เส้ นทางเชื่อมต่ อไทย-ลาว-กัมพูชา-เวียดนาม: โอกาสใหม่ ในอนุภูมิภาค ในส่ วน เส้ นทางระเบียงเศรษฐกิจด้ าน ใต้ (Southern Economic โดย Corridor) วั ช ริ น ทร์ ยงศิ ร ิ ไทย-กั ม พ ช า-เวี ย ดนาม ู นักวิจยั ประจาสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์

Download Report

Transcript เส้ นทางเชื่อมต่ อไทย-ลาว-กัมพูชา-เวียดนาม: โอกาสใหม่ ในอนุภูมิภาค ในส่ วน เส้ นทางระเบียงเศรษฐกิจด้ าน ใต้ (Southern Economic โดย Corridor) วั ช ริ น ทร์ ยงศิ ร ิ ไทย-กั ม พ ช า-เวี ย ดนาม ู นักวิจยั ประจาสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์

เส้ นทางเชื่อมต่ อไทย-ลาว-กัมพูชา-เวียดนาม: โอกาสใหม่
ในอนุภูมิภาค
ในส่ วน
เส้ นทางระเบียงเศรษฐกิจด้ าน
ใต้
(Southern Economic
โดย
Corridor)
วั
ช
ริ
น
ทร์
ยงศิ
ร
ิ
ไทย-กั
ม
พ
ช
า-เวี
ย
ดนาม
ู
นักวิจยั ประจาสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์
เส้ นทางระเบียงเศรษฐกิจด้ านใต้
(Southern Economic Corridor)
ขอบเขตของ
เส้ นทาง:
จุดเริ่ มต้นจากกรุ งเทพฯ-ไปตามทางหลวงหมายเลข 33
ไปจรดชายแดนไทย-กัมพูชาที่อาเภออรัญประเทศ จังหวัด
สระแก้ว รวมระยะทางประมาณ 245 กิโลเมตร
จากจุดผ่านแดนถาวรคลองลึก-ปอยเปตเข้าสู่ เขตแดน
กัมพูชา เชื่ อมต่อเข้ากับเส้นทางหมายเลข 5 ของกัมพูชา
ผ่ า นจั ง หวั ด บั น เตี ย เมี ย เจย พระตะบอง โพธิ สั ต ว์
กัมปงชะนัง เข้าสู่ กรุ งพนมเปญ อันเป็ นการสิ้ นสุ ดเส้นทาง
หมายเลข 5 รวมระยะทางประมาณ 420 กิโลเมตร
เส้ นทางระเบียงเศรษฐกิจด้ านใต้
(Southern Economic Corridor)
ขอบเขตของ
เส้ นทาง:
จากกรุ งพนมเปญเชื่ อมต่อด้วยเส้นทางหมายเลข
1 ผ่านจังหวัดกันดาล ไปข้ามแม่น้ าโขงที่เนื๊ ยกเลือง
เขตจังหวัดเปรเว็ง และเข้าสู่ จงั หวัดสวายเรี ยง ไป
สิ้ น สุ ด ทางที่ ด่ า นบาเว็ท (Bavet) พรมแดนติ ด กับ
เวียดนาม มีระยะทางประมาณ 120 กิโลเมตร
ข้า มพรมแดนเข้า สู่ เ วี ย ดนามที่ ด่ า นหมกบ่ า ย
(Moc Bai) เชื่ อมต่อด้วยเส้นทางหมายเลข 22 ไป
สิ้ นสุ ดทางที่นครโฮจิมินห์ ก่อนถึงนครโฮจิมินห์มี
เส้นทางแยกคือเส้นทางหมายเลข 51 ไปยังเมืองหวุง
เต่า (Vung Tau) ริ มทะเลจีนใต้ซ่ ึ งเป็ นทั้งเมืองท่า
และเมืองตากอากาศ
เส้ นทางระเบียงเศรษฐกิจด้ านใต้
(Southern Economic Corridor)
ขอบเขตของ
เส้ นทาง:
ในการศึ ก ษาเส้ น ทางระเบี ย งด้า นใต้ เพื่ อ การ
เชื่อมต่อเส้นทางคมนาคมด้านการท่องเที่ยว ยังรวม
ไปถึงเส้นทางหมายเลข 6 ของกัมพูชา
ปั จจุบนั รัฐบาลกัมพูชาได้รับความสนับสนุนจาก
ธนาคารเพื่ อ การพัฒ นาแห่ ง เอเชี ย (ADB) สร้ า ง
เส้ น ทางหมายเลข 6 จากกรุ ง พนมเปญ-จัง หวัด
กัมปงธม-เสี ยมเรี ยบ เสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว
คงเหลื อ การก่ อ สร้ า งทางหมายเลข 6 จาก
เสี ย มเรี ยบ-ไปบัน เตี ย เมี ย นเจย-ปอยเปต ซึ่ งมี
ระยะทาง 150 กิโลเมตร ธนาคาร ADB ให้เงินกูแ้ ก่
รัฐบาลกัมพูชาสร้างเส้นทางช่วงดังกล่าว
เส้ นทางระเบียงเศรษฐกิจด้ านใต้
(Southern Economic Corridor)
ขอบเขตของ
เส้ นทาง:
อีกกรอบหนึ่ งในการสร้ างเส้นทางเชื่ อมต่อ คือ
ภายใต้ ยุ ท ธศาสตร์ ค วามร่ วมมื อ ทางเศรษฐกิ จ
อิระวดี -เจ้าพระยา-แม่โขง (ACMECS) ไทยให้
ความช่วยเหลือกัมพูชาพัฒนาเส้นทางหมายเลข 48
ซึ่ งเป็ นเส้นทางเชื่ อมโยงจากจังหวัดเกาะกง ไปถึง
อ าเภอแสรอ าเปิ ล และไปเชื่ อ มต่ อ กั บ เส้ น ทาง
หมายเลข 4 ขึ้นเหนื อไปถึงกรุ งพนมเปญ และลงใต้
สู่ กรุ งพระสี หนุ (สี หนุวิลล์)
เส้ น ทางนี้ เรี ยกว่ า “เส้ น ทางแนวชายทะเล”
(Coastal Rute)
เส้ นทางระเบียงเศรษฐกิจด้ านใต้
(Southern Economic Corridor)
ขอบเขตของ
เส้ นทาง:
นอกจากนี้ยงั มีเส้นทางหมายเลข 67 เชื่อมจากจุด
ผ่ า นแดนถาวรช่ อ งสะง า อ าเภอภู สิ ง ห์ จัง หวัด
ศรี สะเกษ ไปยัง อัล ลอง เวง และไปสิ้ น สุ ด ทาง
ที่จงั หวัดเสี ยมเรี ยบ
และเส้นทางหมายเลข 68 จากจุดผ่านแดนถาวร
ช่ อ งจอม อ าเภอกาบเชิ ง จัง หวัด สุ ริ นทร์ ไปยัง
จั ง หวัด อุ ด รเมี ย นเจยและไปบรรจบเส้ น ทาง
หมายเลข 6 ที่อาเภอกราลันห์ จังหวัดเสี ยมเรี ยบ
รั ฐ บาลไทยได้ เ งิ น ช่ ว ยเหลื อ ก่ อ สร้ า งทาง 2
เส้นทางนี้
วัตถุประสงค์ ของความร่ วมมือทางเศรษฐกิจ
ในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง (GMS)
1) ส่ ง เสริ มให้ เ กิ ด การขยายตัว ทางการค้า การลงทุ น
อุตสาหกรรม การเกษตร และบริ การ เพื่อก่อให้เกิดการ
จ้างงานและยกระดับการครองชี พของประชาชนใน
พื้นที่
2) ส่ งเสริ มและพัฒนาความร่ วมมือทางเทคโนโลยีและ
การศึกษาระหว่างกัน
3) ให้มีก ารใช้ทรั พ ยากรธรรมชาติ ที่ส่งเสริ มกัน อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ
4) ส่ ง เสริ มและเพิ่ ม ขี ด ความสามารถและโอกาสทาง
เศรษฐกิจในเวทีการค้าโลก
โดยมี ธ นาคารเพื่ อ การพัฒ นาแห่ ง เอเชี ย (ADB)
เป็ นผูใ้ ห้การสนับสนุนหลัก
วัตถุประสงค์ การพัฒนาแนวระเบียงเศรษฐกิจด้ านใต้
(Southern Economic Corridor)
1) ส่ ง เสริ มความร่ ว มมื อ ในภู มิ ภ าค กระตุ ้น การ
รวมตัวทางเศรษฐกิจและสังคม สนับสนุนการค้า
และการลงทุนที่ขยายตัว อานวยความสะดวกใน
การติ ด ต่ อ แลกเปลี่ ย นสิ น ค้า และการเดิ น ทาง
ข้า มแดนของประชาชน ตลอดจนการพัฒ นา
ตามแนวตะวัน ตก-ตะวัน ออกระหว่ า งไทยกัมพูชา-เวียดนาม และบางส่ วนของลาวตอนใต้
2) สนั บ สนุ นการพั ฒ นาแนวพื้ นที่ เศรษฐกิ จ
ตามเมื องหลัก ของไทย กัม พูช า และเวีย ดนาม
ผ่านโครงข่ายเชื่อมโยงทางรถยนต์และทางรถไฟ
ความร่ วมมื อ ทางเศรษฐกิ จ ในอนุ ภู มิ ภ าคลุ่ ม
แม่น้ าโขง (GMS) มีสาขาหลักอยู่ 9 สาขา ซึ่ งใน
งานวิจยั ได้ศึกษาสาขาคมนาคมขนส่ ง (ทางบก) ซึ่ ง
เป็ นพื้ นฐานของสาขาการค้ า และสาขาการ
ท่องเที่ยว
การพัฒนาเส้นทางระเบียงเศรษฐกิ จด้านใต้ ให้
ประโยชน์ต่อไทยและกัมพูชา ดังนี้
1) การค้ าชายแดน นับตั้งแต่ไทยกับกัมพูชาเปิ ดจุด
ผ่ า นแดนถาวรอย่ า งเป็ นทางการเมื่ อ วัน ที่ 25
กุมภาพันธ์ 2541 ที่ คลองลึ ก-ปอยเปต เส้นทาง
ระเบี ยงเศรษฐกิ จด้านใต้ได้เป็ นเส้นทางการค้า
และการขนส่ งสิ นค้าที่สาคัญในการค้าชายแดน
ระหว่างไทย-กัมพูชา ไทยเป็ นผูส้ ่ งออกรายใหญ่
ไปกัมพูชา จัดเป็ นหมวดหมู่ดงั นี้
1.1 สิ นค้าอุปโภค ได้แก่ สบู่ ยาสี ฟัน ผงซักฟอก แชมพู
สระผม เครื่ องสาอาง ผลิตภัณฑ์รักษาผิว เสื้อผ้า ผ้าผืน
และอุปกรณ์การเรี ยน สมุด ดินสอ ปากกา เป็ นต้น
1.2 สิ นค้าบริ โภค ได้แก่ ผักผลไม้ นมและผลิตภัณฑ์นม
เครื่ องดื่ม เครื่ องดื่มบารุ งกาลัง น้ าตาลทราย น้ ามันพืช
ขนมและขนมปั ง กรอบ และบะหมี่ ก่ ึ งส าเร็ จ รู ป
เป็ นต้น
1.3 วัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้าง ได้แก่ ปูนซี เมนต์ เหล็กเส้น
เหล็ก กล้า และผลิ ต ภัณ ฑ์ กระเบื้ อ งปู พ้ื น กระเบื้ อ ง
บุผนัง กระเบื้องมุงหลังคา สี ทาบ้าน แผ่นฝ้ ากันความ
ร้ อ นและฉนวนกัน ความร้ อ น และเครื่ อ งสุ ข ภัณ ฑ์
เป็ นต้น
1.4 ยาน พาหนะและอะไหล่ ได้ แ ก่ รถจั ก รยา น
รถจักรยานยนต์ รถยนต์ อะไหล่รถต่าง ๆ และอุปกรณ์
ยางรถยนต์ ยางรถจัก รยานและยางรถจัก รยานยนต์
เป็ นต้น
1.5 เชื้อเพลิง ได้แก่ น้ ามันเบนซิ น น้ ามันดีเซล และน้ ามัน
สาเร็ จรู ป เป็ นต้น
1.6 เครื่ องใช้ ไ ฟฟ้ าและสิ่ งอ านวยความสะดวกใน
ครัวเรื อน ได้แก่ พัดลม หม้อหุ งข้าวไฟฟ้ า โทรทัศน์
ตูเ้ ย็น วิทยุ เครื่ องปรับอากาศ เครื่ องเล่นวิดีโอ เครื่ อง
บัน ทึ ก เสี ย ง เครื่ อ งเล่ น คาราโอเกะ เครื่ อ งท าน้ าอุ่ น
และเครื่ องปิ้ งขนมปัง เป็ นต้น
1.7 เครื่ องมือสื่ อสาร ได้แก่ โทรศัพท์มือถือ
1.8 อุปกรณ์และเครื่ องมื อการเกษตร ได้แก่ รถไถ
เดิ นตาม จอบและเสี ยม เครื่ องสู บน้ า แห อวน
ปุ๋ ยและยาปราบศัตรู พืช เป็ นต้น
1.9 ยารักษาโรค ได้แก่ ยาสามัญประจาบ้าน และยา
รักษาเฉพาะโรค เป็ นต้น
สิ นค้านาเข้าจากกัมพูชาเข้าสู่ ไทย ได้แก่
1)
2)
3)
4)
5)
6)
7)
8)
9)
10)
หนังโค–กระบือหมักเกลือ
โค-กระบือมีชีวิต
ปลาน้ าจืดสด
ปลาน้ าจืดหมักเกลือ ปลากรอบ ปลาร้า
เศษเหล็ก
หวาย
ไม้แปรรู ป
ข้าวโพด ถัว่ เขียว ถัว่ เหลือง ละหุ่ง ข้าวเปลือก
ของป่ า น้ ามันยาง ถ่านไม้
เสื้ อผ้าเก่าใช้แล้ว รองเท้าเก่าใช้แล้ว
ตารางแสดงมูลค่ าการค้ าชายแดนไทย-กัมพูชา
การค้ าชายแดนไทย-กัมพูชา ปี 2547-2550
2547
มูลคา่
รวม
มูลค่ า (ล้ านบาท)
2548
2549
2550
%
50/49
สั ดส่ วนร้ อยละต่ อการค้ ารวม
2547 2548 2549 2550
23,52
9.7
31,128
.2
36,027 37,354.2
.3
2
3.7
6.7
7.2
6.8
6.7

ส่งออก
22,08
3.2
29,592
.8
34,667 35,293.3
.9
4
1.8
9.5
10.8
10.2
10.9

นาเขา้
1,446.
5
1,535.
4
1,359. 2,060.88
5
51.6
1.2
1.0
0.7
0.9
ดุลการ
คา้
20,63
6.6
28,057
.4
33,308 33,232.4
.4
7

ที่มา: สานักงานพาณิ ชย์จงั หวัด
หมายเหตุ: % หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลง
กลุ่มความร่ วมมือทางเศรษฐกิจ 1
สานักความร่ วมมือการค้าและการลงทุน
กรมการค้าต่างประเทศ
2) การท่ อ งเที่ ย ว จากจุ ด ผ่า นแดนถาวรคลองลึ ก ปอยเปตถึงบันเตียเมียนเจย ใช้เส้นทางหมายเลข
6 ไปยัง เสี ยมเรี ยบ เป็ นแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง
วัฒนธรรม (ประกอบด้วยวัฒนธรรม ศิลปะ และ
ประวัติศาสตร์ )
ส า ม า ร ถ เ ชื่ อ ม โ ย ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว
เชิ งวัฒนธรรมของไทยในจังหวัดสระแก้ว และ
อี ส า น ต อ น ใ ต้ เ ข้ า กั บ แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว
เชิ งวั ฒ นธรรมในจั ง หวั ด บั น เตี ย เมี ย นเจย
เสี ยมเรี ยบ และกัมปงธม ตลอดไปถึงแหล่งอารย
ธรรมอาณาจักรจามในเวียดนามตอนใต้
เส้ นทาง Coastal Rute หรือเส้ นทางหมายเลข 48
การค้ าชายแดน
ความสาคัญของเส้นทางแนวชายแดนทะเล (Coastal Rute)
หรื อเส้นทางหมายเลข 48 เป็ นเส้นทางเชื่อมตั้งแต่ท่าเรื อแหลม
ฉบังไปถึงกรุ งพระสี หนุ มีความสาคัญทั้งด้านการค้าชายแดน
และการท่องเที่ยว
สิ น ค้า จากนิ ค มอุ ต สาหกรรมมอบตาพุ ด และจากนิ ค ม
อุตสาหกรรมอื่น ๆ ของไทย สามารถขนส่ งไปยังชายแดนผ่าน
จุดผ่านแดนถาวรบ้านหาดเล็ก อาเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราดบ้านจามเยี่ยม อาเภอมณฑลสี มา จังหวัดเกาะกงของกัมพูชา
(ด่ านนี้ เปิ ดเป็ นทางการเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2540) ไปตาม
เส้นทางหมายเลข 48 เชื่ อมต่อกับเส้นทางหมายเลข 4 ขนส่ ง
ขึ้นไปทางเหนือสู่ กรุ งพนมเปญ ผ่านจังหวัดกัมปงสะปื อ
เส้ นทาง Coastal Rute หรือเส้ นทางหมายเลข 48
การค้ าชายแดน
ซึ่ ง เ ป็ น ท า ง ส ะ ด ว ก ที่ จ ะ ก ร ะ จ า ย สิ น ค้ า
ในกั ม ปงสะปื อด้ ว ย ลงใต้ ไ ปตามเส้ น ทาง
หมายเลข 4 ลงสู่ ก รุ งพระสี หนุ (สี หนุ วิ ล ล์ )
สามารถขนส่ งสิ นค้าไปขายในกรุ งพระสี หนุ ได้
ตลอดปี และขยายการค้าไปสู่ จงั หวัดกัมปอต ซึ่ ง
อยู่ทางภาคตะวันออกตามแนวชายฝั่ งทะเลของ
กัมพูชา โดยใช้เส้นทางหมายเลข 3 และหากวก
ขึ้นเหนื อสามารถไปบรรจบจังหวัดตาแก้ว ด้วย
การใช้เส้นทางเดียวกัน ซึ่ งสามารถกระจายสิ นค้า
สู่จงั หวัดทั้งสองนี้ได้เช่นเดียวกัน
เส้ นทาง Coastal Rute หรือเส้ นทางหมายเลข 48
การท่ องเทีย่ ว
การใช้ เ ส้ น ทางหมายเลข 48 เพื่ อ การท่ อ งเที่ ย ว
ส่ วนใหญ่เป็ นการท่องเที่ยวเชิงนิ เวศ (Eco-tourism) เป็ น
เส้ น ทางเชื่ อ มโยงการท่ อ งเที่ ย วตามแนวชายฝั่ ง ทะเล
อ่าวไทยสู่ ทะเลจีนใต้ จากพัทยาในอ่าวไทย  ใช้
ถนนสุ ขมุ วิทถึงจังหวัดตราด  เชื่อมต่อไปยังเกาะ
กง ซึ่ งมีชายทะเลและหมู่เกาะ 
ใช้เส้นทาง
หมายเลข 48 ถึงแสรอาเปิ ล  ใช้เส้นทางหมายเลข
4 ถึงกรุ งพระสี หนุ (สี หนุ วิลล์) เมืองตากอากาศ  ไป
ตามเส้นทางหมายเลข 3 ถึงจังหวัดกัมปอต ริ มทะเลและ
มีอุทยานแห่งชาติโบกอร์ ต่อไปยังกรุ งแก็บ เมือง
ตากอากาศเมื่ อ สมั ย อาณานิ คมของฝรั่ ง เศส 
ชายแดนกัมพูชาข้ามไปเวียดนาม มีถนนเชื่อมไปยังเมือง
เกียง ยาง (Kien Giang)  เดินทางไปถึงเกาะฟูก๊วก
โอกาสใหม่ ในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง
ประเทศไทย:
โอกาสที่ จ ะเป็ นศู น ย์ก ลางการบิ น เชิ ง พาณิ ช ย์ ทั้ง การ
ขนส่ ง สิ น ค้า และการท่ อ งเที่ ย ว จะเป็ นไปได้ม ากน้ อ ย
เพียงใด ภายหลังจากสนามบินสุ วรรณภูมิเปิ ดใช้การบิ นเชิ ง
พาณิ ช ย์แ ล้ว เพื่ อ พัฒ นาการขนส่ ง สิ น ค้า (Logistics) และ
การค้า ชายแดน ตลอดจนการท่ อ งเที่ ย ว สามารถเปลี่ ย น
เส้ น ทางเชื่ อ มโยงจากสนามบิ น สุ ว รรณภู มิ ไ ปสู่ ช ายแดน
อรั ญ ประเทศได้ ด้ ว ยถนนมอเตอร์ เ วย์ มาลงที่ อ าเภอ
บางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา แล้วใช้ถนนหมายเลข 314 จาก
บางปะกงผ่ า นฉะเชิ ง เทรา ต่ อ ไปอ าเภอพนมสารคาม
ด้วยถนนหมายเลข 304 และแยกจากอาเภอพนมสารคามไป
จังหวัดสระแก้วด้วยถนนหมายเลข 359 ซึ่ งไปบรรจบทาง
หลวงหมายเลข 33 อีกครั้งเข้าสู่ อรัญประเทศ และไปสิ้ นสุ ด
ทางที่ด่านคลองลึก-ปอยเปต รวมระยะทางทั้งสิ้ นประมาณ
316 กิโลเมตร
โอกาสใหม่ ในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง
ประเทศไทย:
ยุทธศาสตร์ การขนส่ งสิ นค้า (Logistics) สามารถ
เชื่ อมโยงการขนส่ งระหว่างทางอากาศกับทางบก
สิ นค้าที่ขนส่ งทางอากาศมาถึงสนามบินสุ วรรณภูมิ
ผ่า นพิ ธี ก ารศุ ล กากรออกจากคลัง สิ น ค้า (Cargo)
ขนส่ ง ไปตามเส้ น ทางใหม่ ด ัง กล่ า วไปสู่ ช ายแดน
อรั ญประเทศ เพื่อทาการขนส่ งผ่านแดน เพื่อเป็ น
การค้าชายแดนสู่ ประเทศกัมพูชา โดยใช้เส้นทาง
ระเบียงเศรษฐกิจด้านใต้
โอกาสใหม่ ในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง
ประเทศไทย:
สาหรับด้านการท่องเที่ยว ประเทศไทยหวังการ
ท่ อ งเที่ ยวให้ เ ป็ นโครงการ “สามประเทศ หนึ่งจุดหมาย (Three Countries, One Destination)
โดยให้ แ ต่ ล ะประเทศ (ไทย-กัม พูช า-เวี ย ดนาม)
สามารถเป็ นทั้ง ต้น ทางและปลายทางในการรั บ
การท่ อ งเที่ ย ว โดยใช้เ ส้ น ทางระเบี ย งเศรษฐกิ จ
ด้านใต้เชื่อมโยง
โอกาสใหม่ ในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง
ประเทศไทย:
1) การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เริ่ มต้นจากประเทศไทย จังหวัด
สระแก้วมีปราสาทสด๊กก๊กธม  แวะชมปราสาท
บันเตียฉมาร์ ที่บนั เตียเมียนเจย  ใช้เส้นทางหมายเลข 6
ไปชมปราสาทนครวัด นครธม บันเตียสรี และปราสาทต่าง
ๆ ในเสี ยมเรี ยบ ด้วยเส้นทางหมายเลข 6 เชื่อมต่อไป
จั
ง
ห
วั
ด
กัมปงธม ชมปราสาทศิ ลปะสมโบร์ ไพรกุก (ยุคก่ อนนคร
วัด  เชื่อมต่อเข้าเวียดนามชมโบราณสถานยุค
อาณาจักรจาม (สามารถย้อนเส้นทางเริ่ มต้นจากเวียดนามเข้า
สู่ไทย)
หรื อจากอีสานใต้มีปราสาทหิ นพิมาย ปราสาทเขาพนมรุ ้ ง
โอกาสใหม่ ในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง
ประเทศไทย:
2) การท่องเที่ ยวเชิ งนิ เวศ เชื่ อมโยงจากพัทยา 
ตราด  เกาะกง  ใช้เส้นทาง
หมายเลข 48 
กรุ งพระสี หนุ (สี หนุ
วิลล์กัมปอต กรุ งแก็บ 
เกียง ยาง ในเวียดนาม
โอกาสใหม่ ในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง
ประเทศ
กัมพูชา:
ประโยชน์ ที่ กัม พู ช าจะได้รั บ จากการพัฒ นา
เส้นทางระเบียงเศรษฐกิ จด้านใต้ ที่เห็นเด่นชัดและ
เป็ นระยะสั้นที่จะได้รับก่อน คือ ด้านการท่องเที่ยว
จุดหมายปลายทางในการท่องเที่ยว นักท่องเที่ยว
มุ่ ง ไปชมปราสาทนครวัด นครธม และปราสาท
ต่าง ๆ ในเสี ยมเรี ยบ และในกัมปงธม เมื่อปี 2006 มี
นักท่องเที่ ยวเดิ นทางเข้าประเทศกัมพูชา 1.6 ล้าน
คน ปี 2007 ครึ่ งปี แรก จานวน 975,349 คน การ
ท่ อ งเที่ ย วเป็ นรายได้ห ลัก ส าคัญ น าเงิ น ตราเข้า
ประเทศกัมพูชา
โอกาสใหม่ ในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง
การลงทุน
ในนิคมอุตสาหกรรมชายแดนฝั่งกัมพูชามี 2 แห่ ง
ใหญ่ ๆ คือ
1. นิ คมอุตสาหากรรมด้านปอยเปต ตั้งอยู่ตรงข้าม
กับบ้านป่ าไร่ ใหม่ อาเภออรั ญประเทศ อยู่ห่าง
จากด่ านคลองลึ กขึ้ นไปทางเหนื อประมาณ 14
กิโลเมตร มีจุดเชื่อมต่อกับเขตนิ คมอุตสาหกรรม
ในฝั่ ง กัม พูช า ตรงจุ ด ตรวจทหารพรานที่ 011
ช่ วงประมาณกิ โ ลเมตรที่ 10-12 ตามแนวถนน
ยุทธศาสตร์ศรี เพ็ญ
โอกาสใหม่ ในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง
การลงทุน
การพัฒ นานิ ค มอุ ต สาหกรรมปอยเปต รั ฐ บาล
กั ม พู ช าให้ บ ริ ษัท เอกชนกั ม พู ช า 2 บริ ษัท รั บ
สัม ปทานพัฒ นาพื้ น ที่ นิค มอุต สาหกรรมปอยเปต
คือ
1) บริ ษทั Chhay Chhay Investment จากัด มี
โครงการพัฒนาพื้นที่ชายแดน ดังนี้
โอกาสใหม่ ในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง
การลงทุน
1.1 ก่อสร้างถนนไฮเวย์ (Asphalt Highway) ความ
กว้าง 20 เมตร ระยะทาง 13 กิ โลเมตร เชื่ อมต่อ
ระหว่างถนนคันเขื่อน K5 ซึ่งเป็ นถนนลูกรังทอด
ขนานไปตามแนวชายแดนกัม พู ช า-ไทย กับ
เส้นทางหมายเลข 5 ที่ บริ เวณบ้านเยียง อาเภอ
โอโจรว
1.2 โครงการพัฒ นาพื้ น ที่ ก ารค้ า และพาณิ ชย์
(Commercial Zone) โดยกาหนดพื้นที่จานวน
81.35 เฮกตาร์ ห่างจากแนวชายแดน 700 เมตร
โอกาสใหม่ ในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง
การลงทุน
1.3 โครงการพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรม (Industrial
Zone –IZ) โดยกาหนดพื้นที่จานวน 386.30
เฮกตาร์ ห่ า งจากแนวชายแดนกัม พู ช า-ไทย
ประมาณ 4 กิโลเมตร
1.4 โครงการพัฒนาพื้นที่ทา Dry Port โดยกาหนด
พื้ น ที่ จ านวน 32 เฮกตาร์ ตั้ง อยู่ป ากทางเชื่ อ ม
ระหว่างเส้นทางหมายเลข 5 กับถนนไฮเวย์ตดั
เข้านิคมอุตสาหกรรม
โอกาสใหม่ ในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง
การลงทุน
2) บริ ษทั A.S.K. & K.H. Group จากัด (ประเทศ
กัมพูชา) และบริ ษทั Royal Assets Consultant
จากัด (ประเทศไทย) ได้ร่วมลงทุนในการพัฒนา
พื้ นที่ บ ริ เวณชายแดนไทย-กัมพูช า ให้เป็ นเขต
นิคมอุตสาหกรรม มีโครงการพัฒนาดังนี้
โอกาสใหม่ ในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง
การลงทุน
2.1 ก่อสร้างถนนลาดยางขนาด 2 ช่องจราจร กว้าง 8
เมตร ความยาวประมาณ 11.5 กิโลเมตร เชื่อมต่อ
ระหว่า งชายแดนไทยที่ บ ริ เ วณบ้า นป่ าไร่ ใ หม่
ถนนศรี เพ็ ญ อ าเภออรั ญ ประเทศ จั ง หวั ด
สระแก้ว กับ เส้ น ทางหมายเลข 5 ของกัม พูช า
เพื่อรองรับการพัฒนาพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมใน
ฝั่งกัมพูชา
2.2 โครงการพัฒนาพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม กาหนด
พื้นที่ประมาณ 6,000 ไร่
2.3 โครงการพัฒนาพื้นที่สาหรับที่อยูอ่ าศัย และการ
พาณิ ชย์ กาหนดพื้นที่ประมาณ 1,500 ไร่
โอกาสใหม่ ในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง
การลงทุน
2.4
โครงการก่ อสร้ างสถานที่ ใ ห้บริ ก ารเพื่อ
สนั บ สนุ นด้ า นการค้ า และศู น ย์ ใ ห้ บ ริ การ
เบ็ดเสร็ จ ณ จุดเดียว (One Stop Service) หรื อ
ด่านตรวจสิ นค้าเพื่อผ่านพิธีการศุลกากรเพื่อการ
ส่ งออก-นาเข้ารวมถึงระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ
2.5 โครงการก่อสร้างสถานี ไฟฟ้ าย่อย 4 สถานี และ
ระบบสายส่ งกระแสไฟฟ้ า ขนาด 115 KV จาก
ประเทศไทยผ่านเข้าไปในพื้น ที่ โครงการ เพื่ อ
สนับสนุ นให้เกิ ดเขตการค้าและเขตการลงทุ น
ภาคอุตสาหกรรม นอกจากนี้ กระแสไฟฟ้ ายังส่ ง
ต่อไปถึงจังหวัดเสี ยมเรี ยบ และพระตะบอง รวม
ระยะทาง 224 กิโลเมตร
โอกาสใหม่ ในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง
การลงทุน
2. นิ คมอุตสาหกรรมด้านจังหวัดเกาะกง ตั้งอยู่บน
ถนนจามเยี่ยม-เกาะกง มีพ้ืนที่ท้ งั หมด 2,121 ไร่
บนสองฝั่งถนน ปั จจุบนั มีการสร้างสานักงานไว้
ที่ดา้ นหน้าและสร้ างกาแพงล้อมรอบที่ ดินไว้ มี
การวางผังสาธารณู ปโภคขั้นพื้นฐานแล้ว และ
จัดแบ่งพื้นที่รองรับโรงงานต่าง ๆ ออกเป็ นเขต
การพัฒนานิคมอุตสาหกรรมเกาะกงแบ่งเป็ น
2 ระยะ คื อ ระยะที่ 1 และระยะที่ 2 ถ้า หาก
โครงการเป็ นที่ตอ้ งการของตลาดก็สามารถขยาย
พื้นที่นิคมออกไปได้อีก
โอกาสใหม่ ในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง
การลงทุน
ผู ้ไ ด้รั บ สั ม ปทานในการพัฒ นาพื้ น ที่ นิ ค ม
อุตสาหกรรมเกาะกงจากรัฐบาลกัมพูชา คือ นาย
ลี จุม พัด (หรื อนายพัด สุ ภาภา) เจ้าของโรงแรม
และบ่อนกาสิ โนเกาะกง เป็ นนักธุ รกิ จซึ่ งได้รับ
การแต่งตั้งจากนายกรั ฐมนตรี ฮุ น เซน ให้เป็ น
ผูแ้ ทนในการพัฒนาพื้นที่จงั หวัดเกาะกงร่ วมกับ
ผูว้ ่าราชการจังหวัดเกาะกง นักลงทุนที่สนใจจะ
เข้าไปลงทุนที่นิคมฯ แห่ งนี้ ตอ้ งติดต่อกับนายลี
จุม พัด ผูบ้ ริ หารนิคมอุตสาหกรรมเกาะกง
โอกาสใหม่ ในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง
ไทย:
จะได้อ ะไรจากการเชื่ อ มต่ อ เส้ น ทางระเบี ย ง
เศรษฐกิ จ ด้านใต้ ไทยเคยเป็ นผูส้ ่ งออกสิ นค้าราย
ใหญ่ไปยังตลาดกัมพูชา ปั จจุบนั กาลังถูกแบ่งส่ วน
การตลาดจากจี น และเวียดนาม ในสิ นค้าอุปโภค
บริ โภคชนิดเดียวกัน เนื่องจากสิ นค้าของไทยมีราคา
แพงกว่ า สาเหตุ ม าจากอุ ป สรรคเส้ น ทางขนส่ ง
สิ น ค้า ที่ ไ ม่ ส ะดวกต้อ งใช้ ร ะยะเวลาขนส่ ง และ
ค่าใช้จ่ายสู ง พ่อค้าต้องบวกค่าใช้จ่ายในการขนส่ ง
ในตัว สิ น ค้า จึ ง ท าให้ มี ร าคาแพง เมื่ อ เส้ น ทางใน
กัมพูชาได้รับการพัฒนาดีแล้ว การขนส่ งสิ นค้าจาก
ไทยไปกัมพูชาจะสะดวกรวดเร็ ว อีกทั้งยังลด
โอกาสใหม่ ในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง
ไทย:
ค่ า ใช้จ่ า ยต้น ทุ น ขนส่ ง ลง ท าให้ สิ น ค้า มี ร าคาถู ก
สามารถแข่ ง ขัน กับ สิ น ค้า จากประเทศอื่ น ๆ ใน
ตลาดกัมพูชาได้ ไทยสามารถเรี ยกลูกค้ากลับคืนมา
ในทางกลับกันคนกัมพูชาก็จะได้ซ้ื อสิ นค้าราคาถูก
และถูกรสนิยม
อี ก ประการหนึ่ ง เมื่ อ เส้ น ทางเชื่ อ มโยงถึ ง กัน
ตลอด 3 ประเทศแล้วไทยสามารถกระจายตัวสิ นค้า
ให้ขยายออกไปยังจังหวัดต่าง ๆ ในภาคตะวันออก
ของกัมพูชาได้ และสามารถส่ งสิ นค้าผ่านแดนไปยัง
เวียดนาม
โอกาสใหม่ ในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง
ไทย:
สิ น ค้า บริ โ ภค พวกผัก และผลไม้จ ากไทยเป็ น
รสนิ ยมที่ถูกปากคนกัมพูชาและเป็ นที่ตอ้ งการของ
ตลาดกัมพูชา โดยเฉพาะกรุ งพนมเปญ (ซึ่ งมีกาลัง
ซื้ อจากผูบ้ ริ โภคสู ง) และเมืองท่องเที่ยวอย่างเสี ยม
เรี ยบ (ซึ่ งมีนกั ท่องเที่ยวเข้าไปเที่ยวและแวะพักใน
โรงแรม) เมื่อถนนดี การขนส่ งสิ นค้าผักและผลไม้
จะสามารถขนส่ ง ถึ ง มื อ ผูบ้ ริ โ ภคอย่า งสดสะอาด
และสวยงาม ซึ่งจะทารายได้สูงให้กบั ไทย
โอกาสใหม่ ในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง
กัมพูชา:
จะได้อ ะไรจากการเชื่ อ มต่ อ เส้ น ทางระเบี ย ง
เศรษฐกิ จ ด้ า นใต้ ประการแรก ประชาชนชาว
กัม พู ช าจะได้ รั บ ความสะดวกในการคมนาคม
ติ ด ต่ อกัน ระหว่างจังหวัดต่ าง ๆ ก่ อนที่ กัมพูชาจะ
ได้รับเงิ นกู้จาก ADB ในการพัฒนาเส้นทางต่าง ๆ
ในประเทศ การเดิ นทางไปมาหาสู่ กั น ของ
ประชาชนจากจังหวัดหนึ่ ง ในภาคหนึ่ ง ไปยัง อี ก
จั ง ห วั ด ห นึ่ ง ข อ ง อี ก ภ า ค ห นึ่ ง เ ป็ น ไ ป ด้ ว ย
ความยากล าบาก อาทิ การเดิ น ทางจากจัง หวัด
บันเตียเมียนเจยในภาคตะวันตกของกัมพูชา ไปยัง
เมืองหลวงกรุ งพนมเปญ ต้องใช้เวลาถึง 2 วัน 2 คืน
แต่ปัจจุบนั สามารถเดินทางถึงได้ภายใน 1 วัน
โอกาสใหม่ ในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง
กัมพูชา:
เส้นทางนาความเจริ ญทางวัตถุและเทคโนโลยี
เข้าถึ งพื้ นที่ ต่า ง ๆ ของกัมพูช า อาทิ ควบคู่ไ ปกับ
เส้นทาง คือ พลังงานไฟฟ้ า ซึ่ งจะมี ผลความเจริ ญ
ทางเทคโนโลยี ต ามมามากมาย การพัฒ นาด้า น
โทรคมนาคม การพัฒนาด้านการศึกษา การพัฒนา
ด้านสาธารณสุ ข
โอกาสใหม่ ในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง
ผลในแง่ ล บจากการพัฒ นาเชื่ อ มโยงเส้ น ทาง
ระเบียงเศรษฐกิจด้านใต้ ปั ญหาที่จะเกิดตามมาจาก
ความสะดวกสบายของถนน อาทิ การแพร่ ระบาด
ของโรคภั ย เช่ น โรคไข้ ห วั ด นก ที่ ส ามารถ
แพร่ กระจายได้รวดเร็ วด้วยพาหะที่เดินทางมาตาม
เส้นทางถนน
การลัก ลอบค้า และขนส่ ง ยาเสพติ ด ไทยและ
กัมพูชาเป็ นทั้งต้นทาง ทางผ่าน และปลายทางของ
การค้ายาเสพติด
โอกาสใหม่ ในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่ นา้ โขง
การค้า มนุ ษ ย์ (Trafficking) เพื่ อ แรงงานเถื่ อ น
และการค้าประเวณี ทั้งผูช้ าย ผูห้ ญิง และเด็ก ไทย
และกัมพูชาเป็ นทั้งต้นทาง ทางผ่าน และปลายทาง
ของการค้ามนุษย์
ปั ญหาอาชญากรรม การโจรกรรมรถยนต์จาก
ประเทศไทยแล้วส่ งออกขายยังกัมพูชา
ปั ญหาเหล่านี้ รัฐบาลของประเทศในอนุ ภูมิภาค
ลุ่มแม่น้ าโขง ต้องร่ วมมื อกันอย่างเข้มแข็งในการ
แก้ไขปัญหาและปราบปรามอาชญากรรม