้
จะได้
จะได้
4 คะแนน
5 คะแนน
5 คะแนน
ตัวอย่าง: ถ้ำนำย B อยูใ่ นระดับชำนำญกำร
ได้รบั ผลกำรประเมินสมรรถนะที่ระดับ 1
ได้รบั ผลกำรประเมินสมรรถนะที่ระดับ 2
ได้รบั ผลกำรประเมินสมรรถนะที่ระดับ 3
จะได้
จะได้
จะได้
3 คะแนน
4 คะแนน
5 คะแนน
ตัวอย่าง: ถ้ำนำย C อยูใ่ นระดับชำนำญกำรพิเศษ
ได้รบั ผลกำรประเมินสมรรถนะที่ระดับ 1
จะได้
ได้รบั ผลกำรประเมินสมรรถนะที่ระดับ 2
จะได้
ได้รบั ผลกำรประเมินสมรรถนะที่ระดับ 3
จะได้
2 คะแนน
3 คะแนน
4 คะแนน
36
ประเด็นในวันนี้
•
กรอบแนวคิดและกระบวนการกาหนดตัวชี้วัดรายบุคคล
•
กระบวนการในการประเมินสมรรถนะหลัก
•
กระบวนการกาหนดสมรรถนะประจาตาแหน่ง
37
หลักการและวิธีการสร้างต้นแบบสมรรถนะประจาสายงาน
(Functional Competency Model)
ข้อมูลนาเข้า
ภำรกิจ และนโยบำยของหน่ วยงำน
แบบสอบ
ถำมเรื่องกำร
ประเมิน
สมรรถนะ
จำก
ข้ำรำชกำร
ทั้งหมด
ผูบ้ ริหำรและบุคลำกรให้
ควำมสำคัญ-เป็ นผลจำกกำรให้
เรียง 5 ลำดับสมรรถนะที่คิดว่ำ
จำเป็ นต่อกำรปฏิบตั ิงำน
มีตวั อย่ำงกำรปฏิบตั ิได้จริงใน
องค์กร- เป็ นผลจำกกำรเล่ำ
เหตุกำรณ์กำรปฏิบตั ิงำนที่เกิดขึ้ น
จริงทั้งที่ประสบควำมสำเร็จและที่
มีปัญหำขัดข้อง
เป็ น Best Practice ในองค์กรชั้นนำ
จำกฐำนข้อมูลของที่ปรึกษำ
กระบวนการ
Competency Decoding
กำรถอดรหัสสมรรถนะ
จะทำกำรถอดรหัสจำกข้อมูลทั้งหมด
และคัดเลือกสมรรถนะที่ครอบคลุม
หลักเกณฑ์ท้งั 4 ประกำร
1. เป็ นภำรกิจ และนโยบำยของ
หน่ วยงำนทั้งในปั จจุบนั และอนำคต
2. ผูบ้ ริหำรและพนักงำนให้
ควำมสำคัญ
3. มีตวั อย่ำงกำรปฏิบตั ิได้จริงใน
องค์กร
4. เป็ น Best Practice ในองค์กร
ชั้นนำจำกฐำนข้อมูลของที่ปรึกษำ
ผลลัพธ์
Functional Competency**
ต้นแบบควำมรู ้
1. ควำมรูท้ ี่ 1
2. ควำมรูท้ ี่ 2
3. ควำมรูท้ ี่ 3
ต้นแบบทักษะ
1. ทักษะที่ 1
2. ทักษะที่ 2
3. ทักษะที่ 3
ต้นแบบสมรรถนะ
1. สมรรถนะที่ 1
2. สมรรถนะที่ 2
3. สมรรถนะที่ 3
** แตกต่ำงไปตำมแต่ละ สำย
งำน
38
กิจกรรมการให้ขอ้ มูลเรื่องสมรรถนะ (Competencies)
กำรให้ขอ้ มูลคือ
 กำรให้ขอ้ มูลตำมควำมเป็ นจริงที่สุด
 ให้ขอ้ มูลโดยคำนึ งถึงงำนที่เป็ นอยูจ่ ริงในเวลำนี้
และวิสยั ทัศน์ ภำรกิจหลัก พันธกิจ และ
ยุทธศำสตร์ของสำนักงำนปลัดกระทรวงกำรคลัง
และของหน่วยงานของท่าน
กำรให้ขอ้ มูลไม่ใช่
 กำรวิเครำะห์กำรทำงำนของบุคคล
 กำรประเมินผลกำรปฏิบตั ิงำน
39
วิธีการเขียนเล่าเหตุการณ์ที่ถูกต้อง (Competency)
วิธีการเขียนประโยคที่ถูกต้อง
วิธีการเขียนประโยคที่ไม่ถูกต้อง

ผมจัดทำกำรวิเครำะห์ท้ังหมดและจัดทำรำยงำนเรื่อง
ของกำรบริหำรเงินเดือนส่งผูบ้ ริหำร

ผมจัดทำรำยงำนจนเสร็จ

ข้ำพเจ้ำรูส้ ึกว่ำองค์กรน่ ำจะมีกิจกรรมที่ให้บริกำรลูกค้ำ
มำกขึ้ น

ทีมงำนรูส้ ึกว่ำองค์กรน่ ำจะมีกิจกรรมที่ ให้บริกำร
ลูกค้ำมำกขึ้ น

ฉั น ไปพบคุ ณ สำธิ ต และได้มี โ อกำสชั ก จู ง และเสนอ
แนวทำงใหม่ๆ ในเรื่องของสัญญำฉบับที่ 10 โดย
เรียนให้ท่ำนทรำบถึงข้อเท็จจริงในข้อดีขอ้ เสี ยแล้วเสนอ
ให้ท่ำนเปลี่ยนใจ

ฉันไปพบคุณสำธิตและคุยให้ท่ำนเปลี่ยนใจ

เหตุ ก ำรณ์ในตอนนั้ น ฉันได้จัด ทำระบบข้อมูล ใหม่ใ น
เรื่องของ CRM จนประสบควำมสำเร็จ

เมื่อย้อนกลับไปฉันว่ำฉันน่ ำจะทำระบบข้อมูลใหม่
ในเรื่องของ CRM เพื่อให้ ....
40
ภำคผนวก
41
สมรรถนะตาม ว27/2552 ตามข้อกาหนดของสานักงาน ก.พ.
กำรคิดวิเครำะห์ (Analytical Thinking) : กำรทำควำมเข้ำใจและวิเครำะห์สถำนกำรณ์ ประเด็นปั ญหำ แนวคิดโดยกำรแยกแยะประเด็นออกเป็ น
ส่วนย่อยๆ หรือทีละขัน้ ตอน รวมถึงกำรจัดหมวดหมูอ่ ย่ำงเป็ นระบบระเบียบเปรียบเทียบแง่มุมต่ำงๆ สำมำรถลำดับควำมสำคัญ ช่ว งเวลำ เหตุและผล
ที่มำที่ไปของกรณีต่ำงๆได้
กำรมองภำพองค์รวม (Conceptual Thinking) : กำรคิดในเชิงสังเครำะห์ มองภำพองค์รวม โดยกำรจับประเด็น สรุปรูปแบบเชื่อมโยงหรือประยุกต์
แนวทำงจำกสถำนกำรณ์ ข้อมูล หรือทัศนะต่ำงๆ จนได้เป็ นกรอบควำมคิดหรือแนวคิดใหม่
กำรใส่ใจและพัฒนำผูอ้ ื่น (Caring Others): ควำมใส่ใจและตั้งใจที่จะส่งเสริม ปรับปรุงและพัฒนำให้ผูอ้ ื่นมีศกั ยภำพ หรือมีสุขภำวะทั้งทำงปั ญญำ ร่ำงกำย
จิตใจ และทัศนคติที่ดีอย่ำงยัง่ ยืนเกินกว่ำกรอบของกำรปฏิบตั ิหน้ำที่
กำรสัง่ กำรตำมอำนำจหน้ำที่ (Holding People Accountable): กำรกำกับดูแลให้ผูอ้ ื่นปฏิบตั ิตำมมำตรฐำน กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ โดยอำศัยอำนำจตำม
กฎหมำย หรือตำมตำแหน่ งหน้ำที่ กำรกำกับดูแลนี้ หมำยรวมถึงกำรออกคำสัง่ โดยปกติทวั ่ ไปจนถึงกำรใช้อำนำจตำมกฎหมำยกับผู ้ฝ่ำฝื น
กำรสืบเสำะหำข้อมูล (Information Seeking): ควำมใฝ่ รเู ้ ชิงลึกที่จะแสวงหำข้อมูลเกี่ยวกับสถำนกำรณ์ ภูมิหลัง ประวัติควำมเป็ นมำ ประเด็นปั ญหำ หรือ
เรื่องรำวต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องหรือจะเป็ นประโยชน์ในกำรปฏิบตั ิงำน
ควำมเข้ำใจข้อแตกต่ำงทำงวัฒนธรรม (Cultural Sensitivity): กำรรับรูถ้ ึงข้อแตกต่ำงทำงวัฒนธรรม และสำมำรถประยุกต์ควำมเข้ำใจ เพื่อสร้ำง
สัมพันธภำพระหว่ำงกันได้
ควำมเข้ำใจผูอ้ ื่น (Interpersonal Understanding): ควำมสำมำรถในกำรรับฟั งและเข้ำใจควำมหมำยตรง ควำมหมำยแฝง ควำมคิด ตลอดจนสภำวะทำง
อำรมณ์ของผูท้ ี่ติดต่อด้วย
42
สมรรถนะตาม ว27/2552 ตามข้อกาหนดของสานักงาน ก.พ. (ต่อ)
ควำมเข้ำใจองค์กรและระบบรำชกำร (Organizational Awareness): ควำมสำมำรถในกำรเข้ำใจควำมสัมพันธ์เชิงอำนำจตำมกฎหมำย และอำนำจที่ไม่
เป็ นทำงกำร ในองค์กรของตนและองค์กรอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อประโยชน์ในกำรปฏิบตั ิหน้ำที่ให้บรรลุเป้ำหมำย รวมทั้งควำมสำมำรถที่จะคำดกำรณ์ได้วำ่
นโยบำยภำครัฐ แนวโน้มทำงกำรเมือง เศรษฐกิจสังคม เทคโนโลยี ตลอดจนเหตุกำรณ์ ที่จะเกิดขึ้ น จะมีผลต่อองค์กรอย่ำงไร
กำรดำเนิ นกำรเชิงรุก (Proactiveness): กำรเล็งเห็นปั ญหำหรือโอกำสพร้อมทั้งจัดกำรเชิงรุกกับปั ญหำนั้นโดยอำจไม่มีใครร้องขอ และอย่ำงไม่ยอ่ ท้อ
หรือใช้โอกำสนั้นให้เกิดประโยชน์ต่องำน ตลอดจนกำรคิดริเริ่มสร้ำงสรรค์ใหม่ๆ เกี่ยวกับงำนด้วย เพื่อแก้ปัญหำ ป้องกันปั ญหำ หรือสร้ำงโอกำสด้วย
กำรตรวจสอบควำมถูกต้องตำมกระบวนงำน (Concern for Order): ควำมใส่ใจที่จะปฏิบตั ิงำนให้ถูกต้อง ครบถ้วน มุง่ เน้นควำมชัดเจนของบทบำท หน้ำที่
และลดข้อบกพร่องที่อำจเกิดจำกสภำพแวดล้อม โดยติดตำม ตรวจสอบกำรทำงำนหรือข้อมูล ตลอดจนพัฒนำระบบกำรตรวจสอบเพื่อควำมถูกต้องของ
กระบวนงำน
ควำมมัน่ ใจในตนเอง (Self Confidence): ควำมมัน่ ใจในควำมสำมำรถ ศักยภำพ และกำรตัดสินใจของตนที่จะปฏิบตั ิงำนให้บรรลุผล หรือเลือกวิธีที่มี
ประสิทธิภำพในกำรปฏิบตั ิงำน หรือแก้ไขปั ญหำให้สำเร็จลุล่วง
ควำมยืดหยุน่ ผ่อนปรน (Flexibility): ควำมสำมำรถในกำรปรับตัว และปฏิบตั ิงำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพในสถำนกำรณ์และกลุ่มคนที่หลำกหลำย
หมำยควำมรวมถึงกำรยอมรับควำมเห็นที่แตกต่ำง และปรับเปลี่ยนวิธีกำรเมื่อสถำนกำรณ์เปลี่ยนไป
ศิลปะกำรสื่อสำรจูงใจ (Communication & Influencing): ควำมสำมำรถที่จะสื่อควำมด้วยกำรเขียน พูด โดยใช้สื่อต่ำงๆ เพื่อให้ผอู้ ื่นเข้ำใจ ยอมรับ และ
สนับสนุ นควำมคิดของตน
สุนทรียภำพทำงศิลปะ (Aesthetic Quality): ควำมซำบซึ้ งในอรรถรสและเห็นคุณค่ำของงำนศิลปะที่เป็ นเอกลักษณ์และมรดกของชำติ รวมถึงงำนศิลปะ
อื่น ๆ และนำมำประยุกต์ในกำรสร้ำงสรรค์งำนศิลปะของตนได้
43
สมรรถนะตาม ว27/2552 ตามข้อกาหนดของสานักงาน ก.พ. (ต่อ)
ควำมผูกพันที่มีต่อส่วนรำชกำร (Organizational Commitment): จิตสำนึ กหรือควำมตั้งใจที่จะแสดงออกซึ่งพฤติกรรมที่สอดคล้องกับควำมต้องกำร และ
เป้ำหมำยของส่วนรำชกำร ยึดถือประโยชน์ของส่วนรำชกำรเป็ นที่ต้งั ก่อนประโยชน์ส่วนตัว
กำรสร้ำงสัมพันธภำพ (Relationship Building): สร้ำงหรือรักษำสัมพันธภำพฉันมิตร เพื่อควำมสัมพันธ์ที่ดีระหว่ำงผูเ้ กี่ยวข้องกับงำน
44
การตอบสนองทางอารมณ์อย่างสร้างสรรค์
(Creative Responding to Emotion- CRE)
คาจากัดความ: ควำมสำมำรถในกำรรับฟั งและเข้ำใจบุคคลหรือสถำนกำรณ์ และพร้อมที่จะปรับเปลี่ยนและตอบสนองให้สอดคล้องกับสถำนกำรณ์หรือกลุ่ม
คนที่หลำกหลำยได้อย่ำงสร้ำงสรรค์ ในขณะที่ยงั คงปฏิบตั ิงำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพและบรรลุผลตำมเป้ำหมำยที่ต้งั ไว้
ระดับที่ 0: ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้ อย่างชัดเจน
ระดับที่ 1: มีความยืดหยุน่ ในการปฏิบตั หิ น้าที่
• เข้ำใจควำมหมำยของผูต
้ ิดต่อสื่อสำร และสำมำรถปรับกำรทำงำนให้คล่องตัวและสอดคล้องกับควำมต้องกำรได้
ระดับที่ 2: แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และเข้าใจบุคคลหรือสถานการณ์ได้ง่ายและพร้อมยอมรับความจาเป็ นที่จะต้องปรับเปลี่ยน
• เต็มใจ ยอมรับ และเข้ำใจควำมคิดเห็นของผูอ้ ื่นทั้งในเชิงเนื้ อหำและนัยเชิงอำรมณ์
• เต็มใจที่จะเปลี่ยนควำมคิด ทัศนคติ และทำงำนให้บรรลุตำมเป้ำหมำย เมื่อสถำนกำรณ์ปรับเปลี่ยนไป เช่น ได้รบ
ั ข้อมูลใหม่หรือข้อคิดเห็นใหม่จำก
ผูเ้ ชี่ยวชำญ
ระดับที่ 3: แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และเข้าใจความหมายแฝงของบุคคลและสถานการณ์และเลือกปฏิบตั งิ านอย่างยืดหยุน่ และสร้างสรรค์
• มีวิจำรณญำณในกำรปรับให้เข้ำกับสถำนกำรณ์เฉพำะหน้ำ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในกำรปฏิบต
ั ิงำน หรือเพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของหน่ วยงำนหรือของ
องค์กร
• สำมำรถตีควำมหมำยเบื้ องลึกที่ไม่ได้แสดงออกอย่ำงชัดเจนของบุคคลหรือสถำนกำรณ์ที่เกิดขึ้ น แล้วปรับตัวให้สอดคล้อง และเหมำะสมกับกับแต่ละบุคคล
หรือสถำนกำรณ์ดงั กล่ำวได้อย่ำงมีประสิทธิภำพและสร้ำงสรรค์
• สำมำรถเลือกทำงเลือก วิธีกำร หรือกระบวนกำรมำปรับใช้กบ
ั สถำนกำรณ์ที่เฉพำะเจำะจงได้อย่ำงมีประสิทธิภำพและเหมำะสม เพื่อให้ได้ผ ลงำนที่ดี
ระดับที่ 4: แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และใช้ความเข้าใจในเชิงลึกต่อบุคคลหรือสถานการณ์มาปรับเปลี่ยนวิธีการดาเนินงานให้ได้งานที่มี
ประสิทธิภาพสูงสุด
• ใช้ควำมเข้ำใจอย่ำงลึกซึ้ งในบุคคลหรือสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ให้เป็ นประโยชน์ในทำงำนให้ได้ผลงำนที่มีประสิทธิภำพสูงสุด
• ปรับเปลี่ยนวิธีกำรดำเนิ นงำน ระเบียบขัน
้ ตอนหรือลักษณะกำรประสำนงำนของหน่ วยงำนหรือองค์กร ให้เข้ำกับแต่ละสถำนกำรณ์ แต่ยงั คงเป้ำหมำยเดิม
ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
ระดับที่ 5: แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และปรับเปลี่ยนแผนกลยุทธ์ท้งั หมด เพื่อให้งานมีประสิทธิภาพ
• ปรับแผนกลยุทธ์ท้งั หมดอย่ำงสร้ำงสรรค์ เพื่อให้เหมำะสมและสอดคล้องกับสถำนกำรณ์เฉพำะหน้ำ
• มีจิตวิทยำในกำรใช้ควำมเข้ำใจผูอ้ ื่นในสถำนกำรณ์ต่ำงๆ เพื่อเป็ นพื้ นฐำนในกำรเจรจำทำควำมเข้ำใจ หรือดำเนิ นงำนไห้ได้ตำมภำรกิจของหน่ วยงำน
45
การบริหารทรัพยากรอย่างประหยัดและคุม้ ค่า
(Resource Management- RM)
คาจากัดความ: กำรตระหนักเสมอถึงควำมคุม้ ค่ำระหว่ำงทรัพยำกร (งบประมำณ เวลำ กำลังคนเครื่องมือ อุปกรณ์ ฯลฯ) ที่ลงทุนไปหรือที่ใช้กำรปฏิบตั ิภำรกิจ (Input)
กับผลลัพธ์ที่ได้ (Output) และพยำยำมปรับปรุงหรือลดขั้นตอนกำรปฏิบตั ิงำน เพื่อพัฒนำให้กำรปฏิบตั ิงำนเกิดควำมคุม้ ค่ำและมีประสิทธิ ภำพสูงสุด อำจหมำยรวมถึง
ควำมสำมำรถในกำรจัดควำมสำคัญในกำรใช้เวลำ ทรัพยำกร และข้อมูลอย่ำงเหมำะสม และประหยัดค่ำใช้จ่ำยสูงสุด
ระดับที่ 0: ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้ อย่างชัดเจน
ระดับที่ 1: ปฏิบตั ิงานโดยคานึงถึงความคุม้ ค่าและค่าใช้จา่ ยที่เกิดขึ้ น
• ตระหนั กถึงควำมคุม
้ ค่ำและค่ำใช้จำ่ ยต่ำงๆ ที่จะเกิดขึ้ นในกำรปฏิบตั ิงำน
• ปฏิบต
ั ิงำนตำมกระบวนกำรขั้นตอนที่กำหนดไว้ เพื่อให้สำมำรถใช้ทรัพยำกรไม่เกินขอบเขตที่กำหนด
ระดับที่ 2: แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และปฏิบตั ิงานโดยคานึงถึงค่าใช้จา่ ยที่เกิดขึ้ น และมีความพยายามที่จะลดค่าใช้จา่ ยเบื้ องต้น
• ตระหนั กและควบคุมค่ำใช้จำ่ ยที่เกิดขึ้ นในกำรปฏิบต
ั ิงำนโดยมีควำมพยำยำมที่จะลดค่ำใช้จำ่ ยต่ำงๆ ที่จะเกิดขึ้ น
• จัดสรรงบประมำณ ค่ำใช้จำ่ ย ทรัพยำกรที่มีอยูอ
่ ย่ำงจำกัดให้คุม้ ค่ำและเกิดประโยชน์ในกำรปฏิบตั ิงำนอย่ำงสูงสุด
ระดับที่ 3: แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และกาหนดการใช้ทรัพยากรให้สมั พันธ์กบั ผลลัพธ์ที่ตอ้ งการ
• ประเมินผลควำมมีประสิทธิภำพของกำรดำเนิ นงำนที่ผ่ำนมำเพื่อปรับปรุงกำรจัดสรรทรัพยำกรให้ได้ผลผลิตที่เพิ่มขึ้ น หรือมีกำรทำงำนที่ มีประสิทธิ ภำพมำกขึ้ น หรือ
มีค่ำใช้จำ่ ยที่ลดลง
• ระบุขอ้ บกพร่อง วิเครำะห์ขอ้ ดี ข้อเสียของกระบวนกำรกำรทำงำนและกำหนดกำรใช้ทรัพยำกรที่สม
ั พันธ์กบั ผลลัพธ์ที่ตอ้ งกำรโดยมองผลประโยชน์ของ องค์กรเป็ น
หลัก
ระดับที่ 4: แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และเชื่อมโยงหรือประสานการบริหารทรัพยากรร่วมกันระหว่างหน่วยงานเพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรที่ คมุ ้ ค่าสูงสุด
• เลือกปรับปรุงกระบวนกำรทำงำนที่เกิดประสิทธิภำพสูงสุดกับหลำยหน่ วยงำน และไม่กระทบกระบวนกำรทำงำนต่ำงๆ ภำยใน องค์กร
• วำงแผนและเชื่อมโยงภำรกิจของหน่ วยงำนตนเองกับหน่ วยงำนอื่น (Synergy) เพื่อให้กำรใช้ทรัพยำกรของหน่ วยงำนที่เกี่ยวข้องทั้งหมดเกิดประโยชน์ สงู สุด
• กำหนดและ/หรือสื่อสำรกระบวนกำรกำรบริหำรทรัพยำกรที่ สอดคล้องกันทัว่ ทั้งองค์กร เพื่อเพิ่มขีดควำมสำมำรถขององค์กร
ระดับที่ 5: แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และเสนอกระบวนการใหม่ๆ ในการทางานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้ นเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั ่งยืน
• พัฒนำกระบวนกำรใหม่ๆ โดยอำศัยวิสย
ั ทัศน์ ควำมเชี่ยวชำญ และประสบกำรณ์ต่ำงๆ มำประยุกต์ในกระบวนกำรทำงำน เพื่อลดภำระกำรบริหำรงำนให้สำมำรถ
ดำเนิ นงำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพสูงสุด
• สำมำรถเพิ่มผลผลิตหรือสร้ำงสรรค์งำนใหม่ ที่โดดเด่นแตกต่ำงให้กบ
ั หน่ วยงำน และองค์กร โดยใช้ทรัพยำกรเท่ำเดิม
46
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
(Innovation- INN)
ค าจ ากัด ความ: ควำมสำมำรถในกำรที่ จ ะน ำเสนอทำงเลื อ ก (Option) หรื อ แนวทำงแก้ปั ญหำ (Solution) หรื อ สร้ำ งนวัต กรรม หรื อ ริ เ ริ่ ม สร้ำ งสรรค์กิ จ กรรมหรื อ
สิ่งใหม่ๆ ที่จะเป็ นประโยชน์ต่อหน่ วยงำน หรือองค์กร
ระดับที่ 0: ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้ อย่างชัดเจน
ระดับที่ 1: สนับสนุนความคิดสร้างสรรค์และยอมทดลองวิธีอื่นๆ เพื่อมาทดแทนวิธีการที่ใช้อยูเ่ ดิมในการปฏิบตั ิงานอย่างเต็มใจและใคร่รู ้
• เต็มใจที่จะยอมรับและปรับตัวต่อควำมริเริ่มสร้ำงสรรค์หรือสิ่งใหม่ เพื่อสนับสนุ นให้หน่ วยงำนบรรลุเป้ำหมำยที่กำหนด
• แสดงควำมสงสัยใคร่รแ
ู้ ละต้องกำรทดลองวิธีกำรใหม่ๆ ที่อำจส่งผลให้ปฏิบตั ิงำนได้ดีขนึ้
• เต็มใจที่จะเสำะหำและศึกษำวิธีกำรที่แปลกใหม่ที่อำจนำมำประยุกต์ใช้ในกำรปฏิบต
ั ิงำนได้อย่ำงเหมำะสม
ระดับที่ 2: แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และสร้างสรรค์และหมั ่นปรับปรุงกระบวนการทางานของตนอย่างสมา่ เสมอ
• กล้ำ นำเสนอควำมคิ ดเห็ น แนวทำง และวิธี ก ำรที่ ส ร้ำ งสรรค์ แปลกใหม่ แตกต่ ำ ง และหลำกหลำยที่ ก่ อ ให้เกิดกำรพัฒนำและกำรสร้ำ งสรรค์ป ระโยชน์ ต่ ำ งๆ ให้แก่ งำน
หน่ วยงำน หรือองค์กร
• เปลี่ยนแปลงรูปแบบหรือขัน
้ ตอนกำรทำงำนใหม่ๆ ที่สอดคล้องและสนับสนุ นหน่ วยงำนให้สำมำรถบรรลุเป้ำหมำยได้อย่ำงมีประสิทธิภำพมำกขึ้ น
ระดับที่ 3: แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และคิดนอกกรอบเพื่อปรับเปลี่ยนการดาเนินงานใหม่ในหน่วยงานเพื่อให้งานมีประสิทธิภาพ
• ประยุกต์ใช้ประสบกำรณ์ในกำรทำงำนมำปรับเปลี่ยนวิธีกำรดำเนิ นงำน ให้เข้ำกับสถำนกำรณ์ แต่ยงั คงเป้ำหมำยได้อย่ำงมีประสิทธิภำพสูงสุด
• ไม่จำกัดตนเองอยูก
่ บั แนวคิดดั้งเดิมที่ใช้กนั พร้อมจะทดลองวิธีกำรใหม่ๆ มำปรับแก้ไขระเบียบขัน้ ตอนกำรทำงำนที่ลำ้ สมัย เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพของหน่ วยงำน
• นำเสนอทำงเลือก (Option) หรือแนวทำงแก้ปัญหำ (Solution) ในงำนของตนอย่ำงสร้ำงสรรค์ก่อนที่จะปรึกษำผูบ
้ งั คับบัญชำ
ระดับที่ 4: แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ในองค์กร
• ประยุกต์ใช้องค์ควำมรู ้ ทฤษฎี หรือแนวคิดที่ได้รบ
ั กำรยอมรับมำเสนอทำงเลือก (Option) หรือแนวทำงแก้ปัญหำ (Solution) ในกำรพัฒนำองค์กรให้มีประสิทธิภำพสูงขึ้ น
• ริเริ่มสร้ำงสรรค์แนวทำงใหม่ๆ ในกำรปฏิบต
ั ิงำนหรือดำเนิ นกำรต่ำงๆ ให้องค์กรสำมำรถบรรลุพนั ธกิจได้อย่ำงมีประสิทธิภำพหรือมีคุณภำพสู งขึ้ น โดยแนวทำงใหม่ๆ หรือ
Best Practice นี้ อำจมีอยูแ่ ล้วในองค์กรอื่นๆ ทั้งภำครัฐ เอกชน รัฐวิสำหกิจ หรือหน่ วยงำนอิสระ จำกทั้งในและต่ำงประเทศ
ระดับที่ 5: แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และสร้างนวัตกรรมในระบบกิจการโทรคมนาคมของประเทศโดยรวม
• คิดนอกกรอบ พิจำรณำสิ่งต่ำงๆ ในงำนด้วยมุมมองที่แตกต่ำง อันนำไปสู่กำรวิจยั กำรประดิษฐ์คิดค้น หรือกำรสร้ำงสรรค์ เพื่อนำเสนอต้นแบบ สูตร รูปแบบ วิธี ตลอดจนองค์
ควำมรูใ้ หม่ที่ไม่เคยปรำกฏมำก่อนและเป็ นประโยชน์ต่อระบบกิจกำรโทรคมนำคม หรือสังคม และประเทศชำติโดยรวม
• สนับสนุ นให้เกิดบรรยำกำศแห่งควำมคิดสร้ำงสรรค์หรือสร้ำงโอกำสใหม่ทำงธุรกิจในองค์กร ด้วยกำรให้กำรสนับสนุ นทำงทรัพยำกร หรือจัดกิจกรรมต่ำงๆ ที่จะช่วยกระตุน
้ ให้
เกิดกำรแสดงออกทำงควำมคิดสร้ำงสรรค์
47
การกากับและติดตามอย่างสมา่ เสมอ
(Monitoring and Overseeing- MO)
คาจากัดความ: เจตนำที่จะกำกับดูแล และติดตำมกำรดำเนิ นงำนต่ำงๆ ของผูอ้ ื่นที่เกี่ยวข้องให้ปฏิบตั ิตำมมำตรฐำน กฎระเบียบ หรือข้อบังคับที่กำหนดไว้ โดยอำศัยอำนำจตำม
ระเบียบ กฎหมำย หรือตำมตำแหน่ งหน้ำที่ที่มีอยูอ่ ย่ำงเหมำะสมและมีประสิทธิภำพโดยมุ่งประโยชน์ของหน่ วยงำน องค์กร หรือประเทศชำติเป็ นสำคัญ
ระดับที่ 0: ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้ อย่างชัดเจน
ระดับที่ 1: ตระหนัก เห็นความสาคัญ และประโยชน์ของการกากับติดตามการดาเนินงานต่างๆ ของผูอ้ ื่น
• ตระหนั ก เห็นควำมสำคัญ ควำมจำเป็ น และประโยชน์ ของกำรกำกับติดตำมกำรดำเนิ นงำนต่ ำงๆ ของผูอ้ ื่นที่ เกี่ยวข้องในงำน เพื่อให้ผอ
ู้ ื่นปฏิ บัติตำมมำตรฐำน กฎระเบียบ
หรือข้อบังคับที่กำหนดไว้ และเพื่อให้เกิดประโยชน์ในกำรดำเนิ นงำนของตนเอง หน่ วยงำน หรือองค์กร
ระดับที่ 2: แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และกระตือรือร้นในการกากับติดตามการดาเนินงานต่างๆ ของผูอ้ ื่น
• แสดงพฤติ กรรมกระตือรือร้นในกำรกำกับติดตำมกำรดำเนิ นงำนของผูอ
้ ื่นที่เกี่ยวข้องในงำน เพื่อให้ผอู้ ื่นปฏิบตั ิตำมมำตรฐำน กฎระเบียบ ห รือข้อบังคับที่กำหนดไว้ให้เกิด
ประโยชน์ในกำรดำเนิ นงำนของตนเอง หน่ วยงำน หรือองค์กร และสำมำรถระบุควำมเป็ นไป หรือควำมก้ำวหน้ำในกำรดำเนิ นงำนต่ำงๆ ของผูอ้ ื่นได้
ระดับที่ 3: แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และกากับติดตามการดาเนินงานต่างๆ ของผูอ้ ื่นอย่างสมา่ เสมอ
• ดำเนิ น กำรกำกับติ ดตำมกำรดำเนิ น งำนต่ ำงๆ ของผูอ
้ ื่นอย่ำงสมำ่ เสมอ และเป็ นระยะ และสำมำรถวิเครำะห์ และระบุ ขอ้ มูล ข้อเท็ จจริ ง สำเหตุ สิ่ งผิดปกติ และควำม
เปลี่ยนแปลงต่ำงๆ ที่เกิดขึ้ นได้อย่ำงถูกต้อง เพื่อนำไปสู่กำรดำเนิ นกำรต่ำงๆ ได้อย่ำงถูกต้อง เหมำะสม และสอดคล้องกับ มำตรฐำน กฎระเบียบ หรือข้อบังคับที่กำหนดไว้
• ปรับสถำนกำรณ์ กระบวนกำร หรือวิธีกำรต่ำงๆ เพื่อจำกัดทำงเลือกของผูอ้ ื่น หรือเพื่อบีบคั้นให้ผอ
ู้ ื่นปฏิบตั ิในกรอบที่ถูกต้องตำมกฎหมำยหรือระเบียบปฏิบตั ิที่กำหนดไว้
ระดับที่ 4: แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และกากับติดตาม และตรวจสอบความถูกต้องของการดาเนินงานต่างๆ ของผูอ้ ื่นอย่างใกล้ชิด
• สำรวจ กำกับ ติดตำม และตรวจสอบกำรดำเนิ นงำนต่ำงๆ ของผูอ้ ื่นอย่ำงใกล้ชิดและในเชิงลึก รวมทั้งวิเครำะห์ ประมวล วิจยั และสรุปผลกำรดำเนิ นกำร กำรตอบสนอง และ
กำรให้บริกำรต่ำงๆ ที่ถูกต้อง เหมำะสม และสอดคล้องกับมำตรฐำน กฎระเบียบ หรือข้อบังคับที่กำหนดไว้
• หมัน
่ ควบคุม ตรวจตรำ และตรวจสอบควำมถูกต้องของกำรดำเนิ นงำนต่ำงๆ ในทุกขัน้ ตอนอย่ำงละเอียดของผูอ้ ื่นที่เกี่ยวข้องในงำนให้เป็ นไปตำมมำตรฐำน กฎระเบียบ หรือ
ข้อบังคับที่กำหนดไว้
• ออกคำเตือน (โดยชัดแจ้งว่ำจะเกิดอะไรขึ้ นหำกผูอ้ ื่นไม่ปฏิบต
ั ิตำมมำตรฐำนที่กำหนดไว้หรือกระทำกำรละเมิดกฎหมำย) และสัง่ กำรให้ปรับปรุงกำรดำเนิ นงำนต่ำงๆ ในเชิง
ปริมำณหรือคุณภำพให้ถูกต้องตำมมำตรฐำน กฎระเบียบ หรือข้อบังคับที่กำหนดไว้
ระดับที่ 5: แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และจัดการกับการดาเนินงานต่างๆ ที่ไม่ดี ไม่ถกู ต้อง หรือสิ่งผิดกฎหมายอย่างเด็ดขาดตรงไปตรงมา
• ดำเนิ นกำรอย่ำงตรงไปตรงมำ หรือ ใช้วิธีเผชิญหน้ำอย่ำงเด็ ดขำดเมื่อผูอ้ ื่นหรือหน่ วยงำนภำยใต้กำรกำกับดูแลมี กำรดำเนิ นงำนต่ำงๆ ที่ ไม่ดี ไม่ถูกต้อง หรือทำผิดกฎหมำย
อย่ำงร้ำยแรง
• กำหนด หรือปรับมำตรฐำน ข้อบังคับ หรือกฎระเบียบต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องให้แตกต่ำง ท้ำทำย หรือสูงขึ้ น (เมื่อสภำวแวดล้อมเปลี่ยนไป) เพื่อส่งเสริมให้บุคลำกรเกิดกำรพัฒนำ
ควำมสำมำรถให้สงู ขึ้ น
48
การผลักให้เกิดการมีสว่ นร่วมในสังคม
(Building Participation- BP)
คาจากัดความ: กำรตระหนัก เต็มใจ ยอมรับ และเปิ ดโอกำสให้ผอู ้ ื่น ประชำชน เครือข่ำย กลุ่มบุคคล หรือหน่ วยงำนต่ำงๆ เข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรดำเนิ นงำนของหน่ วยงำน หรือองค์กร เพื่อ
สร้ำงและส่งเสริมให้เกิดกระบวนกำรและกลไกกำรมีส่วนร่วมของทุกภำคส่วนอย่ำงแท้จริงและยัง่ ยืน
ระดับที่ 0: ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้ อย่างชัดเจน
ระดับที่ 1: ตระหนักและเห็นความสาคัญและประโยชน์ของการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
• ตระหนักและเห็นควำมสำคัญของกำรมีส่วนร่วมในกำรดำเนิ นงำนต่ำงๆ ของหน่ วยงำน หรือองค์กร
• สนับสนุ นให้ผอ
ู ้ ื่น ประชำชน เครือข่ำย กลุ่มบุคคล หรือหน่ วยงำนต่ำงๆ เห็นควำมสำคัญและประโยชน์ของกำรมีส่วนร่วมในกำรจัดกำรปั ญหำต่ำ งๆ ที่เกี่ยวข้อง
• เชื่อมัน
่ ในข้อดี/ประโยชน์ของกำรมีส่วนร่วมของผูอ้ ื่น ประชำชน เครือข่ำย กลุ่มบุคคล หรือหน่ วยงำนต่ำงๆ จะช่วยให้กำรดำเนิ นงำนของหน่ วยงำน หรือองค์กรประสบควำมสำเร็จได้
ระดับที่ 2: แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และเปิ ดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น หรือดาเนินงานต่างๆ ร่วมกัน
• เปิ ดใจ เต็มใจ และยอมรับให้ผอ
ู ้ ื่น ประชำชน เครือข่ำย กลุ่มบุคคล หรือหน่ วยงำนต่ำงๆ เข้ำมีส่วนร่วมในกำรแสดงควำมคิดเห็น ข้อมูล หรื อแสดงศักยภำพในกำรดำเนิ นงำนต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้อง
ของหน่ วยงำน หรือองค์กร
• เปิ ดโอกำสให้ผอ
ู ้ ื่น ประชำชน เครือข่ำย กลุ่มบุคคล หรือหน่ วยงำนต่ำงๆ ได้เข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรดำเนิ นงำนต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อ ส่งเสริมให้เกิดกำรมีส่วนร่วมในกำรดำเนิ นงำนมำกขึ้ น
• รับฟั งควำมคิดเห็น คำแนะนำ ตลอดจนข้อเสนอแนะต่ำงๆ จำกผูอ้ ื่น ประชำชน เครือข่ำย กลุ่มบุคคล หรือหน่ วยงำนต่ำงๆ เพื่อสร้ำงกำรมีส่วนร่วมในกำรดำเนิ นงำนต่ำงๆ
ระดับที่ 3: แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และประยุกต์ เชื่อมโยง และต่อยอดความคิดเห็นของทุกภาคส่วน และร่วมตัดสินใจการดาเนินการต่างๆ ให้เกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุด
• ประยุกต์ เชื่อมโยง และต่อยอดควำมคิด ข้อมูล และศักยภำพของกำรดำเนิ นงำนต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องของกำรมีส่วนร่วมจำกผูอ้ ื่น เครือข่ำยภำคี หรือหน่ วยงำนต่ำงๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์และ
ผลสัมฤทธิ์สูงสุด
• วิเครำะห์ ปรับปรุง และขยำยขอบเขตกำรมีส่วนร่วมในวงกว้ำงมำกขึ้ น เพื่อให้เกิดกำรมีส่วนร่วมในทุกภำคส่วนอย่ำงแท้จริง
• ผสมผสำน (Integrate) ควำมคิดเห็น คำแนะนำ ตลอดจนข้อเสนอแนะต่ำงๆ จำกทุกภำคส่วน และหำผลสรุปร่วมกัน รวมทั้งให้ทุกภำคส่วนได้รว่ มตัดสินใจ (Decision Making) ในกำร
ดำเนิ นกำรต่ำงๆ เพื่อสร้ำงกำรมีส่วนร่วมของทุกภำคส่วนอย่ำงแท้จริง
ระดับที่ 4: แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และรวมพลังทุกภาคส่วนและผลักดันให้เกิดผลกระทบในวงกว้าง และเกิดประโยชน์อย่างแท้จริง
• เป็ นตัวกลำง หรือศูนย์กลำงในกำรรวมพลังทุกภำคส่วนและผลักดันกำรดำเนิ นกำรต่ำงๆ ร่วมกัน เพื่อให้เกิดผลกระทบ (Impact) ในวงกว้ำง และเกิดประโยชน์แก่หน่ วยงำน องค์กร ประชำชน
หรือสังคม
• วำงแผนและกำหนดแนวทำง กระบวนกำร และกลไกกำรมีส่วนร่วมของทุกภำคส่วน รวมทั้งประเมินศักยภำพของทุกภำคส่วนอย่ำงรอบด้ำน เพื่อให้แน่ ใจว่ำสำมำรถดึงกำรมีส่วนร่วมและ
ศักยภำพในกำรดำเนิ นงำนต่ำงๆ ให้เกิดผลกระทบในวงกว้ำงที่มีประโยชน์อย่ำงแท้จริง
ระดับที่ 5: แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และสร้างวัฒนธรรมและบรรยากาศของการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง เป็ นระบบ และยั ่งยืน
• สร้ำงวัฒนธรรมและบรรยำกำศของกำรมีส่วนร่วมให้เกิดขึ้ นภำยในองค์กรอย่ำงเป็ นรูปธรรมและยัง่ ยืน เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนกำรและกลไกกำรมีส่วนร่วมในกำรดำเนิ นงำนต่ำงๆ ที่
เกี่ยวข้องอย่ำงมีประสิทธิภำพสูงสุด
• ส่งเสริม สนับสนุ น และดำเนิ นกำรอย่ำงเป็ นรูปธรรม เพื่อรณรงค์ และผลักดันกระบวนกำรและกลไกกำรมีส่วนร่วมของทุกภำคส่วน เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อประชำชน สังคม และประเทศชำติ
อย่ำงแท้จริงและยัง่ ยืน
49
จิตสานึกและรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม
(Environmental Responsibility- ER)
คาจากัดความ: กำรมีจิตสำนึ ก ตระหนัก ให้ควำมสำคัญ และมีควำมรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีควำมมุง่ มัน่ และทุ่มเทที่จะอนุ รกั ษ์ และรักษำสิ่งแวดล้อม สังคม และชุมชนให้
น่ ำอยู่ ตลอดจนเข้ำไปมีส่วนร่วมในกำรปฏิบตั ิงำนหรือร่วมกิจกรรมต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องกับสังคม และสิ่งแวดล้อมขององค์กรอย่ำงเต็มที่ เพื่อเกิดประโยชน์ต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อมโดยรวม
ระดับที่ 0: ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้ อย่างชัดเจน
ระดับที่ 1: แสดงความสนใจ ตระหนัก และเห็นความสาคัญ ประโยชน์ของการอนุรกั ษ์ และการรักษาสิ่งแวดล้อม
• ตระหนัก หรือมีจิตสำนึ กรับผิดชอบต่อสังคม หรือสิ่งแวดล้อมตำมนโยบำยขององค์กรที่กำหนดไว้
• เห็นควำมสำคัญและประโยชน์ของกิจกรรม/โครงกำรเพื่อสังคมหรือสิ่งแวดล้อมขององค์กร
• เห็นคุณค่ำและควำมจำเป็ นของกำรอนุ รก
ั ษ์ และกำรรักษำสิ่งแวดล้อม
ระดับที่ 2: แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และแสวงหาโอกาสในการมีส่วนร่วมในการอนุรกั ษ์และการรักษาสิ่งแวดล้อม
• แสวงหำโอกำส และเข้ำไปมีส่วนร่วมในกำรอนุ รก
ั ษ์และกำรรักษำสิ่งแวดล้อมของหน่ วยงำน องค์กร ชุมชน หรือสังคม
• ให้ควำมร่วมมือ เข้ำร่วม หรือเป็ นส่วนหนึ่ งของกิจกรรม/โครงกำรต่ำงๆ ทำงสังคมหรือสิ่งแวดล้อมขององค์กร หรือหน่ วยงำนต่ำงๆ อย่ำงเต็มใจ และปฏิบต
ั ิตนอย่ำงเคร่งครัดด้ำนกำรอนุ รกั ษ์
และกำรรักษำสิ่งแวดล้อมให้น่ำอยู่ และปลอดภัย
• อำสำและแสดงควำมภำคภูมิใจและควำมพึงพอใจที่ได้เป็ นส่วนหนึ่ งในกิจกรรมเพื่อสังคมหรือเพิ่อสิ่งแวดล้อมขององค์กร (โดยไม่ตอ้ งร้องขอ)
ระดับ ที่ 3: แสดงสมรรถนะระดับ ที่ 2 และกระตุ น้
และสร้า งแรงจู ง ใจให้ผู อ้ ื่ น เห็ น ความส าคั ญ ประโยชน์ ข องกิ จ กรรม โครงการ หรื อ นโยบายด้า นการอนุ รัก ษ์แ ละ
การรักษาสิ่งแวดล้อม
• กระตุน
้ และสร้ำงแรงจูงใจให้ผอู ้ ื่นเห็นควำมสำคัญและประโยชน์ของกิจกรรม โครงกำร หรือนโยบำยเพื่อสังคม และสิ่งแวดล้อม หรือด้ำนกำรอนุ รกั ษ์และกำรรักษำสิ่ งแวดล้อม ตลอดจนกำร
ดูแลรักษำชุมชน หรือสังคมให้น่ำอยู่ เพื่อให้เกิดกำรร่วมแรงร่วมใจอย่ำงแท้จริง
• พัฒนำ และปรับปรุ งระบบ วิธีกำร และแนวทำงกำรดำเนิ นกิ จกรรม/โครงกำรเพื่อสังคม หรือสิ่งแวดล้อม หรือกำรอนุ รก
ั ษ์และกำรรักษำสิ่งแวดล้อม กำรดูแลรักษำชุมชน หรือสังคมในเชิง
สร้ำงสรรค์
• เป็ นกำลังสำคัญในกำรผลักดันให้เกิดกิจกรรม/โครงกำรเพื่อสังคม หรือสิ่งแวดล้อม หรือกำรอนุ รก
ั ษ์และกำรรักษำสิ่งแวดล้อม กำรดูแลรักษำชุมชน หรือสังคมขององค์กรอย่ำงเป็ นรูปธรรม
ระดับที่ 4: แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และศรัทธา และสนับสนุนกิจกรรม โครงการ หรือนโยบายเพื่อสังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างเต็มศักยภาพ
• ยืนหยัด สนับสนุ นกำรตัดสินใจที่จะเกิดประโยชน์ต่อชุมชน สังคมไทย หรือสิ่งแวดล้อมโดยรวม ถึงแม้จะคนส่วนใหญ่จะไม่สนับสนุ น หรืออำจจะต้องทำให้หน่ วยงำนของตนต้องเสียประโยชน์ ใน
ระยะสั้น
• สื่อสำร และถ่ำยทอดวิสย
ั ทัศน์ดำ้ นสังคมและสิ่งแวดล้อมของหน่ วยงำนด้วยวิธีสร้ำงแรงบันดำลใจ และควำมร่วมแรงร่วมใจให้เจ้ำหน้ำที่ในหน่ วยงำนบรรลุวสิ ยั ทัศน์น้ัน
• คิดนอกกรอบ นำเสนอควำมคิดใหม่เพื่อใช้กำหนดนโยบำยด้ำนสังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อประโยชน์ต่อสังคมไทยหรือสิ่งแวดล้อมโดยรวม อย่ำงที่ ไม่มีผูใ้ ดคิดมำก่อน
ระดับที่ 5: แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และเป็ นผูน้ าที่มีบทบาทสาคัญในงานเพื่อสังคม และสิ่งแวดล้อม
• มีบทบำทสำคัญในงำนเพื่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม และสร้ำงวัฒนธรรมองค์กรที่เน้นประโยชน์เพื่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เจ้ำหน้ำที่ทุกระดับในองค์กรมีควำมมุ่งมัน
่ ยึดมัน่
และรับผิดชอบต่อชุมชน สังคมไทย และสิ่งแวดล้อมอย่ำงเป็ นรูปธรรม
• เป็ นที่รจู ้ ก
ั อย่ำงกว้ำงขวำงในแวดวงที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมเพื่อสังคม และสิ่งแวดล้อม และเป็ นแบบอย่ำงที่ดี (Role Model) ในองค์กรด้ำนกำรพัฒนำ และรักษำสิ่ งแวดล้อมในสังคมไทยให้น่ำ
อยู่
50
การมุ่งความปลอดภัยและการระวังภัย
(Safety Mind- SM)
คาจากัดความ: ควำมมุ่งมัน่ ที่จะให้ควำมสำคัญกับควำมปลอดภัย กำรระวังภัย รวมทั้งกำรป้องกันภัยต่ำงๆ ที่อำจจะเกิดขึ้ น โดยรับรูแ้ ละตระหนักถึงควำมสำคัญในกำรป้องกันภัย เหตุอนั ตรำย และสำธำรณภัยต่ำงๆ
ตั้งแต่กำรปฏิบตั ิตนในชีวติ ประจำวันทัว่ ไป รวมถึงกำรดำเนิ นกิจกรรมในกำรปฏิบตั ิงำน และตระหนักถึงควำมสำคัญในกำรช่วยเหลือ กำรบรรเทำทุกข์ กำรฟื้ นฟูผปู้ ระสบภัยให้ได้รบั กำรดูแลอย่ำงมีประสิทธิภำพ รวมถึง
กำรสนับสนุ นและเสริมสร้ำงวัฒนธรรมควำมปลอดภัยและกำรระวังภัยต่ำงๆ ให้เกิดขึ้ นในระดับหน่ วยงำน องค์กร ชุมชน และสังคมในระยะยำว
ระดับที่ 0: ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้ อย่างชัดเจน
ระดับที่ 1: ตระหนักถึงความสาคัญด้านความปลอดภัย และผลเสียของการเกิดเหตุอนั ตราย สาธารณภัย รวมถึงสามารถอธิบายได้ถึงวิธีการจัดการเพื่อแก้ไข และการป้องกันเหตุไม่ปลอดภัยต่างๆ
• ให้ควำมสนใจกับปั จจัยต่ำง ๆ รอบตัว ที่อำจเป็ นต้นเหตุของกำรเกิดภัย และควำมไม่ปลอดภัยต่ำง ๆ รวมถึงสนใจในที่มำของเหตุกำรณ์ควำมไม่ ปลอดภัย/ปั ญหำสำธำรณภัยที่เกิดขึ้ น โดยสำมำรถอธิบำยถึงสำเหตุ
ของควำมไม่ปลอดภัยดังกล่ำว
• รูว้ ธ
ิ ีจดั กำรกับควำมเสี่ยงที่จะทำให้เกิดภัย กำรป้องกัน และวิธีแก้ไขปั ญหำควำมไม่ปลอดภัย หรือเพื่อมิให้ภยั ลุกลำมขยำยวงกว้ำงจนกลำยเป็ นปั ญหำสำธำรณภัย
• ขวนขวำยหำควำมรูเ้ พิ่มเติมเกี่ยวกับกำรป้องกันและแก้ไขปั ญหำอันตรำย สำธำรณภัย รวมถึงควำมรูใ้ นกำรป้องกันและแก้ไขปั ญหำควำมไม่ปลอดภัยต่ำง ๆ
• เข้ำร่วมกิจกรรมกำรเรียนรู้ กำรแลกเปลี่ยนควำมรู้ และกำรรณรงค์เพื่อพฤติกรรมที่ปลอดภัยต่ำง ๆ
ระดับที่ 2: แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และแสดงออกให้เห็นถึงความเป็ นผูไ้ ม่ประมาท รอบคอบ ระแวดระวังภัย และความไม่ปลอดภัยต่างๆ ที่อาจเกิ ดขึ้ น ทั้งกับตัวเองหรือผูร้ ่วมงาน และสามารถ
ประยุกต์ใช้ความรูแ้ ละทรัพยากรที่มีอยูใ่ นการป้องกันและแก้ไขปั ญหาความไม่ปลอดภัยได้
• กระทำกำรใดๆ ด้วยควำมรอบคอบ ไม่ประมำท เพื่อให้เกิดควำมปลอดภัย ทั้งในกำรดำเนิ นกิจกรรมส่วนตัวในชีวต
ิ ประจำวัน และกำรปฏิบตั ิงำน
• โน้มน้ำวชักชวนเพื่อนร่วมงำนและผูเ้ กี่ยวข้องให้ตระหนักถึงคุณประโยชน์ของควำมปลอดภัยอย่ำงแท้จริง ชี้ ให้เห็นถึงอันตรำยและผลเสียของกำรกระทำที่ไม่ปลอดภัยที่อำจกำรลุกลำมขยำยวงกว้ำงจนกลำยเป็ นปั ญหำ
สำธำรณภัย
• ชี้ แนะแนวทำงกำรปฏิบต
ั ิแก่เพื่อนร่วมงำนและผูเ้ กี่ยวข้องให้มีพฤติกรรมที่ปลอดภัย
• สำมำรถประยุกต์ใช้ควำมรูใ้ นกำรป้องกันมิให้เกิดภัย รวมถึงประยุกต์ใช้ควำมรูแ้ ละทรัพยำกรที่มีอยูใ่ นกำรแก้ไขปั ญหำควำมไม่ปลอดภัย เพื่ อมิให้ลุกลำมขยำยวงกว้ำงจนกลำยเป็ นปั ญหำสำธำรณภัย
ระดับที่ 3: แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และวิเคราะห์ สังเคราะห์ มองเห็นทางเลือกในการนาวิธีการบริหารจัดการสาธารณภัยที่เหมาะสมมาปรับใช้ให้ได้ประโยชน์สูงสุด
• มองเห็นทำงเลือกในกำรนำวิธีกำรบริหำรจัดกำรสำธำรณภัยที่เหมำะสมมำปรับใช้ให้ได้ประโยชน์สงู สุด
• สำมำรถวิเครำะห์สภำพปั ญหำในกำรบริหำรจัดกำรสำธำรณภัยที่เป็ นอยู่ อธิบำยให้ควำมเห็นต่ำงๆ ในประเด็นปั ญหำของกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย และระบบกำรบริหำรจัดกำรในปั จจุบน
ั ได้อย่ำงถูกต้อง
• หมัน
่ วิเครำะห์ และมองหำแนวโน้ม ช่องโหว่ ข้อบกพร่อง ฯลฯ ทั้งจำกปั จจัยภำยในและภำยนอกองค์กร อันจะทำให้เกิดปั ญหำกับกำรบริหำรจัดกำ รสำธำรณภัย และดำเนิ นกำรแก้ไข หรือเตรีย มหำทำงรับมือกับ
ปั ญหำนั้น
• ติดตำม ประเมิน และปฏิบต
ั ิงำนเชิงรุกเพื่อเตรียมควำมพร้อมในกำรรับมือกับทุกสถำนกำรณ์ควำมไม่ปลอดภัย/ปั ญหำสำธำรณภัยที่เกิดขึ้ น ที่อำจเกิดขึ้ นอย่ำงสมำ่ เสมอ
• สำมำรถจัดกำรกับปั ญหำสำธำรณภัยประเภทต่ำงๆ ที่มีควำมซับซ้อนได้ ทั้งในแง่ของกำรป้องกัน กำรช่วยเหลือ บรรเทำ รวมถึงกำรฟื้ นฟู
ระดับที่ 4: แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และพัฒนากระบวนการในการบริหารจัดการสาธารณภัยที่เหมาะสมและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
• สังเครำะห์องค์ควำมรูด
้ ำ้ นกำรบริหำรจัดกำรสำธำรณภัย เพื่อให้ได้นวัตกรรมหรือรูปแบบในกำรบริหำรจัดกำรสำธำรณภัย ที่เหมำะสมต่อกำรนำไ ปใช้ในสถำนกำรณ์ภัยในพื้ นที่ต่ำงๆ ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพและ
ประสิทธิผล
• เสนอแนวทำงปฏิบต
ั ิในกำรจัดกำรกับปั ญหำในกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย และถ่ำยทอดแบบอย่ำงที่ดีของกำรดำเนิ นงำนป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยให้ผรู้ ่วมงำนและผูเ้ กี่ยวข้องได้รบั ทรำบ เพื่อมุ่งหวัง
ให้ผทู้ ี่เกี่ยวข้องต่ำงๆ สำมำรถดำเนิ นกำรบริหำรจัดกำรสำธำรณภัยได้อย่ำงมีประสิทธิภำพสูงสุด
• มุ่งปรับปรุง และเปลี่ยนแปลงระบบ และวิธีกำรในกำรป้องกัน ช่วยเหลือ บรรเทำและฟื้ นฟู ให้มีคุณภำพ เพื่อให้ได้สำมำรถดำเนิ นกำรเพื่ออสร้ำงควำมปลอดภัยให้กบ
ั องค์กร ชุมชน หรื อสังคมได้อย่ำงโดดเด่นและ
เกินกว่ำเป้ำหมำยที่กำหนดไว้
ระดับที่ 5: แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และประเมินคุณค่า และทางเลือก เพื่อกาหนดนโยบายและกลยุทธ์ที่มีผลต่อการบริหารจัดการสาธารณภัยที่มีประสิทธิภาพในระยะยาว
• สำมำรถคำดกำรณ์ปัญหำที่จะเกิดขึ้ นในอนำคต สำมำรถประเมินทรัพยำกรต่ำงๆ ทำงด้ำนกำรบริหำรจัดกำรสำธำรณภัย สำหรับใช้เป็ นทำงเลือกในกำรดำเนิ นกำรเพื่อกำรป้องกัน ช่วยเหลือ และฟื้ นฟูสภำพจำกกำร
เกิดสำธำรณภัยได้อย่ำงเหมำะสมกับสภำพปั ญหำและสถำนกำรณ์ควำมเปลี่ยนแปลงด้ำนสำธำรณภัย
• สนับสนุ นให้เกิดบรรยำกำศแห่งกำรเสริมสร้ำงวัฒนธรรมควำมปลอดภัยขึ้ นในหน่ วยงำนหรือขอบเขตที่รบ
ั ผิดชอบอันเป็ นประโยชน์ต่อกำรบริหำรจัดกำรสำธำรณภัยที่มีประสิทธิภำพในระยะยำว
• สนับสนุ นให้เกิดกำรบูรณำกำรกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยเข้ำกับทุกกิจกรรมกำรทำงำน
• สนับสนุ นกำรจัดกำรควำมรู้ เพื่อพัฒนำบุคลำกรให้มีองค์ควำมรูท
้ ี่เพียงพอต่อกำรขับเคลื่อนองค์กร
• สนับสนุ นให้มีกำรเผยแพร่ประชำสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้ำงวัฒนธรรมควำมปลอดภัยให้เกิดขึ้ นในระดับชุมชนและสังคม
• เป็ นแบบอย่ำงที่ดีของกำรมีจิตสำนึ กควำมปลอดภัย ทั้งพฤติกรรมกำรปฏิบต
ั ิงำน กำรดำเนิ นกิจกรรมส่วนตัวในชีวติ ประจำวัน
51
ความเข้าใจพื้นที่
(Area Understanding- AU)
คาจากัดความ: มีพฤติกรรมและควำมสำมำรถในกำรเข้ำใจประชำชน และพื้ นที่ที่รบั ผิดชอบ และติดตำมข้อมูล ข่ำวสำร และควำมเคลื่อนไหวต่ำงๆ ของประชำชน และพื้ นที่ที่รบั ผิดชอบสมำ่ เสมอ รวมทั้ง
สำมำรถใช้ควำมเข้ำใจที่ถูกต้องนั้นๆ ในกำรให้บริกำร ให้ควำมรู้ ควำมช่วยเหลือ คำแนะนำ กำรพัฒนำ หรือกำรส่งเสริมในด้ำนต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้อ งแก่ประชำชนในพื้ นที่ที่รบั ผิดชอบได้อย่ำงถูกต้อง เหมำะสม และ
มีประสิทธิภำพ
ระดับที่ 0: ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้ อย่างชัดเจน
ระดับที่ 1: ตระหนักถึงความสาคัญของการมีความเข้าใจที่ถูกต้อง และ/หรือรวบรวมข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับประชาชน และพื้ นที่ที่ตนเองมีความรับผิดชอบ
• ตระหนัก เห็นควำมสำคัญ และควำมจำเป็ นของกำรมีควำมรู ้ และควำมเข้ำใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับประชำชน และพื้ นที่ที่ตนเองมีควำมรับผิดชอบว่ ำจะช่วยให้สำมำรถให้บริกำร ให้ควำมรูค
้ วำมช่วยเหลือ
คำแนะนำ กำรพัฒนำ หรือกำรส่งเสริมในด้ำนต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่ำงถูกต้อง และเหมำะสม
• รวบรวมข้อมูล ข่ำวสำร และรำยละเอียดต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องกับประชำชน และพื้ นที่ที่ตนเองมีควำมรับผิดชอบ เพื่อเป็ นข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ในกำรให้บริกำร ให้ควำมรู ้ ควำมช่วยเหลือ กำรพัฒนำ หรือกำร
ส่งเสริมในด้ำนต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่ำงถูกต้อง และเหมำะสม
ระดับที่ 2: แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และมีความรู ้ และความเข้าใจในเรื่องทั ่วๆ ไปที่เกี่ยวข้องกับประชาชน และพื้ นที่ที่ตนเองมีความรับผิดชอบ
• มีควำมเข้ำใจในเรื่องทัว่ ไปๆ ที่เกี่ยวข้องกับประชำชน และพื้ นที่ที่ตนเองมีควำมรับผิดชอบ เช่น ลักษณะกำรประกอบกำรอำชีพ สภำพแวดล้อ มทัว่ ไป กำรดำเนิ นชีวิตควำมเป็ นอยู่ ปั ญหำและควำมต้องกำร
ต่ำงๆ ผูน้ ำ และผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย เป็ นต้น เพื่อให้สำมำรถให้บริกำร ให้ควำมรู้ ควำมช่วยเหลือ คำแนะนำ กำรพัฒนำ หรือกำรส่งเสริม ในด้ำนต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องแก่ประชำชน หรือสร้ำงประโยชน์ให้แก่พนที
ื้ ่ที่
รับผิดชอบได้อย่ำงถูกต้อง และเหมำะสม
• ติดตำมข้อมูล ข่ำวสำร และควำมเคลื่อนไหวต่ำงๆ ของประชำชน และพื้ นที่ที่ตนเองมีควำมรับผิดชอบ และมีควำมรู ้ และควำมเข้ำใจทัว่ ไปนั้น ๆ ที่ถูกต้อง เพื่อสำมำรถให้บริกำร ให้ควำมรู ้ ควำมช่วยเหลือ
คำแนะนำ กำรพัฒนำ หรือกำรส่งเสริมในด้ำนต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องแก่ประชำชนในพื้ นที่ที่รบั ผิดชอบได้อย่ำงถูกต้อง และเหมำะสม หรือสร้ำงประโยชน์ให้แก่พนที
ื้ ่ที่รบั ผิดชอบได้อย่ำงถูกต้อง และเหมำะสม
ระดับที่ 3: แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และหมั ่นศึกษา ติดตามความเคลื่อนไหวต่างๆ อย่างใกล้ชิด และมีความรู ้ และความเข้าใจที่เฉพาะเจาะจง ตรงประเด็น และมีความสาคัญ โดยตรงประชาชน
และพื้ นที่ที่ตนเองมีความรับผิดชอบ
• มีควำมเข้ำใจที่เฉพำะเจำะจง ตรงประเด็น และมีควำมสำคัญโดยตรงต่อประชำชน และพื้ นที่ที่ตนเองมีควำมรับผิดชอบ ตลอดจนศึกษำ วิเครำะห์ และระบุขอ้ ดี ข้อเสียต่ำงๆ ที่มีผลกระทบต่อประชำชน และ
พื้ นที่ที่ตนเองมีควำมรับผิดชอบได้ และสำมำรถให้บริกำร ให้ควำมรู้ ควำมช่วยเหลือ คำแนะนำ กำรพัฒนำ หรือกำรส่งเสริมในด้ำนต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่ำงถูกต้อง เหมำะสม และสอดคล้องกับควำม
ต้องกำร หรือเกิดประโยชน์แก่พนที
ื้ ่ที่รบั ผิดชอบ
• หมัน
่ ศึกษำ ค้นคว้ำ และติดตำมข้อมูล ข่ำวสำร และควำมเคลื่อนไหวต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องกับประชำชน และพื้ นที่ที่ตนเองมีควำมรับผิดชอบอย่ ำงใกล้ชิด และสมำ่ เสมอ และสำมำรถระบุสำเหตุ และปั จจัยเชิงลึก
ที่มีควำมสำคัญและมีผลกระทบโดยตรงทีชว่ ยให้สำมำรถให้บริกำร ให้ควำมรู้ ควำมช่วยเหลือ คำแนะนำ กำรพัฒนำ หรือกำรส่งเสริมต่ำงๆ แก่ประชำชนในพื้ นที่ที่ตนเองมีควำมรับผิดชอบได้อย่ำงถูกต้อง
เหมำะสม และสอดคล้องกับควำมต้องกำร หรือสร้ำงประโยชน์ที่เกิดควำมได้เปรียบแก่พนที
ื้ ่ที่รบั ผิดชอบ
ระดับที่ 4: แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และเข้าใจจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และข้อจากัดต่างๆ และสามารถประยุกต์และปรับความเข้าใจนั้นๆ มาสร้างประโยชน์แก่ประชาชน และพื้ นที่ที่ตนเอง
รับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับความต้องการอย่างแท้จริง
• เข้ำใจถึงปั จจัย และผลกระทบโดยตรง และโดยอ้อม ตลอดจนเข้ำใจจุดแข็ง จุดอ่อน โอกำส และข้อจำกัดต่ำงๆ ของประชำชน และพื้ นที่ที่รบ
ั ผิดชอบ และสำมำรถประยุกต์และปรับควำมเข้ำใจนั้นๆ ให้เกิด
ประโยชน์แก่ประชำชนในพื้ นที่ที่รบั ผิดชอบอย่ำงมีประสิทธิภำพ และสอดคล้องกับควำมต้องกำรอย่ำงแท้จริง
• เสนอแนะวิธีกำร แนวทำง และผลักดันกำรให้บริกำร ให้ควำมรู ้ ควำมช่วยเหลือ คำแนะนำ กำรพัฒนำ หรือกำรส่งเสริมต่ำงๆ ให้เกิดกำรปฏิบต
ั ิใช้จริง (Implementation) อย่ำงเป็ นระบบ รูปธรรม และ
ต่อเนื่ องที่เกิดประโยชน์อย่ำงแท้จริงโดยรวมแก่ประชำชน และพื้ นที่ที่รบั ผิดชอบ โดยอำศัยกำรประยุกต์ ปรับ เชื่อมโยง และผสมผสำน (Integrate) ควำมเข้ำใจประชำชน และพื้ นที่ในเชิงลึกที่สงั ่ สมมำ
ระดับที่ 5: แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และใช้ความเข้าใจประชาชน และพื้ นที่ในเชิงลึกและรอบด้านมากาหนดกลยุทธ์ และนโยบายที่สร้างประโยชน์ในระยะยาวแก่ประชาชน สังคมและ
ประเทศชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
• ใช้ควำมเข้ำใจประชำชน และพื้ นที่ในเชิงลึกและรอบด้ำน ตลอดจนประสบกำรณ์ และควำมเชีย
่ วชำญที่สงั ่ สมมำอย่ำงยำวนำนมำกำหนดกลยุทธ์ นโยบำย และแผนงำนต่ำงๆ ที่สร้ำงประโยชน์ในระยะยำว
ตลอดจนมูลค่ำเพิ่ม (Value Added) แก่ประชำชน สังคม และประเทศชำติได้อย่ำงมีประสิทธิภำพสูงสุด
52
ความรูท้ ี่จาเป็ นในงาน (Technical Knowledge)
ความรู้ความสามารถที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานใน
ตาแหน่งประเภททั่วไป*
ความรู้ความสามารถที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานใน
ตาแหน่งประเภทวิชาการ*
คำจำกัดควำม: องค์ควำมรูต้ ่ำงๆ ที่ใช้ในกำรปฏิบตั ิงำนในตำแหน่ ง
คำจำกัดควำม: องค์ควำมรูต้ ่ำงๆ ที่ใช้ในกำรปฏิบตั ิงำนในตำแหน่ ง
ระดับที่ 0: ไม่แสดงควำมรูด้ ำ้ นนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 0: ไม่แสดงควำมรูด้ ำ้ นนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 1: มีควำมรูพ้ นฐำนในกำรปฏิ
ื้
บตั ิหน้ำที่รำชกำร
ระดับที่ 1: มีวุฒิกำรศึกษำระดับปริญญำ และสำมำรถนำองค์ควำมรูท้ ี่ ศึกษำมำใช้ใน
กำรปฏิบตั ิหน้ำที่รำชกำรได้
ระดับ ที่ 2: มี ค วำมรู้ค วำมสำมำรถตำมที่ ก ำหนดไว้ใ นระดับ ที่ 1 และมี ค วำมรู้
ควำมสำมำรถประสบกำรณ์ และควำมชำนำญงำนหรือมีทกั ษะเฉพำะทำง
ระดับ ที่ 3: มี ค วำมรู้ค วำมสำมำรถตำมที่ ก ำหนดไว้ใ นระดับ ที่ 2 และมี ค วำมรู้
ควำมสำมำรถ ประสบกำรณ์ และควำมชำนำญงำน หรือมีทกั ษะในงำนเชิงเทคนิ ค
หรืองำนฝี มือเฉพำะทำงระดับสูง
ระดับ ที่ 4: มี ค วำมรู้ค วำมสำมำรถตำมที่ ก ำหนดไว้ใ นระดับ ที่ 3 และมี ค วำมรู้
ควำมสำมำรถ ประสบกำรณ์ และควำมชำนำญงำน หรือมีทกั ษะในงำนเชิงเทคนิ ค
หรืองำนฝี มือเฉพำะทำงระดับสูงมำก จนได้รบั กำรยอมรับในระดับชำติ
ระดับที่ 2: มีควำมรูค้ วำมสำมำรถตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 1 และมีควำมรูค้ วำม
เข้ำใจในหลักกำร แนวคิด ทฤษฎีของงำนในสำยอำชีพที่ปฏิบัติอยู่ รวมทั้ งสำมำรถ
ถ่ำยทอดได้
ระดับที่ 3: มีควำมรูค้ วำมสำมำรถตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 2 และมีควำมรูค้ วำม
เข้ำใจอย่ำงถ่องแท้เกี่ยวกับลักษณะงำน หลักกำร แนวคิด ทฤษฎีของงำนในสำย
อำชีพที่ปฏิบตั ิอยูจ่ นสำมำรถนำมำประยุกต์ใช้ให้เข้ำกับสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ได้
ระดั บ ที่ 4: มี ค วำมรู้ค วำมสำมำรถตำมที่ ก ำหนดไว้ใ นระดับ ที่ 3 และมี ค วำม
เชี่ยวชำญในสำยอำชีพที่ปฏิบตั ิหน้ำที่รำชกำรอยู่ และสำมำรถแก้ไขปั ญหำที่ยุ่งยำก
ซับซ้อน รวมทั้งให้คำปรึกษำแนะนำได้
ระดับที่ 5: มีควำมรูค้ วำมสำมำรถตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 4 และเป็ นผูเ้ ชี่ยวชำญ
ในสำยอำชีพที่ ปฏิบัติหน้ำที่รำชกำรอยู่ เนื่ องจำกกำรสัง่ สมประสบกำรณ์และองค์
ควำมรู้ รวมทั้งเป็ นที่ปรึกษำระดับบริหำร หรือปฏิบตั ิหน้ำที่รำชกำรที่ตอ้ งตัดสินใจ
แก้ไขปั ญหำทำงวิชำกำรที่ยำกและซับซ้อนเป็ นพิเศษ
หมายเหตุ: เป็นความรู้ที่สานักงาน ก.พ. บังคับ
53
ความรูท้ ี่จาเป็ นในงาน (Technical Knowledge)
ความรู้ความสามารถที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานใน
ตาแหน่งประเภทอานวยการ และประเภทบริหาร*
คำจำกัดควำม: องค์ควำมรูต้ ่ำงๆ ที่ใช้ในกำรปฏิบตั ิงำนในตำแหน่ ง
ความรู้เรื่องกฎหมายและกฎระเบียบราชการ*
คำจำกัดควำม: ควำมรูเ้ รื่องกฎหมำยตลอดจนกฎระเบี ยบต่ ำงๆ ที่ ตอ้ งใช้ ในกำร
ปฏิบตั ิหน้ำที่รำชกำร
ระดับที่ 0: ไม่แสดงควำมรูด้ ำ้ นนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับ ที่ 1: มี ค วำมรู้ค วำมสำมำรถตำมที่ ก ำหนดไว้ใ นระดับ ที่ 3 ของต ำแหน่ ง
ประเภทวิชำกำรหรือของตำแหน่ งประเภททัว่ ไป
ระดับ ที่ 2: มี ค วำมรู้ค วำมสำมำรถตำมที่ ก ำหนดไว้ใ นระดับ ที่ 4 ของต ำแหน่ ง
ประเภทวิชำกำรหรือของตำแหน่ งประเภททัว่ ไป
ระดับ ที่ 3: มี ค วำมรู้ค วำมสำมำรถตำมที่ ก ำหนดไว้ใ นระดับ ที่ 5 ของต ำแหน่ ง
ประเภทวิชำกำร
ระดับที่ 0: ไม่แสดงควำมรูด้ ำ้ นนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 1: มีควำมรูค้ วำมเข้ำใจกฎหมำย หรื อระเบี ยบที่ เกี่ยวข้องกับ กำรปฏิบัติ
หน้ำที่รำชกำรงำนประจำที่ปฏิบตั ิอยู่
ระดับที่ 2: มีควำมรูค้ วำมเข้ำใจตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 1 และสำมำรถหำคำตอบ
ในทำงกฎหมำยได้เมื่อมีขอ้ สงสัยในกำรปฏิบตั ิหน้ำที่รำชกำร
ระดับที่ 3: มีควำมรูค้ วำมเข้ำใจตำมที่ กำหนดไว้ในระดับที่ 2 และสำมำรถนำไป
ประยุกต์เพื่อแก้ปัญหำในทำงกฎหมำย หรือตอบคำถำมข้อสงสัยในกำรปฏิบัติหน้ำที่
รำชกำรให้แก่หน่ วยงำนหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องได้
ระดับที่ 4: มีควำมรูค้ วำมเข้ำใจตำมที่ กำหนดไว้ในระดับที่ 3 และมีควำมรูค้ วำม
เข้ำใจกฎหมำยหรื อระเบี ยบอื่นที่ เกี่ยวข้องกับกฎหมำยหรื อระเบี ยบในกำรปฏิบัติ
หน้ำที่รำชกำร รวมทั้งสำมำรถแนะนำ หรือให้คำปรึกษำในภำพรวมได้
ระดับที่ 5: มีควำมรูค้ วำมเข้ำใจตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 4 และมีควำมเชี่ยวชำญ
ทำงกฎหมำยสำมำรถให้คำแนะนำปรึกษำ วิเครำะห์เหตุผลและแก้ไขปั ญหำได้อย่ำง
มีประสิทธิภำพ
หมายเหตุ: เป็นความรู้ที่สานักงาน ก.พ. บังคับ
54
ความรูท้ ี่จาเป็ นในงาน (Technical Knowledge) (ต่อ)
ควำมรูเ้ รื่องกำรจัดกำรควำมรู ้
คำจำกัดควำม: ควำมรูใ้ นกำรวิเครำะห์ รวบรวม และบริ หำรจัดกำรควำมรูห้ รื อ
บทเรียนต่ำงๆ ที่ได้มำ เพื่อให้สำมำรถจัดทำเป็ นข้อมูลที่ แบ่งปั นให้กับบุ คคลหรื อ
หน่ วยงำนอื่นๆ ได้อย่ำงเหมำะสม และมีประโยชน์สงู สุด
ระดับที่ 0: ไม่แสดงควำมรูด้ ำ้ นนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดั บ ที่ 1: มี ค วำมรู้แ ละควำมเข้ำ ใจทั ว่ ไปในแนวคิ ด รู ป แบบ ควำมส ำคั ญ
องค์ประกอบ และหลักกำรในกำรจัดกำรควำมรู้
ระดับ ที่ 2: มี ค วำมรู้ใ นระดับ ที่ 1 และสำมำรถน ำควำมรู้ไ ปประยุก ต์ใ ช้ ใ นกำร
ปฏิบตั ิงำนได้ และสำมำรถตอบข้อซักถำมในเบื้ องต้นแก่ผอู้ ื่นได้
ระดับที่ 3: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 2 และสำมำรถแก้ไขปั ญหำ ให้คำแนะนำ และเสนอ
แนวทำงในกำรปรับปรุงกำรจัดกำรควำมรูใ้ ห้มีประสิทธิภำพมำกขึ้ นได้
ระดับที่ 4: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 3 และสำมำรถฝึ กอบรมและสอนให้ผูอ้ ื่ นมีควำมรู้
ควำมเข้ำใจได้อย่ำงมีประสิทธิภำพสูงสุด และสำมำรถนำไปปฏิบตั ิใช้จริ งในงำนได้
ระดับที่ 5: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 4 และสำมำรถประยุกต์ควำมรูเ้ พื่อคิ ดค้นสิ่งใหม่ๆ
ให้กบั หน่ วยงำนและองค์กรได้ รวมทั้งสำมำรถวำงแผน และกำหนดแนวทำงในกำร
จัดควำมรูอ้ ย่ำงเป็ นรูปธรรมขององค์กรได้
ควำมรูเ้ รื่องกำรติดตำมและประเมินผล
ค ำจ ำกัด ควำม: ควำมรู้ใ นกำรติ ด ตำมและประเมิ น ผลโดยมุ่ ง สร้ำ งกรอบงำน
(Formative) มุ่งพัฒนำกระบวนกำรและมุ่งเน้นกำรสร้ำงคุณค่ำของงำนเพื่อ นำไปสู่
สภำวะที่ พึงประสงค์ในอนำคต นอกจำกนั้ นยังหมำยรวมถึ งควำมสำมำรถในกำร
กำหนดวิธี เทคนิ ค และกำรประเมินผลของงำนต่ำงๆ ทั้งผลกระทบโดยตรง (Direct
Impact) ผลกระทบโดยอ้อม (Indirect Impact) และผลกระทบเกี่ยวเนื่ อง (Induced
Impact)
ระดับที่ 0: ไม่แสดงควำมรูด้ ำ้ นนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 1: มีควำมรูแ้ ละควำมเข้ำใจทัว่ ไปในแนวคิด แนวทำง ขั้นตอน และหลักกำร
ในกำรติดตำมและประเมินผล
ระดับ ที่ 2: มี ค วำมรู้ใ นระดับ ที่ 1 และสำมำรถใช้ค วำมรู้ไ ด้อ ย่ ำ งช ำนำญ และ
สำมำรถเชื่ อมโยง และประยุกต์ใช้ควำมรูเ้ พื่อติดตำมและประเมินผลกำรบริ หำร
จัดกำรงำนต่ำงๆ ที่รบั ผิดชอบได้
ระดับที่ 3: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 2 และสำมำรถประยุกต์ควำมรูเ้ พื่อนำมำใช้ในกำร
ปรับปรุงประสิทธิภำพในงำนบริหำรจัดกำรงำนต่ำงๆ หรือผลงำนของเครือข่ำ ย ให้
สอดคล้องกับทิศทำงกำรดำเนิ นงำนขององค์กร
ระดับที่ 4: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 3 และสำมำรถฝึ กอบรมให้ผูอ้ ื่นมีค วำมรูไ้ ด้อย่ำงมี
ประสิทธิภำพสูงสุดและสำมำรถนำไปปฏิบตั ิใช้จริงในงำนได้
ระดับที่ 5: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 4 และสำมำรถกำหนดกลยุทธ์ในกำรติด ตำมและ
ประเมินผลงำนต่ ำงๆ ของหน่ วยงำน หรื อองค์กรให้สอดคล้องกับเป้ำหมำย และ
นโยบำยขององค์กรได้
55
ความรูท้ ี่จาเป็ นในงาน (Technical Knowledge) (ต่อ)
ความรู้เรื่องการจัดทานโยบาย แผน
ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ
ควำมรูเ้ รื่องกำรทำงบกำรเงินและงบประมำณ
ค ำจ ำกัด ควำม: ควำมรู้ใ นกำรก ำหนดหรื อ วำงแผนปฏิ บัติ ง ำนที่ ส อดคล้อ งกับ
ยุท ธศำสตร์ห รื อ นโยบำยที่ ก ำหนดขึ้ น เพื่ อ แสดงให้เ ห็ น ถึ งรำยละเอี ยดของกำร
ดำเนิ นกำรแต่ละกิจกรรม งำน หรือโครงกำรที่กำหนดเพื่อให้เกิดควำมสำเร็ จของ
องค์กร
คำจำกัดควำม: ควำมรูแ้ ละควำมเข้ำใจในหลักกำรทำงกำรเงิน งบประมำณ และ
บริหำรจัดกำรงบกำรเงินและงบประมำณได้ รวมทั้งสำมำรถจัดทำ ตรวจสอบ และ
แก้ไขข้อผิดพลำดของงบกำรเงิน และงบประมำณและให้ขอ้ เสนอแนะได้อย่ำงถูกต้อง
ระดับที่ 0: ไม่แสดงควำมรูด้ ำ้ นนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 1: มีควำมรูแ้ ละควำมเข้ำใจในหลักกำร ทฤษฎีทำงกำรเงิน งบประมำณ
และรูป แบบกำรบริ หำรกำรเงิน งบประมำณ และวิธี กำรจัดกำรงบกำรเงิ น และ
งบประมำณ
ระดับ ที่ 1: มีควำมรู้และควำมเข้ำใจในหลักกำร วิธีกำร และแนวทำงกำรจัด ทำ
แผนปฏิบตั ิกำร แผนยุทธศำสตร์ และแผนงำนต่ำงๆ
ระดับที่ 2: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 1 และสำมำรถใช้ควำมรูน้ ี้ ได้อย่ำงชำนำญตลอดจน
สำมำรถเชื่ อ มโยงได้ว่ ำ กำรสำมำรถประยุก ต์ใ ช้ค วำมรู้ดังกล่ ำ วเพื่ อ ติ ด ตำมและ
ประเมินผลกำรบริหำรจัดกำรของหน่ วยงำนได้อย่ำงถูกต้อง
ระดับที่ 3: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 2 และสำมำรถประยุกต์ควำมรูน้ ี้ เพื่ อนำมำใช้ในกำร
ปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ ำพในกำรจัด ท ำแผนปฏิ บั ติ ก ำรและแผนยุ ท ธศำสตร์ ข อง
หน่ วยงำนได้
ระดับที่ 4: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 3 และสำมำรถเชื่อมโยงควำมรูเ้ หล่ำนี้ เข้ำกับทิศทำง
และภำรกิจเพื่อมำสร้ำงและกำหนดยุทธศำสตร์ของหน่ วยงำนหรือองค์กรได้
ระดับที่ 5: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 4 และเป็ นที่ยอมรับว่ำเป็ นผูเ้ ชี่ ยวชำญอย่ำงมำกใน
ควำมรูน้ ี้ จนสำมำรถเป็ นที่ปรึกษำในกำรปฏิบตั ิงำนให้กบั หน่ วยงำนอื่ นๆ ทั้งในและ
นอกองค์กรได้
ระดับที่ 0: ไม่แสดงควำมรูด้ ำ้ นนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 2: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 1 และสำมำรถอ่ำน วิเครำะห์รำยงำนทำงกำรเงิน
และงบประมำณได้ รวมทั้งสำมำรถจัดทำงบกำรเงิน งบประมำณ และสรุปรำยงำน
งบกำรเงินและงบประมำณได้อย่ำงถูกต้อง
ระดั บ ที่ 3: มี ค วำมรู้ใ นระดับ ที่ 2 และสำมำรถตรวจสอบควำมถู ก ต้อ ง แก้ไ ข
ข้อผิดพลำดของกำรจัดทำงบกำรเงิน งบประมำณ และเสนอแนะข้อควรระมัดระวังใน
กำรจัดทำงบกำรเงินและงบประมำณได้
ระดับที่ 4: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 3 และสำมำรถวิเครำะห์ขอ้ มูลและปั จจัยแวดล้อมที่มี
ผลกระทบต่ อกำรบริหำรจัดกำรงบกำรเงินและงบประมำณได้ รวมทั้งสำมำรถให้
ค ำแนะน ำ และฝึ ก อบรมให้ผู้อื่ น จัด ทำงบกำรเงิ น และงบประมำณที่ ถู ก ต้ อ งตำม
มำตรฐำนและหลักกำรได้
ระดับที่ 5: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 4 และสำมำรถวำงแผนทำงกำรเงิน กำรใช้จ่ ำย
รำยได้ และงบประมำณขององค์ก รได้ส อดคล้อ งกับ กลยุท ธ์ก ำรดำเนิ น งำนของ
องค์กร รวมทั้งกำหนดนโยบำยกำรบริหำรงบกำรเงินได้สอดคล้องกับนโยบำยกำร
ดำเนิ นงำนขององค์กร
56
ความรูท้ ี่จาเป็ นในงาน (Technical Knowledge) (ต่อ)
ความรู้เรื่องการบริหารความเสี่ยง
คำจำกัดควำม: ควำมรูแ้ ละควำมเข้ำใจในควำมหมำย ประเภท และวงจรกำรบริหำร
ควำมเสี่ ย ง และสำมำรถตรวจสอบกำรบริ ห ำรควำมเสี่ ย งให้เกิ ด ประสิ ท ธิ ภ ำพ
ตลอดจนสำมำรถกำหนดแนวทำงกำรดำเนิ นงำนเพื่อป้องกันควำมเสี่ยงที่อำจจะเกิด
ขึ้ นกับองค์กรได้
ควำมรูเ้ รื่องบัญชี และระบบบัญชี
คำจำกัดควำม: ควำมรูแ้ ละควำมเข้ำใจในแนวคิด หลักกำร และขั้นตอนกำรทำงำน
ด้ำนบัญ ชี และระบบบัญ ขี รวมทั้งสำมำรถบัน ทึ กและจัด ทำรำยงำนทำงบัญ ชี ได้
สอดคล้องกับมำตรฐำนทำงบัญชี
ระดับที่ 0: ไม่แสดงควำมรูด้ ำ้ นนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 0: ไม่แสดงควำมรูด้ ำ้ นนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับ ที่ 1: มี ค วำมรู้และควำมเข้ำ ใจในควำมหมำย ประเภท ปั จจัย วงจร และ
ขัน้ ตอนกำรบริหำรควำมเสี่ยง
ระดับที่ 2: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 1 และสำมำรถระบุปัจจัยกำรบริหำรควำมเสี่ยง และ
นำเสนอแนวทำงป้องกันควำมเสี่ยงในเบื้ องต้นได้
ระดับที่ 3: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 2 และสำมำรถจัดทำแผนกำรบริหำรควำมเสี่ยงที่
เกิดขึ้ นได้ เพื่อรับมือกับควำมเสี่ยงที่เกิดขึ้ น และสำมำรถควบคุม และตรวจสอบกำร
บริหำรควำมเสี่ยงให้เป็ นไปตำมวัตถุประสงค์ที่กำหนดได้
ระดับที่ 1: มีควำมรูแ้ ละควำมเข้ำใจในหลักกำร แนวทำงปฏิบัติ และขั้น ตอนกำร
ทำงำนด้ำนบัญชี รวมทั้งสำมำรถคำนวณและลงบันทึกบัญชีพนฐำนได้
ื้
ระดับที่ 2: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 1 และสำมำรถตรวจสอบควำมถูกต้องของเอกสำรที่
เกี่ยวข้องกับงำนบัญชีได้ตำมกรอบและแนวทำงที่ กำหนด รวมทั้งอ่ำนและตี ควำม
ข้อมูลได้ตำมถูกต้องตำมหลักกฎหมำยกำรบัญชี
ระดับที่ 3: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 2 และสำมำรถปิ ดบัญชีแยกประเภท จัดทำรำยงำน
ทำงบัญชี และจัดทำงบทดลองได้ถูกต้องตำมหลักและมำตรฐำนทำงบัญชี รวมทั้ง
สำมำรถให้คำแนะนำที่ถูกต้องตำมหลักกฎหมำยด้ำนบัญชี
ระดับที่ 4: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 3 และสำมำรถวิเครำะห์โอกำส สถำนกำรณ์ และ
ผลกระทบที่อำจจะเกิดควำมเสี่ยงได้ และสำมำรถจัดทำแผนปฏิบตั ิกำรในกำรบริหำร
ควำมเสี่ ยงที่ เกิ ด ขึ้ นของหน่ ว ยงำน หรื อ องค์ก รได้ และสำมำรถให้ค ำแนะน ำถึ ง
แนวทำงและวิธีกำรในกำรบริหำรจัดกำรควำมเสี่ยง
ระดับที่ 4: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 3 และสำมำรถตรวจสอบรำยงำนทำงบัญชี แก้ไข
ข้อผิดพลำดทำงบัญชี และวำงแผนป้องกันปั ญหำทำงบัญชีไม่ให้เกิดควำมผิ ดพลำด
ซ้ำๆ ได้
ระดับที่ 5: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 4 และสำมำรถประเมินและคำดกำรณ์ควำมเสี่ยงที่
อำจจะเกิดขึ้ นในกำรบริหำรงำนขององค์กรและสำมำรถกำหนดแนวทำงดำเนิ นงำน
เพื่อป้องกัน ลด และควบคุมควำมเสี่ยงในระดับที่องค์กรยอมรับได้
ระดับที่ 5: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 4 และสำมำรถออกแบบปรับปรุง พัฒนำ และวำง
ระบบบัญ ชี ใ ห้มี ค วำมเหมำะสมกับ กำรใช้ง ำนขององค์ก ร รวมทั้งก ำหนดกรอบ
ทิศทำง และแผนงำนทำงบัญชีได้สอดคล้องกับนโยบำยขององค์กรได้
57
ความรูท้ ี่จาเป็ นในงาน (Technical Knowledge) (ต่อ)
ควำมรูเ้ รื่องบรรณำรักษ์
ความรู้เรื่องงานธุรการและงานสาร
บรรณ
คำจำกัดควำม: ควำมรูแ้ ละควำมเข้ำใจในงำนบรรณำรักษ์ กำรบริหำรจัดกำรงำน
ห้องสมุด กำรแบ่งหมวดหมู่หนังสือ กำรจัดเก็บ กำรสืบค้นของเอกสำร หนั งสือ และ
สื่อต่ำงๆ ของห้องสมุด เพื่อให้เกิดควำมสะดวกในกำรใช้บริกำร
คำจำกัดควำม: ควำมรูแ้ ละควำมเข้ำใจในขอบเขตในกำรปฏิบตั ิงำนด้ำนธุรกำร และ
สำรบรรณ รวมทั้งสำมำรถจัดสรรกำรใช้ทรัพยำกรให้เพียงพอ ตลอดจนติดตำม และ
ปรับปรุงขัน้ ตอนกำรให้บริกำรแก่หน่ วยงำนต่ำงๆ ให้มีประสิทธิภำพ
ระดับที่ 0: ไม่แสดงควำมรูด้ ำ้ นนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 0: ไม่แสดงควำมรูด้ ำ้ นนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 1: มีควำมรูแ้ ละควำมเข้ำใจในระบบงำนของห้องสมุด และวิธีกำรจั ดกำร
ห้องสมุด และสำมำรถจัดแบ่งประเภทหมวดหมู่ของเอกสำร หนั งสือ และสื่อต่ ำงๆ
ของห้องสมุดได้
ระดับที่ 1: มีควำมรูแ้ ละควำมเข้ำใจในภำระหน้ำที่ และแนวปฏิบัติในงำนธุ รกำร
และงำนสำรบรรณ และอธิ บ ำยได้ ถึ ง หน้ ำ ที่ ก ำรปฏิ บั ติ ง ำน และขอบเขต
ควำมรับผิดชอบของหน่ วยงำน
ระดับที่ 2: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 1 และสำมำรถจัดเก็บเอกสำร หนังสือ และสื่อต่ำงๆ
ได้อ ย่ำ งเป็ นระบบตำมที่ ก ำหนดไว้ และให้ค ำแนะน ำแก่ ผู้ใ ช้บ ริ ก ำรห้ อ งสมุ ด ถึ ง
วิธีกำรใช้หอ้ งสมุด กำรสืบค้น กำรยืม-คืน และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องได้
ระดับที่ 2: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 1 และสำมำรถรวบรวมปั ญหำ และแก้ไขปั ญหำที่
เกิดขึ้ นในกำรปฏิบตั ิงำนของงำนธุรกำร และงำนสำรบรรณของหน่ วยงำนในเบื้ องต้น
ได้ รวมทั้งสำมำรถติดต่อประสำนงำนเพื่อรองรับกำรให้บริกำรได้อย่ำงเพียงพอ
ระดับที่ 3: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 2 และให้บริกำรยืม-คืน สืบค้นเอกสำร หนังสือ และ
สื่อต่ ำงๆ ของห้องสมุดได้ และสำมำรถสอนในรำยละเอียดถึ งวิธีกำรแบ่งประเภท
กำรจัดเก็บ แนวทำง และวิธีกำรสืบค้นได้อย่ำงถูกต้อง
ระดับที่ 3: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 2 และสำมำรถวำงแผน จัดสรรกำรใช้ทรัพ ยำกร สิ่ง
อำนวยควำมสะดวกได้อย่ำ งเพี ยงพอ รวมทั้งควบคุ ม ติ ด ตำมกำรให้บ ริ ก ำรของ
หน่ วยงำนได้ อ ย่ ำ งมี ป ระสิ ท ธิ ภ ำพ ตลอดจนวิ เ ครำะห์ ข ้อ มู ล ปั ญหำและให้
ข้อเสนอแนะด้ำนงำนธุรกำรและงำนสำรบรรณได้
ระดับที่ 4: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 3 และสำมำรถประยุกต์โปรแกรมคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสมัยใหม่ในกำรสืบค้น กำรจัดเก็บเอกสำร หนังสือ และสื่อต่ำงๆ รวมทั้ง
สำมำรถฝึ กอบรมให้ผูอ้ ื่นดำเนิ นงำนของห้องสมุดได้ และสำมำรถเสนอแนะแนว
ทำงเลือกใหม่ๆ ในงำนห้องสมุดได้
ระดับที่ 4: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 3 และสำมำรถปรับปรุงขัน้ ตอนระบบกำรทำงำนให้มี
ประสิ ท ธิ ภ ำพ รวมทั้ง สำมำรถให้ค ำปรึ ก ษำและแนะน ำแก่ ผู้อื่ น ทั้ง ภำ ยในและ
ภำยนอกองค์กรในงำนธุรกำรและงำนสำรบรรณให้เกิดประสิทธิภำพสูงสุด
ระดับที่ 5: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 4 และสำมำรถกำหนดนโยบำย และแผนงำนกำร
บริหำรจัดกำรงำนห้องสมุดได้อย่ำงถูกต้องและสอดคล้องตำมนโยบำยขององค์กรได้
และสำมำรถจัดสรรทรัพยำกรและงบประมำณของห้องสมุดได้อย่ำงคุม้ ค่ำ
ระดับ ที่ 5: มี ค วำมรู้ใ นระดับ ที่ 4 และสำมำรถก ำหนดแผนงำน กลยุ ท ธ์ และ
เป้ำหมำยของงำนธุ รกำรและงำนสำรบรรณให้สอดคล้องกับแผนงำนและนโยบำย
ขององค์กรได้
58
ความรูท้ ี่จาเป็ นในงาน (Technical Knowledge) (ต่อ)
ความรู้เรื่องสื่อสารประชาสัมพันธ์และสร้าง
ภาพลักษณ์
ความรู้เรื่องเศรษฐศาสตร์และอุตสาหกรรม
คำจำกัดควำม: ควำมรูแ้ ละควำมเข้ำใจในแนวคิด หลักกำร และกระบวนกำรใน
กำรสื่อสำรเพื่อกำรประชำสัมพันธ์และกำรสร้ำงภำพลักษณ์ เพื่อให้เกิด แรงผลักดัน
กำรสร้ำงกำรรับรู้ กำรให้ควำมรู้ และกำรสื่อสำรประชำสัมพันธ์ได้อย่ำ งถูกต้อง
ค ำจ ำกัด ควำม: ควำมรู้แ ละควำมเข้ำ ใจในแนวคิ ด และหลั ก กำรต่ ำ งๆ ด้ำ น
เศรษฐศำสตร์ และอุตสำหกรรมที่รบั ผิดชอบ ตลอดจนสำมำรถประยุกต์ควำมรู้ดำ้ น
เศรษฐศำสตร์แ ละอุ ต สำหกรรมให้เ กิ ด ประโยชน์ ใ นกำรปฏิ บัติ ง ำนของตนเอง
ผูป้ ระกอบกำร หน่ วยงำน และองค์กรได้
ระดับที่ 0: ไม่แสดงควำมรูด้ ำ้ นนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดั บ ที่ 1: มี ค วำมรู้แ ละควำมเข้ำ ใจในแนวคิ ด หลั ก กำร และกระบวนกำร
ในกำรสื่ อสำรเพื่อกำรประชำสัมพันธ์ และกำรสร้ำงภำพลักษณ์ และดำเนิ นกำร
รวบรวมข้อมูล หัวข้อ และประเด็นที่จะดำเนิ นกำรในกำรสื่อสำรเพื่อประชำสัมพันธ์
และกำรสร้ำงภำพลักษณ์ขององค์กรได้
ระดับที่ 2: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 1 และสำมำรถดำเนิ นกำรจัดกิจกรรมของหน่ วยงำน/
องค์ก รผ่ ำ นทำงกำรสื่ อ สำรเพื่ อ กำรประชำสัม พัน ธ์ และกำรสร้ำ งภำพลัก ษณ์ ที่
สอดคล้องกับกรอบและเป้ำหมำยของงำนที่กำหนดไว้ได้
ระดับที่ 3: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 2 และสำมำรถวิเครำะห์ขอ้ มูล และจับ ประเด็นต่ำงๆ
ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งแปลงให้เป็ นข้อมูลประกอบในกำรกำหนดช่องทำงกำรสื่อสำรเพื่อ
กำรประชำสัมพัน ธ์และกำรสร้ำงภำพลักษณ์ได้อย่ำ งมีประสิ ทธิ ภำพ เพื่อ ให้เกิ ด
แรงผลักดัน กำรสร้ำงกำรรับรู้ กำรให้ควำมรู้ และกำรสื่อสำรประชำสัมพันธ์ในเรื่อง
ที่เกี่ยวข้องได้
ระดับที่ 0: ไม่แสดงควำมรูด้ ำ้ นนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 1: มีควำมรูแ้ ละควำมเข้ำใจทัว่ ๆ ไปในแนวคิด และหลักกำรต่ ำงๆ ด้ำน
เศรษฐศำสตร์ และอุตสำหกรรมในเบื้ องต้น
ระดับที่ 2: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 1 และสำมำรถนำควำมรูเ้ รื่ องเศรษฐศำสตร์และ
อุต สำหกรรมที่ รับ ผิ ดชอบมำประยุก ต์ใ ช้ใ ห้เกิ ด ประโยชน์ กับ กำรปฏิบัติ งำนของ
ตนเอง ผูป้ ระกอบกำร หน่ วยงำน และองค์กร
ระดับที่ 3: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 2 และมีควำมรูแ้ ละควำมเข้ำใจด้ำนเศรษฐศำสตร์
และอุตสำหกรรมอย่ำงถ่องแท้ จนสำมำรถให้คำแนะนำและสนับสนุ นกำรทำงำนแก่
ตนเอง ผูป้ ระกอบกำร หน่ วยงำน และองค์กรได้อย่ำงมีประสิทธิภำพมำกยิง่ ขึ้ น
ระดับที่ 4: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 3 และสำมำรถฝึ กอบรมให้ผูอ้ ื่นเข้ำ ใจและสำมำรถ
ดำเนิ น งำนกำรสื่ อ สำรเพื่ อกำรประชำสัมพันธ์และกำรสร้ำงภำพลัก ษณ์ได้ อ ย่ำ ง
ถูกต้อง และสำมำรถวำงแผนกำรสื่ อสำรเพื่อกำรประชำสัมพันธ์ให้สอดคล้องกับ
เป้ำหมำยและนโยบำยขององค์กร
ระดับที่ 4: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 3 และมีประสบกำรณ์อย่ำงกว้ำงขวำงและเชิงลึกด้ำน
เศรษฐศำตร์และอุตสำหกรรม และสำมำรถถ่ ำยทอดควำมรู้ ควำมช ำนำญ และ
พัฒนำผูอ้ ื่นให้มีควำมรูแ้ ละควำมเชี่ยวชำญด้ำนเศรษฐศำสตร์ได้
ระดับที่ 5: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 4 และสำมำรถคำดกำรณ์บริหำรจัดกำร และกำหนด
กลยุทธ์ และนโยบำยกำรสื่อสำรเพื่อกำรประชำสัมพันธ์ และกำรสร้ำงภำพลั กษณ์
รวมถึ งช่ อ งทำงในกำรสื่ อ สำรเพื่ อ กำรประชำสัม พัน ธ์ เพื่ อ ใช้เ ป็ นกรอบใน กำร
ปฏิบตั ิงำนให้กำรสื่อสำรขององค์กรให้ได้รบั ผลสัมฤทธิ์สงู สุด และมีกระทบในวงกว้ำง
ระดับที่ 5: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 4 และเป็ นที่ยอมรับว่ำเป็ นผูเ้ ชี่ ยวชำญในควำมรูด้ ำ้ น
เศรษฐศำสตร์จนสำมำรถเป็ นที่ปรึกษำในกำรปฏิบตั ิงำนให้กบั หน่ วยงำนอื่ นๆ ทั้งใน
และนอกองค์กรได้
59
ความรูท้ ี่จาเป็ นในงาน (Technical Knowledge) (ต่อ)
ความรู้เรื่องการบริหารทรัพยากรบุคคล
ความรู้เรื่องจัดซื้อจัดจ้างและกฎระเบียบพัสดุ
ค ำจ ำกั ด ควำม: ควำมรู้ เ รื่ อ งกำรจั ด กำรบุ ค ลำกรขององค์ ก รเพื่ อ ให้ ไ ด้ ซึ่ ง
กำรบ ำรุ ง รั ก ษำ กำรพั ฒ นำ และบริ ห ำรบุ ค ลำกร โดยอำจเป็ นควำมรู้ต้ั ง แต่
กำรวำงแผนกำลังคน กำรสรรหำ กำรเลื อ กสรรและบรรจุ กำรบำรุ งรัก ษำและ
กำรจ่ำยค่ำตอบแทนและสวัสดิกำร กำรบริหำรผลงำน และกำรพ้นจำกงำน
คำจำกัดควำม: ควำมรูใ้ นกำรเรื่องกฎหมำย ตลอดจนกฎระเบียบต่ำงๆ ที่ต ้องใช้ใน
กำรปฏิบตั ิงำนจัดซื้ อ จัดจ้ำง และกำรพัสดุ
ระดับที่ 0: ไม่แสดงควำมรูด้ ำ้ นนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 1: มีควำมรูแ้ ละควำมเข้ำใจในเรื่องนี้ ในระดับพื้ นฐำน
ระดับที่ 1: มีควำมรูแ้ ละควำมเข้ำใจในเรื่องนี้ ในระดับพื้ นฐำน
ระดับที่ 2: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 1 และสำมำรถใช้ควำมรูใ้ นกำรปฏิบัติ งำนได้อย่ำง
ถูกต้อง เหมำะสมกับลักษณะงำน ประเภทสินค้ำ บริกำร หรือคณะบุคคล/ที่ปรึกษำ
ที่จำ้ งดำเนิ นกำรได้
ระดับ ที่ 2: มี ค วำมรู้ใ นระดับ ที่ 1 และมี ควำมรู้ควำมเข้ำ ใจในหลัก กำร แนวคิ ด
ทฤษฎีของในเรื่องระบบทรัพยำกรมนุ ษย์ (HRM) และหมัน่ ติ ดตำมแนวคิดและ
หลักกำรใหม่ๆ อยูเ่ สมอจนสำมำรถอธิบำยหรือตอบคำถำมผูอ้ ื่นได้
ระดับที่ 3: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 2 และมีควำมรูค้ วำมเข้ำใจอย่ำงถ่องแท้จนสำมำรถ
นำมำประยุกต์ใช้ดงั กล่ำวเพื่อนำมำใช้ให้คำปรึกษำ สอน หรือจัดทำแผนยุทธศำสตร์
ทรัพยำกรมนุ ษย์ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพสูงสุด
ระดับที่ 0: ไม่แสดงควำมรูด้ ำ้ นนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 3: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 2 และสำมำรถประยุกต์สำมำรถนำไปประยุกต์เพื่อ
วิเครำะห์ปัญหำพัสดุหรือกำรจัดจ้ำงโครงกำรขนำดใหญ่และซับซ้อนได้อย่ ำงถูกต้อง
รวมถึงสำมำรถอุดช่องโหว่ในระเบียบหรือตอบคำถำมข้อสงสัยในงำนที่ปฏิ บตั ิอยู่ให้
หน่ วยงำนหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องได้
ระดับ ที่ 4: มี ค วำมรู้ใ นระดับ ที่ 3 และเชื่ อ มโยงควำมรู้เ หล่ ำ นี้ เพื่ อ แนะน ำกำร
เชื่อมโยงทุนมนุ ษย์กบั มูลค่ำเพิ่มต่อองค์กรและกำรเติบโตในระยะยำวอย่ ำงประสบ
ควำมสำเร็จได้
ระดั บ ที่ 4: มี ค วำมรู้ใ นระดั บ ที่ 3 และเข้ำ ใจกฎหมำยหรื อ ระเบี ย บอื่ น ๆ ที่ มี
ควำมสัมพันธ์เชื่อมโยงกับระเบียบพัสดุที่เกี่ยวข้อง และสำมำรถนำมำใช้แนะนำหรือ
ให้คำปรึกษำในภำพรวมหำกเกิดประเด็นปั ญหำในเชิงปฏิบัติหรือในเชิงนโยบำยได้
อย่ำงถูกต้องและเป็ นมำตรฐำน
ระดับที่ 5: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 4 และเป็ นที่ยอมรับว่ำเป็ นผูเ้ ชี่ ยวชำญอย่ำงมำกใน
ควำมรูน้ ี้ จนสำมำรถเป็ นที่ปรึกษำในกำรจัดกำรบุคลำกรของหน่ วยงำนอื่ นๆ ทั้งใน
และนอกองค์กรได้
ระดับที่ 5: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 4 และเป็ นผูเ้ ชี่ยวชำญทำงกำรพัสดุ และจัดซื้ อจัดจ้ำง
และเป็ นที่ยอมรับในกำรให้คำปรึกษำ วิเครำะห์หำเหตุผลและทำงแก้ไขในประเด็ น
หรือปั ญหำที่ไม่เคยเกิดขึ้ นได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
60
ความรูท้ ี่จาเป็ นในงาน (Technical Knowledge) (ต่อ)
ความรู้เรื่องการบริหารจัดการ Hardware Software และ Network
ความรู้เรื่องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ
จัดการ MIS
คำจำกัดควำม: ควำมรูแ้ ละควำมเข้ำใจในคุณสมบัติ ประเภท และวิธีกำรทำงำนของ
Hardware Software และ Network ตลอดจนสำมำรถบริ ห ำรจัด กำรระบบ
คอมพิวเตอร์ ด้ำน Hardware Software และ Network ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ และ
สอดคล้องกับควำมต้องกำรของผูใ้ ช้บริกำร
คำจำกัดควำม: ควำมรูแ้ ละควำมเข้ำใจในหลักกำร และวิธีกำรในกำรใช้สำรสนเทศ
เพื่อกำรจัดกำร MIS ในงำนต่ำงๆ ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ รวมทั้งสำมำรถออกแบบ
และพัฒนำระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศให้สอดคล้องกับควำมต้องกำรในกำรใช้งำน
ต่ำงๆ ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
ระดับที่ 0: ไม่แสดงควำมรูด้ ำ้ นนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 0: ไม่แสดงควำมรูด้ ำ้ นนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 1: มีควำมรูแ้ ละควำมเข้ำใจในคุณสมบัติ ประเภท หลักกำร ควำมสำมำรถ
และวิธีกำรทำงำนของเครื่องมือ Hardware Software และ Network
ระดับที่ 1: มีควำมรูแ้ ละควำมเข้ำใจทัว่ ไปเกี่ยวกับควำมสำคัญ ประเภท หน้ำที่กำร
ทำงำนของระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศ องค์ประกอบของกำรจัดกำรสำรสนเทศ และ
ประโยชน์ของกำรใช้สำรสนเทศเพื่อกำรจัดกำรในงำนต่ำงๆ
ระดับที่ 2: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 1 และสำมำรถใช้งำน และบริหำรจัดกำร Hardware
Software และ Network ตำมกระบวนกำรได้อย่ำงมีประสิทธิภำพและสำมำรถ
ดำเนิ นกำรแก้ไขปั ญหำที่เกี่ยวข้องกับ Hardware Software และ Network ในระดับ
เบื้ องต้นได้
ระดับที่ 2: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 1 และสำมำรถประยุกต์กำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ
ให้เหมำะกับงำนต่ำงๆ ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ และสำมำรถให้คำแนะนำในเบื้ องต้น
แก่ผอู้ ื่นได้
ระดับที่ 3: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 2 และสำมำรถแก้ไขปั ญหำต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบ
คอมพิวเตอร์ดำ้ น Hardware Software และ Network จนได้รบั กำรยอมรับว่ำเป็ น
ผูช้ ำนำญในระบบ
ระดับที่ 3: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 2 และสำมำรถวิเครำะห์ปัญหำข้อจำกัด และควำม
ต้องกำรในกำรใช้งำนระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศได้ รวมทั้งสำมำรถให้คำแนะนำ
แก้ไขข้อผิดพลำด และปั ญหำต่ำงๆ ที่เกิดขึ้ นกับระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศได้
ระดับที่ 4: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 3 และสำมำรถประยุกต์หรือเชื่อมโยงระบบใหม่ๆ
หรือเทคโนโลยีใหม่ๆ ด้ำน Hardware Software และ Network ให้เข้ำกับระบบเดิม
ขององค์กรได้อย่ำงสมบูรณ์และมีประสิทธิภำพสูงสุด
ระดับที่ 4: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 3 และสำมำรถฝึ กอบรมให้ผูอ้ ื่นมีค วำมเข้ำใจและ
สำมำรถประยุก ต์กำรใช้เทคโนโลยีส ำรสนเทศให้เกิด ประโยชน์ ใ นงำนต่ ำงๆ ได้
รวมทั้งติดตำม และตรวจสอบควำมก้ำวหน้ำของระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศ
ระดับ ที่ 5: มี ค วำมรู้ใ นระดั บ ที่ 4 และมี ค วำมเชี่ ย วชำญด้ำ นระบบ Hardware
Software และ Network และเป็ นที่ยอมรับจำกทุกคนในองค์กร ตลอดจนสำมำรถ
บริ หำรจัดกำร และพัฒนำระบบคอมพิวเตอร์ ได้อย่ำงทันสมัยและสอดคล้องกั บ
ควำมต้องกำรของผูใ้ ช้บริกำรอย่ำงแท้จริง
ระดับ ที่ 5: มีค วำมรู้ในระดับ ที่ 4 และสำมำรถวำงแผนออกแบบ ปรับปรุ ง และ
พัฒนำระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศเพื่อรองรับกำรจัดกำรในงำนต่ำงๆ ขององค์กรให้
เป็ นมำตรฐำนสำกล และสำมำรถเชื่ อมโยงกำรทำงำนได้ทุกๆ หน่ วยงำนภำยใน
องค์กรอย่ำงเป็ นระบบ
61
ความรูท้ ี่จาเป็ นในงาน (Technical Knowledge) (ต่อ)
ความรู้เรื่องเครื่องมือทางการเงิน
คำจำกัดควำม: ควำมรูเ้ กี่ยวกับเครื่องมือทำงกำรเงินที่รบั ผิดชอบในเชิงลึก ทั้งเรื่อง
รำยละเอียด กำรคำนวณ ประเภท ลักษณะและกำรใช้เครื่องมือทำงกำรเงิน
ระดับที่ 0: ไม่แสดงควำมรูด้ ำ้ นนี้ อย่ำงชัดเจน
ควำมรูเ้ รื่องกำรพัฒนำบุคลำกร
คำจำกัดควำม: ควำมรูแ้ ละควำมเข้ำใจในหลักกำร และวิธีกำรกำรพัฒนำบุค ลำกร
กำรบริหำรกำรฝึ กอบรม รวมทั้งสำมำรถจัดเตรียมเอกสำร อุปกรณ์ และประเมิ นผล
กำรเรียนรู้ กำรพัฒนำบุคลำกร และกำรฝึ กอบรมได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
ระดับที่ 0: ไม่แสดงควำมรูด้ ำ้ นนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 1: มีควำมรูแ้ ละควำมเข้ำใจในเรื่องนี้ ในระดับพื้ นฐำน
ระดับที่ 1: มีควำมรูใ้ นเรื่องกำรพัฒนำและฝึ กอบรมบุคลำกรในเบื้ องต้น
ระดับที่ 2: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 1 และมีควำมเข้ำใจอย่ำงละเอียดจนสำมำรถนำไป
ปฏิบตั ิงำนได้อย่ำงถูกต้อง หรือสำมำรถอธิบำยให้แก่ผอู้ ื่นได้
ระดับ ที่ 2: มี ค วำมรู้ใ นระดับ ที่ 1 และสำมำรถคิ ด ริ เริ่ ม หัว ข้อ ในกำรเรี ยนรู้และ
แนวทำงในกำรพัฒนำและฝึ กอบรมบุคลำกรในเรื่องใหม่ๆ อยู่เสมอ รวมทั้งสำมำรถ
บันทึกจัดเก็บข้อมูล และตอบข้อซักถำมในกำรจัดฝึ กอบรมได้
ระดับที่ 3: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 2 และมีควำมรูค้ วำมเข้ำใจอย่ำงถ่องแท้จนสำมำรถ
นำมำประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุดกับหน่ วยงำนได้ รวมทั้งสำมำรถให้คำแนะนำ
และแก้ไขปั ญหำแก่ผอู้ ื่น
ระดับที่ 3: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 2 และสำมำรถประเมินผลลัพธ์ถึงวิธี กำรดำเนิ นกำร
จัด กำรเรี ย นรู้ และกำรพัฒ นำ รวมทั้ง ประเมิ น ผลกำรฝึ กอบรมและน ำผลกำร
ฝึ กอบรมไปประกอบกำรวำงแผนกำรฝึ กอบรม และกำรพัฒนำบุคลำกรในอนำคต
ต่อไปได้
ระดับ ที่ 4: มี ค วำมรู้ใ นระดับ ที่ 3 และมี ป ระสบกำรณ์ก ว้ำ งขวำง และสำมำรถ
ฝึ กอบรมและพัฒนำให้ผูอ้ ื่นมีควำมรูอ้ ย่ำงมีประสิทธิภำพสูงสุ ดและสำมำรถนำไป
ปฏิบตั ิใช้จริงในงำนได้
ระดับที่ 5: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 4 และเป็ นที่ยอมรับว่ำเป็ นผูเ้ ชี่ยวชำญในควำมรูน้ ี้ จน
สำมำรถเป็ นที่ปรึกษำในกำรปฏิบตั ิงำนให้กบั หน่ วยงำนอื่นๆ ทั้งในและนอกองค์กร
ได้
ระดับที่ 4: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 3 และพัฒนำ และออกแบบโครงสร้ำงหลัก สูตร และ
เนื้ อหำกำรพัฒนำบุคลำกร และกำรฝึ กอบรมได้อย่ำงถูกต้อง รวมทั้งสำมำรถติดตำม
ตรวจสอบ และฝึ กอบรมผูอ้ ื่นในเรื่องที่ตนเองมีควำมเชี่ยวชำญได้
ระดับที่ 5: มี ควำมรู้ในระดับที่ 4 และสำมำรถกำหนดหลักสูตรกำรฝึ กอบรม
กำรพัฒนำบุคลำกร และกำรกำหนดตัวชี้ วัดผลงำนหรือเป้ำหมำยของกำรเรีย นรูแ้ ละ
กำรพัฒนำของบุคลำกรในภำพรวมได้เหมำะสมกับเป้ำหมำยและกลยุทธ์ขององค์กร
62
ความรูท้ ี่จาเป็ นในงาน (Technical Knowledge) (ต่อ)
ความรู้เรื่องสถานการณ์ภายนอกและผลกระทบต่อ
เศรษฐกิจในประเทศ
คำจำกัดควำม: ควำมรู้เกี่ ยวกับสถำนกำรณ์ภ ำยนอก ควำมเป็ นมำเป็ นไป และ
ผลกระทบต่ำงๆ ที่มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจในประเทศ รวมทั้งกำรเปลี่ยนแปลงใน
สภำพเศรษฐกิจ กำรเมือง เทคโนโลยี และสังคมทั้งในและนอกประเทศ
ระดับที่ 0: ไม่แสดงควำมรูด้ ำ้ นนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 1: มีควำมรูค้ วำมเข้ำใจทัว่ ไปในสถำนกำรณ์ภำยนอกที่เกี่ยวข้องและมี
ผลกระทบต่อเศรษฐกิจในประเทศ
ระดับที่ 2: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 1 และสำมำรถนำควำมรูเ้ รื่องสถำนกำรณ์ภำยนอกที่
เกี่ยวข้องและมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจในประเทศมำประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กบั
ผูป้ ระกอบกำร หน่ วยงำน หรือองค์กรได้
ระดับที่ 3: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 2 และสำมำรถวิเครำะห์ วิจยั เชื่อมโยง และต่อยอด
ควำมรูน้ ี้ เข้ำกับแผนปฏิบตั ิกำรของหน่ วยงำนได้ และเสนอแนวทำง และแผนงำนใน
กำรปรับปรุง และพัฒนำผูป้ ระกอบกำรที่รบั ผิดชอบได้อย่ำงประสิทธิภำพ และเกิด
ประโยชน์ต่อหน่ วยงำน หรือองค์กร
ระดับที่ 4: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 3 และสำมำรถติดตำม และคำดกำรณ์แนวโน้ม และ
สถำนกำรณ์ในอนำคตที่อำจส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจในประเทศ รวมทั้งสำมำรถ
วำงแผนงำนในกำรสร้ำงมูลค่ำและโอกำสทำงธุรกิจแก่ผปู้ ระกอบกำรที่รบั ผิดชอบได้
และเกิดประโยชน์อย่ำงสูงสุดต่อหน่ วยงำน หรือองค์กร
ระดับที่ 5: มีควำมรูใ้ นระดับที่ 4 และเป็ นที่ยอมรับว่ำเป็ นผูเ้ ชี่ยวชำญในควำมรูน้ ี้ จน
สำมำรถเป็ นที่ปรึกษำในกำรปฏิบตั ิงำนให้กบั หน่ วยงำนอื่นๆ ทั้งในและนอกองค์กร
63
ทักษะเฉพาะที่จาเป็ นในงาน (Technical Skills)
ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์*
คำจำกัดควำม: ทักษะในกำรใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่ำงๆ ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ*
คำจำกัดควำม: ทักษะในกำรนำภำษำอังกฤษมำใช้ในงำน
ระดับที่ 0: ไม่แสดงทักษะด้ำนนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 0: ไม่แสดงทักษะด้ำนนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 1: สำมำรถพูด เขียน อ่ำ น และฟั งภำษำอังกฤษในระดับ เบื้ องต้น และ
ระดับที่ 1: สำมำรถใช้คอมพิวเตอร์ในระดับเบื้ องต้นได้
สื่อสำรให้เข้ำใจได้
ระดั บ ที่ 2: มี ทั ก ษะระดั บ ที่ 1 และสำมำรถใช้โ ปรแกรมขั้น พื้ นฐำนได้อ ย่ ำ ง
ระดับที่ 2: มีทกั ษะระดับที่ 1 และสำมำรถพูด เขียน อ่ำน และฟั งภำษำอังกฤษ และ
คล่องแคล่ว
ทำควำมเข้ำใจสำระสำคัญของเนื้ อหำต่ำงๆ ได้
ระดับที่ 3: มีทกั ษะระดับที่ 2 และ สำมำรถใช้ภำษำอังกฤษเพื่อกำรติดต่อสัมพันธ์ใน
ระดับที่ 3: มีทักษะระดับที่ 2 และสำมำรถใช้โปรแกรมต่ำงๆ ในกำรปฏิบั ติงำนได้
กำรปฏิบตั ิงำนได้โดยถูกหลักไวยำกรณ์
อย่ำงคล่องแคล่ว
ระดับ ที่ 4: มี ทัก ษะระดับ ที่ 3 และเข้ำ ใจส ำนวนภำษำอังกฤษในรูป แบบต่ ำ งๆ
ระดับที่ 4: มีทกั ษะระดับที่ 3 และมีควำมเชี่ยวชำญในโปรแกรมที่ใช้ หรือสำมำรถ
สำมำรถประยุกต์ใช้ในงำนได้อย่ำงถูกต้อง ทั้งในหลักไวยำกรณ์และควำมเหมำะสม
แก้ไขหรือปรับปรุงโปรแกรมเพื่อนำมำพัฒนำระบบกำรปฏิบตั ิงำนได้
ในเชิงเนื้ อหำ
ระดับที่ 5: มีทักษะระดับที่ 4 และมีควำมเชี่ยวชำญในกำรใช้ภำษำอังกฤษอย่ำง
ระดับที่ 5: มีทักษะระดับที่ 4 และมีควำมเข้ำใจอย่ำงลึกซึ้ ง เชี่ยวชำญในโปรแกรม
ลึ ก ซึ้ ง ใกล้เ คี ย งกับ เจ้ำ ของภำษำ สำมำรถประยุ ก ต์โ วหำรทุ ก รู ป แบบได้อ ย่ ำ ง
ต่ำงๆ อย่ำงกว้ำงขวำง หรือสำมำรถเขียนโปรแกรมเพื่อพัฒนำระบบกำรปฏิบั ติงำน
คล่ อ งแคล่ ว ถูก ต้อง และสละสลวย อี กทั้งมีค วำมเชี่ ยวชำญ ศัพ ท์เฉพำะด้ ำ นใน
ได้
สำขำวิชำของตนอย่ำงลึกซึ้ ง
หมายเหตุ: เป็นทักษะที่สานักงาน ก.พ. บังคับ
64
ทักษะเฉพาะที่จาเป็ นในงาน (Technical Skills) (ต่อ)
ทักษะการคานวณ*
ทักษะการจัดการข้อมูล*
คำจำกัดควำม: ทักษะในกำรทำควำมเข้ำใจและคิดคำนวณข้อมูลต่ ำงๆ ได้ อย่ำง
คำจ ำกัดควำม: ทักษะในกำรบริ หำรจัดกำรข้อ มูล ตลอดจนวิ เครำะห์ขอ้ มูล เพื่ อ
ถูกต้อง
ประโยชน์ ในงำน
ระดับที่ 0: ไม่แสดงทักษะด้ำนนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 0: ไม่แสดงทักษะด้ำนนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 1: มีทกั ษะในกำรคิดคำนวณขัน้ พื้ นฐำนได้อย่ำงถูกต้องและรวดเร็ว
ระดับ ที่ 1: สำมำรถเก็ บ รวบรวมข้อ มูล ได้อ ย่ำงเป็ นระบบ และพร้อ มใช้ รวมถึ ง
สำมำรถแสดงผลข้อมูลในรูปแบบต่ำงๆ เช่น กรำฟ รำยงำน เป็ นต้น
ระดับที่ 2: มีทกั ษะตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 1 และสำมำรถทำควำมเข้ำใจข้อมูล
ระดับที่ 2: มีทักษะระดับที่ 1 และสำมำรถวิเครำะห์ และประเมินผลข้อมูลได้อย่ำง
ด้ำนตัวเลขได้อย่ำงถูกต้อง
ถูกต้อง
ระดับที่ 3: มีทักษะตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 2 และสำมำรถใช้สูตรคณิ ตศำสตร์
ระดับที่ 3: มีทกั ษะระดับที่ 2 และ สำมำรถสรุปผลกำรวิเครำะห์ นำเสนอทำงเลือก
หรือเครื่องมือต่ำงๆ ในกำรคำนวณข้อมูลด้ำนตัวเลขได้
ระบุขอ้ ดีขอ้ เสีย ฯลฯ โดยอ้ำงอิงจำกข้อมูลที่มีอยูไ่ ด้
ระดับที่ 4: มีทักษะตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 3 และสำมำรถวิเครำะห์ขอ้ มูลทำง
ระดับที่ 4: มีทักษะระดับที่ 3 และ สำมำรถพยำกรณ์ หรื อสร้ำงแบบจ ำลองเพื่ อ
สถิติ และตัวเลขที่ซบั ซ้อนได้
พยำกรณ์ หรือตีควำมโดยอ้ำงอิงจำกข้อมูลที่มีอยู่
ระดับที่ 5: มีทกั ษะตำมที่กำหนดไว้ในระดับที่ 4 สำมำรถแก้ไขข้อผิดพลำดในข้อมูล
ระดับที่ 5: มีทกั ษะระดับที่ 4 และสำมำรถออกแบบเลือกใช้หรือประยุกต์วิธีกำรใน
ตัวเลขได้เข้ำใจข้อมูลต่ำงๆ ในภำพรวม และอธิบำยชี้ แจงให้เป็ นที่เข้ำใจได้
กำรจัดทำแบบจำลองต่ำงๆ ได้อย่ำงถูกต้องเหมำะสม
หมายเหตุ: เป็นทักษะที่สานักงาน ก.พ. บังคับ
65
ทักษะเฉพาะที่จาเป็ นในงาน (Technical Skills) (ต่อ)
ทักษะการเขียนหนังสือราชการ
ทักษะการเขียนรายงานและสรุปรายงาน
คำจำกัดควำม: ควำมสำมำรถและทักษะในกำรเขียนหนั งสือทำงรำชกำรได้อย่ำ ง
ถูกต้อง เหมำะสม และเป็ นประโยชน์กบั กำรใช้ในงำนที่ปฏิบตั ิอยู่
คำจำกัดควำม: ควำมสำมำรถและทักษะในกำรรวบรวม วิเครำะห์ และประมวลผล
ข้อมูล โดยนำผลข้อมูลมำเขียน จัดทำ และสรุปรำยงำนได้อย่ำงถูกต้องชั ดเจน และ
เกิดประโยชน์ต่อกำรนำไปใช้ให้มีประสิทธิภำพสูงสุด
ระดับที่ 0: ไม่แสดงทักษะด้ำนนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 0: ไม่แสดงทักษะด้ำนนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 1: เข้ำใจหลักกำร รูปแบบ และวิธีกำรเขียนหนังสือหนังสือรำชกำร รวมทั้ง
สำมำรถอ่ำ นและสื่ อ สำรจดหมำย หนั งสื อ และเอกสำรรำชกำรได้อ ย่ำ งถู ก ต้อ ง
สมบูรณ์
ระดับที่ 1: รูแ้ ละเข้ำใจในหลักกำร ประเภท กระบวนกำร และรูปแบบกำรจัดทำ
กำรเขียน และกำรสรุ ป รำยงำนให้ถูก ต้อ ง รวมทั้งรวบรวมและติ ด ตำมข้อ มูล ทั้ ง
ภำยในและภำยนอกเพื่อนำมำใช้ในกำรวิเครำะห์จดั ทำและสรุปรำยงำนได้
ระดับที่ 2: มีทักษะในระดับที่ 1 และสำมำรถเขียน และตอบโต้หนั งสือ จดหมำย
และเอกสำรรำชกำรได้อย่ำงถูกต้องสมบูรณ์ตำมหลักกำร และวิธีกำรที่กำหนดไว้
ระดับที่ 2: มี ทักษะในระดับที่ 1 และสำมำรถวิ เครำะห์ ประมวลผลข้อ มูล และ
ดำเนิ นกำรเขียน จัดทำ และสรุปรำยงำนให้อยู่ในรูปแบบที่เหมำะสมกับ กำรใช้งำน
ได้
ระดับที่ 3: มีทักษะในระดับที่ 2 และสำมำรถตรวจสอบควำมถูกต้อง และขัด เกลำ
ภำษำและเนื้ อหำในจดหมำย หนั งสื อ และเอกสำรทำงรำชกำรอื่น ๆ ให้มีค วำม
สละสลวย เหมำะสมและได้เนื้ อหำสำระชัดเจนครบถ้วนตำมที่หน่ วยงำนประสงค์
ระดับ ที่ 3: มี ทัก ษะในระดับ ที่ 2 และสำมำรถตรวจสอบควำมครบถ้ว น และ
ควำมถูกต้องในกำรวิเครำะห์ กำรประมวลผลข้อมูล กำรดำเนิ นกำรเขียน กำรจัดทำ
และกำรสรุ ป รำยงำนในประเภทต่ ำ งๆ ได้ รวมทั้งสำมำรถแก้ไขและปรับ ปรุ งให้
กำรเขียน จัดทำ และกำรสรุปรำยงำนมีควำมถูกต้อง และเหมำะสมกับกำรใช้งำนที่
หลำกหลำยและแตกต่ำงได้
ระดับที่ 4: มีทักษะในระดับที่ 3 และสำมำรถฝึ กอบรมให้ผูอ้ ื่นสำมำรถเขียนและ
ตอบโต้จดหมำย หนั งสื อ และเอกสำรต่ ำงๆ ทำงรำชกำรได้อย่ำงมีประสิ ทธิ ภำพ
สูงสุดกับหน่ วยงำนได้
ระดับที่ 4: มีทักษะในระดับที่ 3 และสำมำรถฝึ กอบรมให้ผูอ้ ื่นสำมำรถวิเครำะห์
ประมวลผลข้อมูล และดำเนิ นกำรเขียน จัดทำ และสรุปรำยงำนในประเภทต่ำงๆ ได้
รวมทั้งวำงแผนกำรเขียน จัดทำ และสรุปรำยงำนระดับหน่ วยงำนให้เกิดประโยชน์
อย่ำงสูงสุดกับหน่ วยงำนหรือองค์กร
ระดับที่ 5: มีทกั ษะในระดับที่ 4 และสำมำรถเขียนภำษำที่ใช้ในกำรโน้ม น้ำว เจรจำ
และผลักดันแนวคิดต่ำงๆ ที่สำคัญในเชิงกลยุทธ์ขององค์กรกับหน่ วยงำนอื่นๆ ใน
รำชกำรได้อย่ำงถูกต้อง มีประโยชน์ และมีประสิทธิผลสูงสุด
ระดับที่ 5: มีทกั ษะในระดับที่ 4 และสำมำรถกำหนดรูปแบบ และประเภทรำยงำนที่
จำเป็ นต่อกำรดำเนิ นงำนขององค์กรได้ รวมทั้งพัฒนำ ปรับเปลี่ยน และประยุกต์
(Best Practice) มำปรับให้สอดคล้องกับควำมต้องกำรใช้งำน และแผนงำนของ
องค์กร และเป็ นมำตรฐำนสำกล
66
ทักษะเฉพาะที่จาเป็ นในงาน (Technical Skills) (ต่อ)
ทักษะการบริหารโครงการ
ทักษะในการสื่อสาร การนาเสนอ และถ่ายทอดความรู้
คำจำกัดควำม: ควำมสำมำรถและทักษะในกำรวำงแผน ติดตำม ประเมินผล และ
บริ หำรจัดกำรโครงกำร (Project Management) เพื่อให้มีกำรใช้ทรัพยำกรและ
งบประมำณอย่ ำ งคุ ้ม ค่ ำ สำมำรถบรรลุ ต ำมวั ต ถุ ป ระสงค์ ตรงเวลำ และมี
ประสิทธิภำพสูงสุด
ค ำจ ำกัด ควำม: ควำมสำมำรถและทัก ษะในกำรสื่ อ สำร กำรน ำเสนอ และกำร
ถ่ำยทอดควำมรูไ้ ด้ถูกต้อง ครบถ้วนเหมำะสม และสอดคล้องกับกลุ่มเป้ำหมำยที่มี
ควำมหลำกหลำยและแตกต่ ำ งๆ รวมทั้ ง บรรลุ เ ป้ ำหมำย ควำมต้อ งกำร และ
วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้อย่ำงสูงสุด
ระดับที่ 0: ไม่แสดงควำมรูด้ ำ้ นนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 0: ไม่แสดงทักษะด้ำนนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 1: รูแ้ ละเข้ำใจในหลักกำร ขั้นตอน โครงสร้ำง และวิธีกำรบริ หำรจัดกำร
โครงกำรให้ประสบผลสำเร็จ
ระดับที่ 2: มีทักษะในระดับที่ 1 และสำมำรถวำงแผน ติ ดตำม ประเมินผล และ
บริ หำรทรัพยำกร บุ คลำกร และงบประมำณของโครงกำรขนำดเล็ กให้บรรลุตำม
วัตถุประสงค์และเป้ำหมำยได้
ระดับที่ 3: มีทักษะในระดับที่ 2 และสำมำรถวำงแผน ติ ดตำม ประเมินผล และ
บริหำรทรัพยำกร บุคลำกร และงบประมำณของโครงกำรขนำดกลำงให้บรรลุตำม
วัตถุประสงค์และเป้ำหมำยได้
ระดับที่ 1: รูแ้ ละเข้ำใจหลักกำร รูปแบบ และวิธีกำรในกำรสื่อสำร กำรนำเสนอ และ
กำรถ่ำยทอดควำมรูแ้ ก่ผอู้ ื่นได้
ระดับที่ 2: มีทกั ษะในระดับที่ 1 และสำมำรถวิเครำะห์ จับประเด็น แนวคิ ด เนื้ อหำ
สำระ และใจควำมสำคัญที่ตอ้ งกำรสื่อสำรได้ ตลอดจนจัดเตรียมข้อมูลและรูปแบบ
กำรนำเสนอ และดำเนิ นกำรสื่อสำร นำเสนอ และถ่ำยทอดให้ผอู้ ื่นเข้ำใจได้
ระดับที่ 3: มีทกั ษะในระดับที่ 2 และสำมำรถปรับปรุง พัฒนำ และแก้ไขเนื้ อหำสำระ
ที่ ต ้อ งกำรสื่ อ สำร น ำเสนอ และถ่ ำ ยทอดได้ส อดคล้อ งกับ ควำมต้อ งกำร ควำ ม
เหมำะสม ระดับควำมเข้ำใจและภูมิหลังของกลุ่มผูร้ บั สำรกลุ่มต่ำงๆ ได้เป็ นอย่ำงดี
ระดับที่ 4: มีทักษะในระดับที่ 3 และสำมำรถวำงแผน ติ ดตำม ประเมินผล และ
บริหำรทรัพยำกร บุคลำกร และงบประมำณของโครงกำรขนำดใหญ่ให้บรรลุตำม
วัตถุประสงค์และเป้ำหมำยได้
ระดับที่ 4: มีทกั ษะในระดับที่ 3 และสำมำรถฝึ กอบรมให้ผอู้ ื่นสื่อสำร นำเสนอ และ
ถ่ำยทอดควำมรูแ้ ก่กลุ่มเป้ำหมำยที่หลำกหลำยและแตกต่ำงๆ ได้ ตลอดจนประยุกต์
เทคนิ ค เครื่องมือ และวิทยำกำรสมัยใหม่มำปรับใช้ในกำรสื่อสำร นำเสนอ และกำร
ถ่ำยทอดได้อย่ำงมีประสิทธิภำพสูงสุด
ระดับที่ 5: มีทกั ษะในระดับที่ 4 และสำมำรถวำงแผน กำหนดทิศทำง แผนงำน
ผลลั พ ธ์ ผลสั ม ฤทธิ์ และบริ ห ำรจัด โครงกำรขนำดใหญ่ ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ กำร
ดำเนิ นงำนขององค์ก รได้อย่ำ งสำเร็ จ และมี ป ระสิ ท ธิ ภ ำพสูงสุ ด รวมทั้งสำมำรถ
บริหำรทรัพยำกร งบประมำณ และบุคลำกรได้อย่ำงคุม้ ค่ำสูงสุด
ระดับที่ 5: มี ทักษะในระดับที่ 4 และสำมำรถกำหนดกลยุทธ์และแผนงำนใน
กำรสื่อสำร นำเสนอ และถ่ำยทอดควำมรูไ้ ด้อย่ำงเป็ นระบบ รวมทั้งสื่อสำร นำเสนอ
และถ่ำยทอดประเด็นสำคัญระดับองค์กรแก่กลุ่มเป้ำหมำยที่แตกต่ำงและหลำกหลำย
ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพสูงสุด
67
ทักษะเฉพาะที่จาเป็ นในงาน (Technical Skills) (ต่อ)
ทักษะการให้คาปรึกษา
ทักษะในการประสานงาน
คำจำกัดควำม: ควำมสำมำรถและทักษะในกำรให้คำปรึกษำ รวมทั้งควำมสำมำรถ
ในกำรวิเครำะห์ ทำควำมเข้ำใจถึงปั ญหำ สถำนกำรณ์ และควำมต้องกำรของผู้ อื่น
ตลอดจนสำมำรถให้คำปรึกษำและแนะนำได้อย่ำงถูกต้อง และเหมำะสม
คำจำกัดควำม: ทักษะในกำรรับและส่งต่อข้อมูลและชิ้ นงำนได้อย่ำงถูกต้อง ครบถ้วน
และทันเวลำ ตรงตำมวัตถุประสงค์ของงำน
ระดับที่ 0: ไม่แสดงควำมรูด้ ำ้ นนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 1: เข้ำใจในหลักกำร วิธีกำร และรูปแบบในกำรให้คำปรึกษำ รวมทั้ งรับฟั ง
ปั ญหำ และควำมต้องกำรของผูอ้ ื่น
ระดับที่ 1: รูแ้ ละเข้ำใจเป้ำหมำย และผลลัพธ์ที่ตอ้ งกำรจำกกำรประสำนงำน และมี
ทักษะในกำรให้ขอ้ มูล และรำยละเอียดต่ำงๆ แก่ผอู้ ื่นให้ดำเนิ นกำรต่ อในเบื้ องต้นได้
และสำมำรถซักถำม และสอบถำมควำมต้องกำรของผูม้ ำติดต่อในเบื้ องต้นได้อ ย่ำง
ถูกต้อง
ระดับที่ 2: มีทกั ษะในระดับที่ 1 และสำมำรถระบุสำเหตุ ปั ญหำ และควำมต้องกำร
ของผู้อื่ น ในเบื้ องต้น ได้ รวมทั้ ง สำมำรถประยุ ก ต์รู ป แบบกำรให้ค ำปรึ กษำให้
สอดคล้องกับสำเหตุ ปั ญหำ และควำมต้องกำรของผูอ้ ื่นได้
ระดับ ที่ 2: มี ทัก ษะในระดับ ที่ 1 และสำมำรถจัด ล ำดับ ควำมส ำคัญ ของเรื่ อ งที่
ต้องกำรติ ดต่ อประสำนงำนได้อย่ำงถูกต้อง และเหมำะสม และสำมำรถปรับปรุ ง
วิธีกำรสื่อสำรและกำรประสำนงำนให้ทนั สมัยตรงตำมควำมต้องกำรอยูเ่ สมอ
ระดับที่ 3: มีทกั ษะในระดับที่ 2 และสำมำรถวิเครำะห์สำเหตุของปั ญหำในเบื้ องลึก
และควำมต้องกำรอย่ำงแท้จริงของผูอ้ ื่น และสำมำรถให้คำปรึกษำแนะนำ และเสนอ
แนวทำงในกำรแก้ไขปั ญหำหรือจัดกำรกับปั ญหำและสถำนกำรณ์ของผูอ้ ื่นได้อย่ำง
แท้จริง
ระดับที่ 3: มีทักษะในระดับที่ 2 และสำมำรถติ ดตำมงำนจำกหน่ วยงำนต่ำงๆ ได้
อย่ ำ งมี ป ระสิ ท ธิ ภ ำพ และสำมำรถจั ด กำรแก้ไ ขปั ญหำต่ ำ งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น หรื อ
ลดควำมขัดแย้งจำกกำรติดต่อประสำนงำนได้
ระดั บ ที่ 4: มี ทั ก ษะในระดั บ ที่ 3 และสำมำรถวิ เ ครำะห์ ส ำเหตุ ปั ญหำ และ
ควำมต้องกำรระดับหน่ วยงำนได้อย่ำงแท้จริง ตลอดจนฝึ กอบรมและพัฒนำให้ผอู้ ื่น
เข้ำ ใจและสำมำรถให้ค ำปรึ ก ษำและค ำแนะนำได้อย่ำงถูก ต้อ งและเหมำะสมกั บ
ควำมต้องกำรระดับบุคคล และหน่ วยงำนได้
ระดับที่ 5: มีทักษะในระดับที่ 4 และเป็ นที่ปรึกษำหรือผูเ้ ชี่ยวชำญในงำนกำรให้
คำปรึกษำระดับบุคคล หน่ วยงำน และองค์กรได้ ตลอดจนสำมำรถเสนอแนวทำงใน
กำรแก้ไ ขและบริ ห ำรจัด กำรกับ ปั ญหำที่ ห ลำกหลำยในระดับ องค์ก รได้อ ย่ ำ งมี
ประสิทธิภำพ
ระดับที่ 0: ไม่แสดงทักษะด้ำนนี้ อย่ำงชัดเจน
ระดับที่ 4: มีทกั ษะในระดับที่ 3 และสำมำรถนำเสนอแนวทำงกำรปรับปรุง พัฒนำ
วิธีกำรติดต่อประสำนงำนให้มีประสิทธิภำพ รวมทั้งสำมำรถวิเครำะห์ ปรับปรุง และ
แก้ไขจุดบกพร่อง ข้อจำกัด และควำมซ้ำซ้อนของกำรสื่อสำรและกำรประสำนงำน
ของหน่ วยงำนได้
ระดับ ที่ 5: มี ทัก ษะในระดับ ที่ 4 และสำมำรถออกแบบระบบ วำงแผนกำร
ประสำนงำน และแนวทำงในกำรประสำนงำนที่มีประสิทธิภำพ และสำมำรถติดต่อ
ประสำนงำนเรื่องสำคัญๆ ระดับองค์กรกับทั้งภำยในและภำยนอกองค์กรได้ อย่ำงมี
ประสิทธิภำพ
68