ขบวน คือ ยานยนต์ กลุ่มหนึ่ง ตั้งแต่ 2 คันขึน้ ไปเคลือ่ นที่ไปด้ วยกันจากแห่ งหนึ่ง ไปยังแห่ งหนึ่ง เพือ่ ความมุ่งหมายในเรื่องการควบคุมการเคลือ่ นย้ าย อย่ างมีระเบียบภายใต้ การบังคับบัญชาของบุคคลคนเดียว ขบวนลาเลียง คือ กลุ่มของยานพาหนะ.

Download Report

Transcript ขบวน คือ ยานยนต์ กลุ่มหนึ่ง ตั้งแต่ 2 คันขึน้ ไปเคลือ่ นที่ไปด้ วยกันจากแห่ งหนึ่ง ไปยังแห่ งหนึ่ง เพือ่ ความมุ่งหมายในเรื่องการควบคุมการเคลือ่ นย้ าย อย่ างมีระเบียบภายใต้ การบังคับบัญชาของบุคคลคนเดียว ขบวนลาเลียง คือ กลุ่มของยานพาหนะ.

ขบวน คือ ยานยนต์ กลุ่มหนึ่ง ตั้งแต่ 2 คันขึน้ ไปเคลือ่ นที่ไปด้ วยกันจากแห่ งหนึ่ง
ไปยังแห่ งหนึ่ง เพือ่ ความมุ่งหมายในเรื่องการควบคุมการเคลือ่ นย้ าย
อย่ างมีระเบียบภายใต้ การบังคับบัญชาของบุคคลคนเดียว
ขบวนลาเลียง คือ กลุ่มของยานพาหนะ ตั้งแต่ 6 คัน หรือมากกว่ า กาลังเคลือ่ นที่
บนเส้ นทางเดียวกัน ภายใต้ การบังคับบัญชา ของ ผบ. ขบวน
ความมุ่งหมายการจัดขบวนลาเลียง
1. รวมการบังคับบัญชาไว้ ระดับสู งสุ ด
2. เป็ นหลักประกันการจัดส่ งกาลังพล ยุทธภัณฑ์ และสิ่ งอุปกรณ์
ให้ ทันตามกาหนดเวลา และตามความเร่ งด่ วน
3. รักษาความคล่องตัว กับ สถานการณ์ ทางยุทธวิธี
4. ใช้ เกณฑ์ บรรทุกให้ เกิดประสิ ทธิภาพ
5. สะดวกในการจัดการระวังป้องกันในขณะเคลือ่ นย้ าย
การจัดรูปขบวนลาเลียง
แบ่ งได้ 3 ระดับ
1. หน่ วยการเคลือ่ นที่ ( March Units )
2. ตอนการเคลือ่ นที่ ( March Serials )
3. ขบวนการเคลือ่ นที่ ( March Columns )
การจัดรูปขบวนลาเลียง
1. หน่ วยการเคลือ่ นที่
ส่ วนย่ อยเล็กทีส่ ุ ดของขบวนการเคลือ่ นที่ ประกอบด้ วย ยานพาหนะ
ไม่ เกิน 20 คัน ( ขนาด ตอน – หมวด )
ปกติ รถสายพาน กับ รถยนต์ ใช้ ล้อ จะไม่ จัดไว้ ในหน่ วยการเคลือ่ นที่เดียวกัน
เว้ น สถานการณ์ ทางยุทธวิธีบังคับ
2. ตอนการเคลือ่ นที่
เป็ นกลุ่มของหน่ วยการเคลือ่ นที่ 2 – 5 หน่ วยการเคลือ่ นที่
( ขนาด กองร้ อย – กองพัน )
3. ขบวนการเคลือ่ นที่
เป็ นกลุ่มของตอนการเคลือ่ นที่ 2 – 5 ตอนการเคลือ่ นที่
( ขนาด กองพัน – กรม )
ส่ วนประกอบของขบวนลาเลียง
1. หัวขบวน ( HEAD )
2. ตัวขบวน ( MAN BODY )
3. ท้ ายขบวน ( TRAIL )
1. หัวขบวน
คือ รถคันแรก ของขบวนลาเลียง เป็ นรถของผู้กากับความเร็ว
ซึ่งมีหน้ าที่รักษาการเดินทางให้ เป็ นไปตามอัตราการเคลือ่ นที่
และ เส้ นทางทีก่ าหนด
2. ตัวขบวน
คือ ยานพาหนะต่ อจากต้ นขบวน ซึ่งเป็ นส่ วนใหญ่ ของขบวนลาเลียง
3. ท้ ายขบวน
คือ ส่ วนสุ ดท้ ายของขบวนลาเลียง มีนายทหาร/นายสิ บ ท้ ายขบวน
ซึ่งมีหน้ าทีป่ ้ องกันการแตกแยกของขบวนลาเลียง ,รักษาระเบียบวินัย,
ปฐมพยาบาล , การตรวจการผ่ านพ้น
หน้ าทีส่ าคัญ คือ การซ่ อมบารุงฉุกเฉิน และลากจูงรถเสี ยให้ พ้นการจราจร
การวางตาแหน่ งยานพาหนะ
1. ยานพาหนะทีบ่ รรทุกกระสุ นและนา้ มันต้ องสนใจมากเป็ นพิเศษ ควรให้ กระจาย
อยู่ตามส่ วนต่ างของการเคลือ่ นทีร่ ะยะต่ อระหว่ างยานพาหนะห่ างมากขึน้
2. ยานพาหนะทีห่ นัก หรือช้ า ไว้ ทหี่ ัวขบวน เพือ่ ช่ วยในการรักษาความเร็ว
3. ยานพาหนะบัญชาการ และ ควบคุม อยู่ตรงทีส่ ามารถควบคุมขบวนลาเลียง
4. รถซ่ อมบารุ ง และรถกู้ ไว้ ท้ายสุ ดของหน่ วยการเคลือ่ นที่ และ ท้ ายสุ ดของ
ขบวนลาเลียง
5. ยานพาหนะทีไ่ ม่ สามรถกาหนดทีว่ างได้ ให้ รถบรรทุกทีต่ ้ องเสี ยเวลาขนลง
นานทีส่ ุ ดอยู่ต้นขบวนของส่ วนการเคลือ่ นที่
แบบของรู ปขบวน
1. รู ปขบวนปิ ด
2. รู ปขบวนเปิ ด
3. รู ปขบวนแทรกซึม
มี 3 แบบ
1. รู ปขบวนปิ ด
เป็ นรู ปขบวนทีย่ านพาหนะแต่ ละคันในหน่ วยการเคลือ่ นทีม่ ารวมกันให้ หนาแน่ น
เพือ่ ลดช่ วงถนนและความยาวเป็ นเวลาให้ น้อยทีส่ ุ ด ใช้ เมือ่ ทัศนวิสัยไม่ ดี เวลากลางคืน
เส้ นทางทีท่ าเครื่องหมายไม่ ดี ย่ านชุ มชน
2. รูปขบวนเปิ ด
เป็ นรู ปขบวนทีม่ รี ะยะต่ อระหว่ างยานพาหนะมากกว่ ารู ปขบวนปิ ด เพือ่ กระจาย
ยานพาหนะ ทาให้ ขศ. สั งเกตการณ์ หรือ โจมตีได้ ยากใช้ เมือ่ ฝนตกหนัก ทัศนวิสัยดี
เวลากลางวัน ทางหลวง เส้ นทางทีท่ าเครื่องหมายดี
3. รู ปขบวนแทรกซึม
เป็ นรู ปขบวนทีย่ านพาหนะในขบวนทีเ่ ป็ นคัน ๆ หรือเป็ นกลุ่มเล็ก ๆ ( 4 – 5 คัน )
มีระยะต่ อไม่ สมา่ เสมอ เป็ นรู ปขบวนทีม่ กี ารกระจายมากทีส่ ุ ด เป็ นการป้ องกัน
การตรวจการณ์ และโจมตี จาก ขศ. ดีทสี่ ุ ด แต่ ยากในการควบคุม ใช้ เมือ่ รักษาความลับ
ความปลอดภัย การลวง การเคลือ่ นย้ายของส่ วนล่วงหน้ า เวลากลางวันพืน้ ที่คบั คั่ง
การจราจรทีห่ นาแน่ น ผ่านข้ ามเส้ นทาง
แบบ
รู ปขบวน
ระยะต่ อ
ระหว่ างยานพาหนะ
ขบวนปิ ด
25 ถึง 50 ม.
25 ก.ม. / ชม.
ขบวนเปิ ด
100 ม.
50 ก.ม. / ชม.
ขบวนแทรกซึม
-
ไม่ คงที่
อัตราการเคลือ่ นที่
แบบ
ระยะต่ อ
ระหว่ างยานพาหนะ
อัตราการเคลือ่ นที่
การขับด้ วยวิธีพรางไฟ
15 ถึง 20 ม.
10 ถึง 20 ก.ม. / ชม.
การขับทีใ่ ช้ ไฟ
50 ถึง 100 ม.
30 ถึง 50 ก.ม. / ชม.
2 วิธี
1. การควบคุมระดับหน่ วย
2. การควบคุมระดับพืน้ ที่
1. การควบคุมระดับหน่ วย
โดยหน่ วยที่เคลือ่ นย้ าย ปฏิบัติท้งั ก่อน ระหว่ าง และหลังการเคลือ่ นย้ าย
การควบคุมระดับหน่ วยทีม่ ปี ระสิ ทธิภาพต้ องมีวนิ ัยการเคลือ่ นที่ ( ความ
รับผิดชอบการบังคับบัญชา การควบคุม และ การฝึ กระดับหน่ วยทีไ่ ด้ ผล )
2. การควบคุมระดับพืน้ ที่
ปฏิบัตโิ ดย ผู้บังคับบัญชาทีค่ วบคุมพืน้ ที่ / ภูมปิ ระเทศทีข่ บวนลาเลียงเคลือ่ นที่ผ่าน
ปกติ ปฏิบัตผิ ่ านการควบคุมการเคลือ่ นย้ ายในนาม การจัดระเบียบทางหลวง
- นายทหารขนส่ งกองพล ( DTO ) การวางแผน ให้ กบั พืน้ ที่ส่วนหลังของกองพล
- หน่ วยควบคุมการเคลือ่ นย้ าย ( MC ) การวางแผน ให้ กบั พืน้ ที่ส่วนหลังของกองทัพน้ อย
- หน่ วยควบคุมการเคลือ่ นย้ ายยุทธบริเวณ ( TMCA ) การวางแผนให้ กบั เขตหลัง
จุดควบคุมที่จำเป็ นบนเส้ นทำงกำรเคลื่อนย้ ำย
1. จุดเริ่มต้ น ( Start Point - SP )
2. จุดแยกขบวน ( Release Point - RP )
3. จุดคับขัน ( Critical Point - CP )
4. จุดลงรถ ( Detrucking Point - DP )
5. จุดสำคัญอื่น ๆ
1.จุดเริ่มต้ น ( Start Point - SP ) เป็ นตำบลที่กำหนดขึน้ เพื่อให้ หน่ วย
ทัง้ สิน้ ในขบวนเริ่มกำรเคลื่อนย้ ำย โดยผ่ ำนจุดร่ วมอันเดียวกัน ซึ่งนับจำกตำบลนี ้
ไปแล้ วกำรเคลื่อนย้ ำยจะอยู่ในสภำพกำรควบคุมตำมแผน
2.จุดแยกขบวน ( Release Point - RP ) เป็ นตำบลที่หน่ วยทัง้ สิน้ ในขบวน
แยกกำรควบคุมออกจำกผู้บังคับขบวน กลับไปขึน้ กำรควบคุมและกำรบังคับบัญาำ
ต่ อผู้บังคับบัญาำของตน เป็ นจุดสุดท้ ำยของกำรปฏิบัตเิ ป็ นขบวนก่ อนที่จะแยกย้ ำย
เข้ ำที่พักแรม พืน้ ที่รวมพล หรื อตำบลส่ งกำลัง
3.จุดคับขัน ( Critical Point - CP ) เป็ นตำบลที่อยู่ในเส้ นทำงกำรเคลื่อนย้ ำย
และเป็ นอุปสรรคในกำรเคลื่อนย้ ำยของขบวน
4. จุดลงรถ ( Detrucking Point - DP ) เป็ นตำบลที่หน่ วยทัง้ สิน้
ในขบวนเคลื่อนที่จำกจุดแยกขบวน มำหยุด ณ ตำบลนี ้ เพื่อขนกำลังพลและ
สิ่งอุปกรณ์ ลงจำกรถ
5. จุดสำคัญอื่น ๆ เป็ นตำบลที่กำหนดขึน้ เพื่อเป็ นเครื่ องา่ วยในกำร
กำกับดูแล และควบคุมกำรเคลื่อนย้ ำยของหน่ วย เา่ น จุดควบคุม จุดตรวจ
หรื อจุดผ่ ำน เป็ นต้ น
ประเภททำงหลวง
ประเทศไทย แบ่งออกเป็ น 6 ประเภท ( ตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535 )
1. ทำงหลวงพิเศษ
2. ทำงหลวงแผ่ นดิน
3. ทำงหลวงานบท
4. ทำงหลวงเทศบำล
5. ทำงหลวงสุขำภิบำล
6. ทำงหลวงสัมปทำน
1. ทำงหลวงพิเศษ คือ ทางหลวงที่ได้ ออกแบบเพื่อให้ การจราจรผ่านได้
ตลอดรวดเร็วเป็ นพิเศษ ซึง่ รัฐมนตรี ได้ ประกาศกาหนดให้ เป็ นทางหลวงพิเศษ
และกรมทางหลวงเป็ นผู้ดาเนินการก่อสร้ างขยาย บูรณะและบารุงรักษา และ
ได้ ลงทะเบียนไว้ เป็ นทางหลวงพิเศษ
2. ทำงหลวงแผ่ นดิน คือ ทางหลวงสายหลักที่เป็ นโครงข่ายเชื่อมระหว่าง
ภาค จังหวัด อาเภอ ตลอดจนสถานที่ที่สาคัญ ที่กรมทางหลวงเป็ นผู้
ดาเนินการก่อสร้ าง ขยายบูรณะและบารุงรักษาและได้ ลงทะเบียนไว้ เป็ น
ทางหลวงแผ่นดิน
3. ทำงหลวงานบท คือ ทางหลวงนอกเขตเทศบาลและเขตสุขาภิบาล
ที่องค์การบริหาร ส่วนจังหวัด กรมโยธาธิการหรื อสานักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท
เป็ นผู้ดาเนินการก่อสร้ างขยายบูรณะและบารุงรักษา และได้ ลงทะเบียนไว้ เป็ น
ทางหลวงชนบท
4. ทำงหลวงเทศบำล คือ ทางหลวงในเขตเทศบาล ที่เทศบาลเป็ นผู้
ดาเนินการก่อสร้ าง ขยาย บูรณะและบารุงรักษา และได้ ลงทะเบียนไว้ เป็ น
ทางหลวงเทศบาล
5. ทำงหลวงสุขำภิบำล คือ ทางหลวงในเขตสุขาภิบาลที่สขุ าภิบาลเป็ น
ผู้ดาเนินการ ก่อสร้ าง ขยาย บูรณะและบารุงรักษาและได้ ลงทะเบียนไว้ เป็ น
ทางหลวงสุขาภิบาล
6. ทำงหลวงสัมปทำน คือ ทางหลวงที่รัฐบาลได้ ให้ สมั ปทานตามกฎหมาย
ว่าด้ วยทางหลวงที่ได้ รับสัมปทานและได้ ลงทะเบียนไว้ เป็ นทางหลวงสัมปทาน
ทำงหลวงประเภทต่ ำง ๆ ให้ ลงทะเบียนไว้ ดังต่ อไปนี ้
1. ทำงหลวงพิเศษและทำงหลวงแผ่ นดิน อธิบดีกรมทางหลวงเป็ นผู้จดั ให้ ลง ทะเบียน
ไว้ ณ กรมทางหลวงโดยอนุมตั ิรัฐมนตรี
2. ทำงหลวงสัมปทำน อธิบดีกรมทางหลวงเป็ นผู้จดั ให้ ลงทะเบียนไว้ ณ กรมทางหลวง
3. ทำงหลวงานบท ผู้วา่ ราชการจังหวัดเป็ นผู้จดั ให้ ลงทะเบียนไว้ ณ ศาลากลาง จังหวัด
เมื่อได้ รับความยินยอมจากอธิบดีกรมโยธาธิการ หรื อเลขาธิการเร่งรัดพัฒนาชนบท
แล้ ว แต่กรณี
4. ทำงหลวงเทศบำล นายกเทศมนตรี เป็ นผู้จดั ให้ ลงทะเบียนไว้ ณ สานักงาน เทศบาล
โดยอนุมตั ิผ้ วู า่ ราชการจังหวัด
5. ทำงหลวงสุขำภิบำล ประธานกรรมการสุขาภิบาล เป็ นผู้จดั ให้ ลงทะเบียนไว้ ณ
สานักงานสุขาภิบาล โดยอนุมตั ิอธิบดีกรมโยธาธิการ
ระบบหมำยเลขทำงหลวง
1. แสดงที่ตัง้ ของทำงหลวง
1.1 ทางสายใด ที่ขึ ้นต้ นด้ วยหมายเลข 1 แสดงว่าทางสายนันอยู
้ ่ในภาคเหนือ
1.2 ทางสายใด ที่ขึ ้นต้ นด้ วยหมายเลข 2 แสดงว่าทางสายนันอยู
้ ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
1.3 ทางสายใด ที่ขึ ้นต้ นด้ วยหมายเลข 3 แสดงว่าทางสายนันอยู
้ ่ในภาคกลางและตะวันออก
1.4 ทางสายใด ที่ขึ ้นต้ นด้ วยหมายเลข 4 แสดงว่าทางสายนันอยู
้ ่ในภาคใต้
2. กำรจำแนกระบบหมำยเลขทำงหลวง
2.1 ทางหลวงที่มีหมายเลขตัวเดียว หมายถึง ทางหลวงแผ่นดินสายประธานเชื่อม
การจราจรระหว่างภาคต่อภาค ในปั จจุบนั มีอยู่ 4 สาย คือ
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 ( ถนนพหลโยธิน ) จากกรุงเทพฯ - เชียงราย
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 ( ถนนมิตรภาพ ) จากสระบุรี - หนองคาย
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 ( ถนนสุขมุ วิท ) จากกรุงเทพฯ - ตราด
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ( ถนนเพชรเกษม ) จากกรุงเทพฯ - อ.สะเดา จ.สงขลา
2.2 ทางหลวงที่มีหมายเลขสองตัว หมายถึง ทางหลวงแผ่นดินสายประธาน
ตามภาคต่าง ๆเช่นทางหลวงแผ่นดินสายประธานหมายเลข 22 เป็ นทางหลวงแผ่นดิน
สายประธานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สายอุดรธานี - นครพนม เป็ นต้ น
2.3 ทำงหลวงที่มีหมำยเลขสำมตัว หมายถึง ทางหลวงแผ่นดินสายรอง เช่น
ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 202 เป็ นทางหลวงแผ่นดินสายรอง ในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ สายชัยภูมิ – เขมราฐ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 314 เป็ นทางหลวง
แผ่นดิน
สายรองในภาคกลาง สายบางปะกง - ฉะเชิงเทรา เป็ นต้ น
2.4 ทำงหลวงที่มีหมำยเลขสี่ตัว หมายถึง ทางหลวงแผ่นดินที่เชื่อมระหว่างจังหวัด
กับอาเภอหรื อสถานที่สาคัญของจังหวัดนัน้ เช่น ทางหลวงหมายเลข 1001 เป็ นทางหลวง
ในภาคเหนือสายแยกทางหลวงหมายเลข 11 - อ.พร้ าว ทางหลวงหมายเลข 4006 เป็ น
ทางหลวงในภาคใต้ สายแยกทางหลวง หมายเลข 4 (ราชกรูด) - หลังสวน เป็ นต้ นสาหรับ
ทางหลวงพิเศษและทางหลวงสัมปทาน อาจจะเป็ นทางสายใดตอนใดก็ได้ ซึง่ ได้ ประกาศ
ให้ เป็ นทางหลวงพิเศษทังนี
้ ้ยังคงใช้ หมายเลขทางหลวงตามหมายเลขเดิมเช่น ทางหลวง
พิเศษหมายเลข 7 เป็ นทางหลวงพิเศษสายกรุงเทพ – ชลบุรี ( สายใหม่ ) เป็ นต้ น
ทำงหลวงเอเซียในประเทศไทย
กำรพัฒนำทำงหลวงเาื่อมโยงประเทศเพื่อนบ้ ำน นอกจำกจะดำเนิน
กำร ณ. จุดที่เาื่อมต่ อระหว่ ำงกันแล้ ว ภำยในประเทศได้ มีกำรปรับปรุ ง
ทำงหลวงเป็ นโครงข่ ำยส่ วนหนึ่งของทำงหลวงเอเซียที่ผ่ำนเข้ ำมำใน
ประเทศไทยอีก เป็ นระยะทำง 3,430 กม.
วัตถุประสงค์ ของโครงกำรทำงหลวงเอเาีย
เพื่อปรับปรุงและร่วมมือกันพัฒนาการขนส่ง ระหว่างประเทศ เมืองอุตสาหกรรม ท่าเรื อ
สถานที่ทอ่ งเที่ยวและแหล่งการค้ าสาคัญ ๆ ซึง่ ความร่วมมือดังกล่าวมี สมาชิก 15
ประเทศ เข้ าร่วมในโครงการทางหลวงเอเซีย ประกอบด้ วยอัฟกานิสถาน บังคลาเทศ
กัมพูชา อินเดีย อินโดนีเซีย อิหร่าน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มาเลเซีย
เนปาล ปากีสถาน ฟิ ลิปปิ นส์ ศรี ลงั กา ไทย เวียดนาม จีน พม่า และมองโกเลีย
โครงข่ายทางหลวงเอเซียมีระยะทาง 68,307 กม. เชื่อมโยง 15 ประเทศในภูมิภาคเอเชีย
และแปซิฟิก จุดเริ่มต้ นที่ทวีปยุโรป ซึง่ อยูท่ างด้ านตะวันตก เชื่อมโยงไปยังประเทศ
เวียดนามและฟิ ลิปปิ นส์ซงึ่ อยูท่ างตะวันตก ประเทศอินโดนีเซียซึง่ อยู่ทางด้ านตะวันออก
เฉียงใต้ ประเทศศรี ลงั กา ซึง่ อยูท่ างด้ านใต้
สำย A-1
เริ่มต้ นจากเขตแดนพม่าที่ อ.แม่สอดไปตามทางหลวงหมายเลข 105 ถึง จ.ตาก เลี ้ยวขวา ไปตามทางหลวงหมายเลข 1 ถึง
อ.พยุหคีรี ตรงไปตามทางหลวงหมายเลข 32 ถึง อ.บางปะอิน เลี ้ยวขวาไปตามทางหลวง หมายเลข1 ถึง อ.หินกอง เลี ้ยว
ขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 33 ผ่าน จ.นครนายก ปราจีนบุรีจดชายแดนเขมรที่ อ.อรัญประเทศเป็ นทางลาดยางตลอด
ระยะทางประมาณ 698 กม.
สำย A-2
เริ่มต้ นจากเขตแดนพม่าที่ อ.แม่สายไปตามทางหลวงหมายเลข 110 ถึง จ.เชียงราย ตรงไปตาม ทางหลวงหมายเลข 1 ถึง
อ.พยุหะคีรี ตรงไปตามทางหลวงหมายเลข 32 ถึง อ.บางปะอิน เลี ้ยวขวาไปทางหลวงหมายเลข 1 ถึงกรุงเทพ ฯ และจาก
กรุงเทพ ฯ ไปตามทางหลวงหมายเลข 4 ผ่าน จ.นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขนั ธ์ และชุมพร แล้ วตรงไปตามทาง
หลวงหมายเลข 41 ถึง จ.พัทลุง เลี ้ยวซ้ ายไปตามทางหลวงหมายเลข 4 ผ่าน อ.หาดใหญ่ และไปจดชายแดนมาเลเซียที่ อ.
สะเดา สภาพทางลาดยางแล้ วตลอดสายระยะทางประมาณ 1,945 กม.
สำย A-3
เริ่มต้ นจากแยกสาย A-2 ที่จ.เชียงราย ไปตามทางหลวงหมายเลข 1020 แล้ วเลี ้ยวไปตามทางหลวง หมายเลข 1152 แล้ ว
เลี ้ยวซ้ ายอีกครัง้ ไปตามทางหลวงหมายเลข 1020 ไปจดเขตแดนลาวที่ อ.เชียงของ เป็ นทาง ลาดยางตลอดสายระยะทาง
ประมาณ 115 กม .
สำย A-12
เริ่มต้ นจากแยกสาย A-1 ที่สามแยกหินกองไปตามทางหลวงหมายเลข 1 ถึง จ.สระบุรี เลี ้ยวขวาไป ตามทางหลวง
หมายเลข 2 ผ่าน จ.นครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี สิ ้นสุดที่หนองคาย สภาพทางลาดยางแล้ วตลอดสาย ระยะทาง
ประมาณ 524 กม.
สำย A-15
เริ่มต้ นจากแยกสาย A-12 ที่ จ.อุดรธานี ไปตามทางหลวงหมายเลข 22 ผ่าน จ.สกลนคร สิ ้นสุด ที่ จ.นครพนม สภาพ
ทางลาดยางตลอดระยะทางประมาณ 241 กม.
สำย A-18
เริ่มต้ นจากแยกสาย A-2 ที่ อ.หาดใหญ่ ไปตามทางหลวงหมายเลข 43 แล้ วเลี ้ยวซ้ ายไปตาม ทางหลวงหมายเลข 42
ผ่าน จ.ปั ตตานีไปจนถึง จ.นราธิวาส จากนั ้นไปตามทางหลวงหมายเลข 4056 ไปจนจดเขตแดน มาเลเซียที่ อ.สุไหงโก
ลก เป็ นทางลาดยางตลอดสาย ระยะทางประมาณ 275 กม.
กำรคำนวณกำรเคลื่อนย้ ำยหน่ วยทหำรด้ วยรถยนต์
ปั จจัยที่เกี่ยวข้ อง
1.ปั จจัยระยะทำง
2.ปั จจัยเวลำ
3.ปั จจัยควำมเร็ว
ปั จจัยระยะทำง
1. ควำมยำวขบวน ( RS ) คือ ระยะห่ ำงจำกหน้ ำยำนพำหนะคันแรกถึงท้ ำย
ยำนพำหนะ
คันสุดท้ ำยของขบวน
2. ระยะต่ อ คือ ระยะห่ ำงระหว่ ำงยำนพำหนะ หรื อ ส่ วนประกอบของขบวน
หรื อระยะห่ ำงระหว่ ำงขบวนที่แล่ นตำมกัน วัดได้ จำกท้ ำยสุดของหน่ วยหนึ่ง
ไปยังหน้ ำสุดของหน่ วยถัดไป
3. ระยะนำ คือ ระยะห่ ำงระหว่ ำงยำนพำหนะ หรื อ ส่ วนประกอบของขบวน หรื อ
ระยะห่ ำงระหว่ ำงขบวนที่แล่ นตำมกัน วัดได้ จำกหน้ ำสุดของหน่ วยหนึ่งไปยัง
หน้ ำสุดของหน่ วยถัดไป
ระยะนำ = ควำมยำวของตัวรถ + ระยะต่ อ
= ควำมยำวของส่ วนประกอบของขบวน + ระยะต่ อ
4. ระยะทำง คือ ระยะทำงบนถนนที่ขบวนเดินทำงจำกจุดเริ่มต้ น (SP)
ถึงจุดแยกขบวน (RP)
5. ระยะทำงผ่ ำนพ้ น คือ ระยะทำงทัง้ สิน้ ที่ขบวนจะต้ องผ่ ำนส่ วนใดส่ วนหนึ่ง หรื อ
จุดใดจุดหนึ่งที่กำหนดให้ บนเส้ นทำงกำรเคลื่อนย้ ำย
ระยะทำงผ่ ำนพ้ นจุดใดจุดหนึ่ง = ควำมยำวของขบวน
6. า่ วงถนน คือ ควำมยำวทัง้ สิน้ บนถนนที่ขบวน หรื อส่ วนประกอบของขบวน
ครอบคลุมอยู่รวมกับระยะทำงปลอดภัย หรื อระยะทำงเพื่อกำรอ่ อนตัว
ช่ วงถนน = ควำมยำวของขบวน + ระยะปลอดภัย
ปั จจัยเวลำ
1. ควำมยำวขบวนเป็ นเวลำ ( Time Length TL ) คือ เวลำที่ขบวน หรื อ
ส่ วนประกอบของขบวนเคลื่อนที่ผ่ำนจุด ๆ หนึ่งที่กำหนดให้
2. ระยะต่ อเป็ นเวลำ คือ า่ วงเวลำหนึ่งที่ใา้ ในกำรผ่ ำนจุด ๆ หนึ่งที่กำหนดให้
นับจำกท้ ำยขบวน หรื อส่ วนประกอบของขบวน ถึงหัวขบวนหรื อส่ วนประกอบ
ของขบวนถัดไป
3. ระยะนำเป็ นเวลำ คือ า่ วงเวลำหนึ่งที่ใา้ ในกำรผ่ ำนจุด ๆ หนึ่งที่กำหนดให้
นับจำกหัวขบวน หรื อส่ วนประกอบของขบวน ถึงหัวขบวนหรื อส่ วนประกอบ
ของขบวนถัดไป
4. ระยะทำงเป็ นเวลำ ( Time Distance TD ) คือ เวลำที่ใา้ ในกำรเคลื่อนที่จำก
จุดเริ่มต้ น ( SP ) ไปถึงจุดแยกขบวน ( RP ) ด้ วยอัตรำควำมเร็วที่กำหนด
5. เวลำผ่ ำนพ้ น คือ เวลำทัง้ สิน้ ที่ขบวน หรื อส่ วนประกอบของขบวนใา้ ในกำร
เดินทำงผ่ ำนพ้ นส่ วนใดส่ วนหนึ่งหรื อจุดใดจุดหนึ่งที่กำหนดบนเส้ นทำง
มีค่ำเท่ ำกับ
ระยะทำงเป็ นเวลำ + ควำมยำวขบวนเป็ นเวลำ
เวลำผ่ ำนพ้ น = TD + TL
6. า่ วงถนนเป็ นเวลำ คือ เวลำที่ขบวน หรื อส่ วนประกอบของขบวนผ่ ำนพ้ น
ส่ วนใดส่ วนหนึ่ง หรื อจุดใดจุดหนึ่งที่กำหนดบนเส้ นทำง รวมด้ วยเวลำปลอดภัย
หรื อเวลำเพื่อกำรอ่ อนตัว
ช่ วงถนนเป็ นเวลำ = TL + เวลำปลอดภัย
ปั จจัยควำมเร็ว
1. ควำมเร็ว ( Speed ) คือ ควำมสำมำรถในกำรเคลื่อนที่ของยำนพำหนะ
ในห้ วงเวลำหนึ่ง ที่วัดได้ จำกเครื่ องวัดควำมเร็ว มีหน่ วยวัดเป็ น
ไมล์ / าม. หรื อ กม. / าม.
2. ควำมเร็วที่กำหนด ( Pace ) คือ ควำมเร็วที่ผ้ ูกำกับควำมเร็วกำหนดให้ แก่ ขบวน
หรื อส่ วนประกอบของขบวน โดยควำมเร็วนีต้ ้ องปรั บอยู่ตลอดเวลำขึน้ อยู่กับ
สภำพของเส้ นทำง
3. อัตรำควำมเร็ว ( Rate ) คือ ระยะทำงเฉลี่ยของกำรเคลื่อนที่ภำยในเวลำ
ที่กำหนด ซึ่งรวมกำรพักา่ วงสัน้ ๆ และควำมล่ ำา้ ำอื่น ๆ ไว้ ด้วยแล้ ว
มีหน่ วยวัดเป็ น ไมล์ / าม. หรื อ กม. / าม.
อัตรำควำมเร็ว
=
ระยะทำง
เวลำ
ร
อ
ว
ตัวคูณควำมเร็ว ( คร. )
เป็ นกำรหำระยะต่ อของยำนพำหนะในขบวน จะกำหนดด้ วยตัวเลข
1 , 2 , 3 , 4 หรื อมำกกว่ ำ เมื่อตัวคูณควำมเร็วคูณกับควำมเร็วของยำนพำหนะ
ที่แสดงเป็ น ไมล์ / าม. จะได้ ระยะต่ อเป็ น หลำ ถ้ ำควำมเร็วของยำนพำหนะ
เป็ น กม. / าม. จะได้ ระยะต่ อเป็ น เมตร เา่ น
ควำมเร็วของยำนพำหนะ 20 ไมล์ / าม. ใา้ คร. 3
จะได้ ระยะต่ อ = 3 X 20 = 60 หลำ
ควำมเร็วของยำนพำหนะ 30 กม. / าม. ใา้ คร. 2
จะได้ ระยะต่ อ = 2 X 30 = 60 เมตร
ตัวอย่ ำงกำรคำนวณ หำระยะต่ อ และระยะต่ อเป็ นเวลำ
กำหนดให้ รถวิ่งด้ วยควำมเร็ว 20 กม. / าม. , 30 กม. / าม. , 40 กม. / าม. ,
50 กม. / าม. และ 60 กม. / าม. และเพิ่มขึน้ เรื่ อย ๆ ใา้ ตัวคูณควำมเร็ว 2
2 X 20 = 40 เมตร
2 X 30 = 60 เมตร
2 X 40 = 80 เมตร
2 X 50 = 100 เมตร
2 X 60 = 120 เมตร
สรุ ป กำรรั กษำระยะต่ อโดยใา้ ตัวคูณควำมเร็ว จะทำให้ เกิดผลต่ อกำรปฏิบัติ ดังนี ้

ระยะต่ อจะเปลี่ยนแปลงไปตำมควำมเร็วของรถ
กำหนดให้ รถวิ่งด้ วยควำมเร็ว 20 กม. / าม. , 30 กม. / าม. , 40 กม. / าม. ,
50 กม. / าม. และ 60 กม. / าม.และเพิ่มขึน้ เรื่ อย ๆ ใา้ ตัวคูณควำมเร็ว 3
3 X 20 = 60 เมตร ระยะต่ อเป็ นเวลำ =
3 X 30 = 90 เมตร ระยะต่ อเป็ นเวลำ =
3 X 40 = 120 เมตร ระยะต่ อเป็ นเวลำ =
3 X 50 = 150 เมตร ระยะต่ อเป็ นเวลำ =
3 X 60 = 180 เมตร ระยะต่ อเป็ นเวลำ =
60
20 X 1000
90
30 X 1000
120
40 X 1000
150
50 X 1000
180
60 X 1000
X 60 X 60 = 10.8 วินำที
X 60 X 60 = 10.8 วินำที
X 60 X 60 = 10.8 วินำที
X 60 X 60 = 10.8 วินำที
X 60 X 60 = 10.8 วินำที
สรุ ป กำรรั กษำระยะต่ อโดยใา้ ตัวคูณควำมเร็ว จะทำให้ เกิดผลต่ อกำรปฏิบัติ ดังนี ้
 ระยะต่อเป็ นเวลาจะคงทีเ่ สมอแม้ว่าความเร็ วของรถจะเปลีย่ นแปลงไป
กำรรั กษำระยะต่ อของพลขับจะกระทำได้ 3 วิธี
1. กำรใา้ ตัวคูณควำมเร็ว ( ระยะต่ อเป็ นระยะทำง )
2. กำรใา้ ควำมยำวของรถ ( ระยะต่ อเป็ นระยะทำง )
3. กำรนับเป็ น 2 เท่ ำของตัวคูณควำมเร็ว ( ระยะต่ อเป็ นเวลำ )
นับครั ง้ ละ 1 วินำที (คงที่)
(คร.)
2
2
2
2
X
X
X
X
1
2
3
4
=
=
=
=
2
4
6
8
นับ
นับ
นับ
นับ
2
4
6
8
ครั ง้
ครั ง้
ครั ง้
ครั ง้
=
=
=
=
2
4
6
8
วินำที
วินำที
วินำที
วินำท
ตัวอย่ ำงกำรคำนวณหำควำมยำวของขบวน
( ทราบจานวนรถ และ คร. )
1. หน่วยการเคลื่อนที่ที่ 1 มีรถ 40 คัน ความยาวของรถแต่ละคัน 10 เมตร เมื่อ
ขบวน
วิ่ง ด้ วยความเร็ว 30 กม. / ชม. คร. 3 ขบวนนี ้มีความยาวทังสิ
้ ้นเท่าไร
ความยาวของรถ 40 คัน = 40 X 10 = 400 ม. …………(1)
ระยะต่อแต่ละคัน
= 3 X 30 =
90 ม.
มี 39 ระยะต่อ
= 39 X 90 = 3510 ม. .…………(2)
หน่วยการเคลื่อนที่นี ้มีความยาวทังสิ
้ ้น = (1) + (2)
= 400 + 3510 = 3,910 ม.
= 3.91 กม.
2.ตอนการเคลื่อนที่หนึง่ มี 2 หน่วยการเคลื่อนที่ แต่ละหน่วยมียานพาหนะ 25 คัน
ระยะต่อหน่วยการเคลื่อนที่ 2 นาที ยานพาหนะยาว 10 ม. ใช้ อตั ราความเร็ว
30 กม. / ชม. คร. 2 ขบวนนี ้มีความยาวทังสิ
้ ้นเท่าไร และเวลาผ่านพ้ นของขบวนเท่าไร
ความยาวของยานพาหนะทังหมด
้
50 คัน = 50 X 10 = 500
ม. ……(1)
ระยะต่อแต่ละคัน
= 2 X 30 =
60 ม.
หน่วยการเคลื่อนที่ 1 มี 24 ระยะต่อ
= 24 X 60 = 1440 ม. …… (2)
หน่วยการเคลื่อนที่ 2 มี 24 ระยะต่อ
= 24 X 60 = 1440 ม. ……(3)
ระยะต่อหน่วยการเคลื่อนที่ 1 - 2
= 2
นาที
อัตราความเร็ว 30 กม. / ชม.
60 นาที
ได้ ระยะทาง
30  1,000
ม.
2
“ --------------- “
30 X 1,000  2 = 1,000
ม. …………(4)
60
ตอนการเคลื่อนที่นี ้มีความยาวทังสิ
้ ้น = (1) + (2) + (3) + (4)
= 500 + 1440 + 1440 + 1,000 = 4,380 ม.
= 4.38 กม.
หำเวลำผ่ ำนพ้ นของขบวน
อัตราความเร็ว 30 กม. / ชม.
ระยะทาง
30 กม. ใช้ เวลาในการผ่านพ้ น
60
นาที
ขบวนยาว
4.38
กม. “ --------------------- “ 60 X 4.38 = 8.76 นาที
30
เวลาผ่านพ้ นของขบวนนี ้ประมาณ 9 นาที
ควำมหนำแน่ นกำรจรำจร 
ปริมำณกำรจรำจร
ควำมหนำแน่ นกำรจรำจร ( ใช้ ระยะทางเป็ นหลัก )
คือ จานวนยานพาหนะโดยเฉลี่ยที่อยูบ่ นถนนในระยะทาง 1 ไมล์ หรื อ 1 กม.
มีหน่วยเป็ น คัน / ไมล์ หรื อ คัน / กม. หรื อพูดง่าย ๆ ว่า ใน 1 กม.
จะมียานพาหนะกี่คนั
ปริมำณกำรจรำจร ( ใช้ เวลาเป็ นหลัก )
คือ จานวนยานพาหนะโดยเฉลี่ยที่วิ่งผ่านจุดใดจุดหนึ่งในห้ วงระยะเวลา 1 ชม.
มีหน่วยเป็ น คัน / ชม. หรื อ พูดง่าย ๆ ว่า ใน 1 ชม. จะมียานพาหนะวิ่งผ่านจุด
ที่กาหนดกี่คนั
กำรคำนวณหำควำมยำวของขบวน
ความยาวของขบวนแบ่งออกได้ เป็ น 2 ประเภท คือ
1.ความยาวของขบวนเป็ นระยะทาง ( Road Space - RS )
2.ความยาวของขบวนเป็ นเวลา ( Time Length - TL )
กำรคำนวณหำ RS กระทำได้ 2 วิธี
1. ใา้ ควำมยำวของรถ
ควำมยำวของขบวน ( RS ) = ผลรวมควำมยำวของรถ + ผลรวมของระยะต่ อ
ตัวอย่ ำงกำรคำนวณ
หน่วยการเคลื่อนที่ 1 มีรถ 22 คันเดินทางจาก SP ไปยัง RP ด้ วยอัตราความเร็ว
30 กม. / ชม. รักษาระยะต่อด้ วยตัวคูณความเร็ว 2 ความยาวของรถ 10 เมตร
จงหา RS
RS
=
ผลรวมความยาวของรถ + ผลรวมของระยะต่อ
ผลรวมความยาวของรถ =
22 x 10=
220 เมตร
ผลรวมของระยะต่อ
=
( 30 x 2 ) x 21 =
1260 เมตร
RS
=
220 + 1260 = 1480 ม. หรื อ 1.48 กม.
ตอนการเคลื่อนที่ 1 มี 3 หน่วยการเคลื่อนที่ แต่ละหน่วยการเคลื่อนที่มีรถ 16 คัน
เดินทางจาก SP ไปยัง RP โดยมีระยะต่อระหว่างหน่วยการเคลื่อนที่เป็ นเวลา 2 นาที
ขบวนนี ้ใช้ อตั ราความเร็ว 36 กม. / ชม. รักษาระยะต่อด้ วยตัวคูณความเร็ว 2
ความยาวของรถ 10 เมตร จงหา RS
แต่ละหน่วยการเคลื่อนที่มี RS = ผลรวมความยาวของรถ + ผลรวมของระยะต่อ
= ( 16 x 10 ) + ( 36 x 2 x 15 ) เมตร
= 160 + 1080 = 1240 เมตร
ความยาวทังสิ
้ ้น
= 3 x 1240 = 3720
เมตร หรื อ 3.72 กม.
ระยะต่อเป็ นเวลา = 2 + 2 = 4 นาที
เวลา
60 นาที ได้ ระยะทาง
36
กม.
“
4
“ -------------- “
36 x 4 = 2.4 กม.
60
RS ทังสิ
้ ้น
= 3.72 + 2.4 = 6.12 กม.
ตำรำงกำรนำขบวน
ทาขึ ้นเพื่อแจกจ่ายให้ เจ้ าหน้ าที่ตา่ ง ๆ ในขบวน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้กากับความเร็ว
จะต้ องใช้ ตารางการนาขบวนประกอบการพิจารณา ใช้ ความเร็วของการนาขบวน
เพื่อให้ ขบวนถึงจุดตรวจตามเวลา
แบบฟอร์ ม ตำรำงกำรนำขบวน
ถนน
จุดตรวจ
ระยะทาง
ระยะทาง
จากจุดตรวจ
จากจุด
ที่แล้ว
เริ่ มต้น
จากจุดตรวจ สถานที่
ระยะทางจากจุด
ใช้ถนนอะไร ขบวนเดินทาง ตรวจที่แล้วถึงจุด
จะใช้ชื่อหรื อ ถึง
ตรวจถัดไป
หมายเลขถนน
เวลา
ออก/ถึง
หมายเหตุ
ระยะทางจาก เวลาที่ตน้ ขบวน บันทึกเหตุการณื หรื อ
จุดเริ่ มต้นถึง เดินทางออก/ถึง สถานที่หยุดพักตาม
จุดตรวจ
จุดตรวจถัดไป
คาสัง่ การเคลื่อนย้าย
ปัจจุบนั
หรื อหยุดประจา ชม.
จุด SP. และ
RP. ถือว่า
เป็ นจุดตรวจ
อัตราความเร็ว…………………..
ความเร็วสูงสุด………………….
ตัวคูณความเร็ว………
ตัวอย่ ำงกำรทำตำรำงกำรนำขบวน
สถำนกำรณ์ เฉพำะ
กรม ขส.รอ.วางแผนเตรี ยมการฝึ กขบวนลาเลียงด้ วยรถยนต์บรรทุกเบา เพื่อให้
หน่วยมีความคุ้นเคยกับเส้ นทาง และมีความพร้ อมในการปฏิบตั ิงานได้ ทนั ที เมื่อได้ รับ
มอบภารกิจจากหน่วยเหนือ
ข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องในกำรปฏิบตั ิ
1.จัดขบวนรถยนต์บรรทุกเบา 1 ขบวน จานวนรถ 20 คัน ( ความยาวของรถ 10 เมตร )
2.ระยะทางที่ใช้ ในการฝึ ก จากนครสวรรค์ - นาแห้ ว ระยะทาง 275 กม.
* ถนนหมายเลข 117
นครสวรรค์ - อ.โพทะเล ระยะทาง 40
กม.
อ.โพทะเล - อ. สามงาม ระยะทาง 45
กม.
อ. สามงาม - พิษณุโลก ระยะทาง 35
กม.
* ถนนหมายเลข 12
พิษณุโลก - อ. วังทอง ระยะทาง
15
กม.
* ถนนหมายเลข 12 , 2013 อ. วังทอง - อ. นครไทย ระยะทาง 65
กม.
* ถนนหมายเลข 2013
อ. นครไทย - อ. ด่านซ้ าย ระยะทาง 50
กม.
* ถนนหมายเลข 2113
อ. ด่านซ้ าย - อ. นาแห้ ว ระยะทาง 25
กม.
3.ออกเดินทางจากจุดเริ่ มต้ น ( SP ) เวลา 0930
4.อัตราความเร็ว 50 กม. / ชม.
5.ความเร็วสูงสุด 70 กม. / ชม.
6.รักษาระยะต่อด้ วยตัวคูณความเร็ ว 2
7.การหยุดพัก
 หยุดพักใน ชม. แรก 15 นาที
 หยุดพัก 10 นาที ทุก ๆ 2 ชม.
 หยุดรับประทานอาหารกลางวัน และเติมน้ ามัน 1 ชม. เวลา 1200 - 1300 น.
แผนที่เส้ นทางโดยสังเขป
RP.
อ. นาแห้ว
25 กม.
อ. ชาติตระการ
2113
อ. ด่านซ้าย
2013
50 กม.
1143
11
2013
12
อ. นครไทย
2013
65 กม.
12
พิษณุ โลก
15 กม.
35 กม.
อ. วังทอง
12
อ. สามงาม
พิจิตร
117
45 กม.
2013
1118
อ.โพนทะเล
40 กม.
117
225
1
225
นครสวรรค์
SP.
0930 น.
1
3004
ตารางการนาขบวน
ถนน
หมายเลข
117
จุดตรวจ
นครสวรรค์
อ. โพนทะเล
อ. สามงาม
พิษณุโลก
12
อ.วังทอง
11 , 2013 อ. นครไทย
อ. ด่านซ้ าย
2113
อ. นาแห้ ว
ระยะทาง
จากจุดตรวจ
ที่แล้ ว
ระยะทาง
จากจุด
เริ่ มต้ น
เวลา
ออก / ถึง
0
40
45
35
15
65
50
25
0
40
85
120
135
200
250
275
0930
1018
1112
1154
1312
1430
1530
1600
หมายเหตุ
จุดเริ่ มต้ น ( SP.)
พัก 15 นาทีที่ กม. 50
พักรับประทานอาหาร 1
ชม. ที่ กม. 125
พัก 10 นาทีที่ กม. 225
จุดแยกขบวน ( RP. )
อัตราความเร็ว
ความเร็วสูงสุด
ตัวคูณความเร็ว
50 กม. / ชม.
70 กม. / ชม
2.
วิธีลงรำยละเอียดตำรำงนำขบวน
1.กรอกรายการจุดตรวจ ( สถานที่ ) ทุกรายการลงไปทังหมด
้
2.ในช่องถนนให้ ดวู ่า จากจุดตรวจใช้ ถนนอะไร จะใช้ ชื่อหรื อหมายเลขถนนก็ได้
3.กรอกระยะทางจากจุดตรวจที่แล้ วถึงจุดตรวจถัดไป ( จุดตรวจแรกต้ องเป็ น 0 เสมอ )
4.กรอกระยะทางจากจุดตรวจเริ่ มต้ นถึงจุดตรวจปั จจุบนั
5.ลงเวลาออกเดินทางที่จดุ ตรวจแรก ( จุดตรวจแรก นครสวรรค์ เวลาออกเดินทาง 0930 น. )
6. คานวณหาระยะทางเป็ นเวลา สามารถทาได้ 2 วิธี
- หาระยะทางเป็ นเวลาจากจุดตรวจที่แล้ วถึงจุดตรวจปั จจุบนั ( จุดตรวจแต่ละช่วง )
แล้ วนาไปรวมกับเวลาถึงจากจุดตรวจที่แล้ ว
นครสวรรค์
อ. โพนทะเล
อ. สำมงำม
พิษณุโลก
อ. โพนทะเล ระยะทาง 40 กม. ออกจากนครสวรรค์ เวลา 0930 น.
40 X  60
ระยะทางเป็ นเวลา
=
= 48 นาที
50
ถึง อ. โพนทะเลเวลา = 0930 + 48 นาที = 1018 น.
- อ. สำมงำม
ระยะทาง 45 กม.
45 X
ระยะทางเป็ นเวลา
=
60 = 54 นาที
50
ถึง อ. สามงามเวลา = 1018 + 54 นาที = 1112 น.
- พิษณุโลก
ระยะทาง 35 กม.
35 X
ระยะทางเป็ นเวลา
=
60 = 42 นาที
50
ถึง พิษณุโลกเวลา
= 1112 + 42 นาที = 1154 น.
- อ. วังทอง
ระยะทาง 15 กม.
15 X
ระยะทางเป็ นเวลา
=
60 = 18 นาที
50
ถึง อ. วังทอง
= 1154 + 18 นาที = 1212 น.
-
พักรั บประทำนอำหำร 1 าม.
ระหว่างทางต้ องพักรับประทานอาหาร 1 ชม. ที่เวลา 1200 น.
จะต้ องถึง อ. วังทอง เวลา
= 1212 + 1 ชม. = 1312 น.
อ. วังทอง
-
อ. นครไทย
-
อ. ด่ ำนซ้ ำย
-
อ. นครไทย
ระยะทางเป็ นเวลา
ถึง อ. นครไทย
อ. ด่ ำนซ้ ำย
ระยะทางเป็ นเวลา
ถึง อ. ด่านซ้ าย
อ. นำแห้ ว
ระยะทางเป็ นเวลา
ถึง อ. นาแห้ ว
ระยะทาง 65 กม.
= 6550 X 60 = 78 นาที = 1 ชม. 18 นาที
= 1312 + 1 ชม. 18 นาที = 1430 น.
ระยะทาง 50 กม.
= 5050 X 60 = 60 นาที = 1 ชม.
= 1430 + 1 ชม. = 1530 น.
ระยะทาง 25 กม.
= 2550 X 60 = 30 นาที
= 1530 + 30 นาที = 1600 น.
หาระยะทางเป็ นเวลาจากจุดเริ่ มต้ นถึงจุดตรวจปั จจุบนั แล้ วนาไปรวมกับเวลาออกจากจุดเริ่ มต้ น ( 0930 น. )
นครสวรรค์ - อ. โพนทะเล ระยะทาง 40 กม. ออกจากนครสวรรค์ เวลา 0930 น.
ระยะทางเป็ นเวลา
= 4050 X 60 = 48 นาที
ถึง อ. โพนทะเลเวลา = 0930 + 48 นาที = 1018 น.
นครสวรรค์
- อ. สำมงำม
ระยะทาง 85 กม.
ระยะทางเป็ นเวลา
= 8550 X 60 = 102 นาที = 1 ชม. 42 นาที
ถึง อ. สามงามเวลา = 0930 + 1 ชม. 42 นาที = 1112 น.
นครสวรรค์
- พิษณุโลก
ระยะทาง 120 กม.
ระยะทางเป็ นเวลา
= 120 X 60 = 144 นาที = 2 ชม. 24 นาที
50
ถึง พิษณุโลกเวลา
= 0930 + 2 ชม. 24 นาที = 1154 น.
นครสวรรค์
- อ. วังทอง
ระยะทาง 135 กม.
135 X
ระยะทางเป็ นเวลา
=
60 = 162 นาที = 2 ชม. 42 นาที
50
ถึง อ. วังทอง
= 0930 + 2 ชม. 42 นาที = 1212 น
พักรั บประทำนอำหำร 1 าม.
ระหว่างทางต้ องพักรับประทานอาหาร 1 ชม. ที่เวลา 1200 น.
จะต้ องถึง อ. วังทอง เวลา
= 1212 + 1 ชม. = 1312 น.
นครสวรรค์
- อ. นครไทย
ระยะทาง 200 กม.
200 X 60
ระยะทางเป็ นเวลา =
= 240 นาที = 4 ชม.
50
ถึง อ. นครไทย
= 0930 + 4 ชม. + 1 ชม. (รับประทานอาหาร) = 1430 น.
นครสวรรค์
- อ. ด่ ำนซ้ ำย
ระยะทาง 250 กม.
250 X
ระยะทางเป็ นเวลา =
60 = 300 นาที = 5 ชม.
50
ถึง อ. ด่านซ้ าย
= 0930 + 5 ชม. + 1 ชม. (รับประทานอาหาร) = 1530 น.
นครสวรรค์
- อ. นำแห้ ว
ระยะทาง 275 กม.
275 X 60
ระยะทางเป็ นเวลา =
= 330 นาที = 5 ชม. 30 นาที
50
ถึง อ. นาแห้ ว
= 0930 + 5 ชม. 30 นาที + 1 ชม. ( รับประทานอาหาร) = 1600 น.
7. การกรอกรายการช่องหมายเหตุ
 จุดตรวจแรกจะต้ องเป็ นจุดเริ่ มต้ น ( SP. นครสวรรค์ )
 จุดตรวจสุดท้ ายจะต้ องเป็ นจุดแยกขบวน ( RP. อ. นาแห้ ว )
 การพักประจา ชม. ให้ รวมอยู่ในเวลาการเดินทาง แต่ต้องระบุว่าพักที่ใด
 ชม. แรกพัก 15 นาที ที่ กม. 50
 พัก 10 นาที ทุก 2 ชม. ที่ กม. 225 ( 1500 น. หลังรับประทานอาหาร เวลา 1200 – 1300 น. )
การพักรับประทานอาหาร 1 ชม. ไม่รวมอยู่ในเวลาการเดินทางต้ องระบุว่าพักที่ใด
 ออกจาก SP. เวลา 0930 น. พักรับประทานอาหาร เวลา 1200 น.
•ใช้ ระยะเวลาเดินทาง = 1200 - 0930 = 2 ชม. 30 นาที หรื อ 2.5 ชม.
 ระยะทาง
=
อัตราความเร็ว x เวลา
=
50 x 2.5 = 125
 พักรับประทานอาหาร 1 ชม. ที่ กม. 125
8.ลงอัตราความเร็วที่ขบวนใช้ เดินทาง
9.ลงความเร็วสูงสุด
10.ลงตัวคูณความเร็ว
ข่ ำยเรขำกำรเคลื่อนย้ ำย
( Road Movement Graph )
คือ ผังกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลา กับระยะทางของแต่ละขบวนการเคลื่อนย้ าย
ใช้ ในการวางแผน ตรวจสอบ และควบคุม การใช้ เส้ นทางเพื่อแสดงให้ เห็นภาพของ
การเคลื่อนย้ ายในเส้ นทางนัน้ ๆ ก่อนที่ความคับคัง่ จะเกิดขึ ้นบนเส้ นทาง
โดยปกติข่ายเรขาการเคลื่อนย้ ายจะไม่แจกจ่ายถึงหน่วยรอง เป็ นการปฏิบตั ิทางเอกสาร
รายการกาหนดต่าง ๆ ปกติจะลงไว้ ในตารางการเคลื่อนย้ าย
70
60
ขบวนเคลือ่ นทีท่ างข้าง
50
เส้นหัวขบวน
40
เส้นท้ายขบวน
( ระยะทาง )
30
20
10
0
0600
0700
0800
0900
1000
1100
1200
1300
1400
( เวลา )
แสดงข่ายเรขาการเคลือ่ นย้ายบนเส้นทาง
1500
1600
1700
1800
ประโยาน์ ของข่ ำยเรขำกำรเคลื่อนย้ ำย
เป็ นเครื่ องมือสำคัญของ ผบ. และ ฝอ.ในกำรวำงแผนกำรเคลื่อนย้ ำย ทำให้
ทรำบถึงควำมสัมพันธ์ ระหว่ ำงระยะทำง เวลำ และอัตรำควำมเร็วของขบวนนั บ
ตัง้ แต่ หัวขบวนเริ่มออกเดินทำง ณ สถำนที่ต่ำง ๆ ที่ขบวนเดินทำงไปถึงตลอด
ระยะทำง รวมทัง้ ทรำบถึงตำแหน่ งต่ ำง ๆ ของกำรจรำจรบนเส้ นทำง
ส่ วนประกอบของขบวนที่ถงึ หรื อผ่ ำนพ้ นตำบลต่ ำง ๆ อุปสรรคที่อำจเกิดขึน้ ณ
าุมทำงสี่แยก สะพำน หรื อทำงแคบต่ ำง ๆ กำรเปลี่ยนแปลงอัตรำควำมเร็ว
กำรกลับทิศทำงกำรเดินทำง ( เดินทำงกลับ ) จำกปลำยทำง ในห้ วงเวลำใด
เวลำหนึ่ง
อัตราส่วน : 1 : 4 กม.
1 : 12 นาที
CP 5
40 กม.
CP 4
140
B
120
R2
เส้นหัวขบวน
เส้นท้ายขบวน
100
C
1500 - 1600
R1
40 กม.
CP 3
80
1100 - 1200
D
A
60
อ = 20 กม. / ชม.
36 กม.
40
อ = 30 กม. / ชม.
CP 2
24 กม.
CP 1
อ = 20 กม. / ชม.
20
0
0700
0800
0900
1000
1100
1200
1300
1400
1500
1600
การสร้างข่ายเรขาการเคลือ่ นย้ายบนเส้นทาง
1700
1800
กำรสร้ ำงข่ ำยเรขำกำรเคลื่อนย้ ำย
ตอนที่ 1 เลือกกระดาษข่ายเรขา ฯ ซึง่ มีจานวนตารางเพียงพอ ที่จะกาหนดระยะทาง และเวลาที่สมั พันธ์
กับการปฏิบตั ิการเคลื่อนย้ ายของขบวน โดยกาหนดให้ เส้ นแนวตังเป็
้ นเส้ นแทนค่า ระยะทำง
ส่วนเส้ นแนวนอนเป็ นเส้ นแทนค่า เวลำ
ตอนที่ 2 พิจารณาเส้ นทางบนแผนที่ ลงรายการตาบลสาคัญ ๆ ไว้ เช่น ชื่อเมือง ตาบลคับขัน สี่แยก
ทางแคบ สะพาน ฯลฯ ตามทางที่ผ่านไป และบอกระยะทางตามตาบลสาคัญไว้ ตลอดเส้ นทาง
โดยการลากเส้ นตรงด้ านซ้ ายของตารางให้ ขนานไปกับแนวตังแล้
้ วลงรายละเอียดดังกล่าวให้ สมั พันธ์
กับระยะทางที่กาหนดในตารางข่ายเรขา ฯ ที่แบ่งไว้ แล้ วด้ านขวา แต่ละข่ายเรขา ฯ จะใช้ สาหรับแต่ละเส้ นทาง
ตอนที่ 3 กาหนดสิ่งกีดขวาง เช่น มีขบวนรถไฟตัดผ่าน ขบวนยานยนต์ ขบวนเดินเท้ า หรื อซ่อมสะพาน
ถนนต่าง ๆ เกิดขึ ้นเวลาใดถึงเวลาใด จะต้ องกาหนดไว้ ในข่ายเรขา ฯ ก่อนเสมอ ทังนี
้ ้เพื่อหลีกเลี่ยงการ
พบสิ่งกีดขวางเหล่านัน้ อาจจะต้ องกาหนดเวลา ออก – ถึงใหม่ให้ กบั ขบวนต่าง ๆ หรื อเปลี่ยนแปลง
อัตราความเร็วใหม่ ทังนี
้ ้จะต้ องพิจารณาว่าจะมีผลกระทบต่อขบวนอื่นด้ วยหรื อไม่ หากมีผลเกิดขึ ้น
ก็ต้องพิจารณาแก้ ไขเป็ นราย ๆไป ( สิ่งกีดขวางอยู่ที่ R 1 ในระหว่างเวลา 1100 – 1200 กม.ที่ 84
และ R 2 ระหว่าเวลา 1500 – 1600 กม. ที่ 112 )
ตอนที่ 4 จะต้ องนาข้ อมูลรายละเอียดของตารางการนาขบวนแต่ละขบวนที่จะใช้ เส้ นทางเดียวกัน
มาลงในข่ายเรขา ฯ
กำหนดตำแหน่ งของ ขบวน ตอน หรือหน่ วยกำรเคลื่อนที่ลงในข่ ำยเรขำ ฯ
โดยกาหนดจุดหัวขบวนเป็ นจุดเริ่ มต้ นตามเส้ นแนวตังโดยให้
้
ตรงกับเวลาเริ่ มต้ นตามเส้ นแนวนอน
แล้ วหาเวลาผ่านพ้ นของขบวน ( TL ) เป็ นจุดท้ ายขบวน ลากเส้ นตรงเชื่อมจุดทังสอง
้
เส้ นนี ้จะแสดงถึง
ขบวน ( ขบวน A หัวขบวนออกเวลา 0712 ที่ กม. 56 เวลาผ่านพ้ นของขบวน 60 นาที
ท้ ายขบวนจะผ่านพ้ นเวลา 0812 )
กำหนดตำแหน่ งกำรเคลื่อนที่ของขบวน
หัวขบวน B ออกเดินทางจาก CP 1 เวลา 0700 ใช้ เวลาเดินทาง 4 ชม. ถึง กม. ที่ 120 เวลา 1100
กาหนดจุดเดินทางของทังสองต
้
าแหน่งตามความสัมพันธ์ของเวลาและระยะทาง ลากเส้ นระหว่าง
จุดสองจุดนี ้ เส้ นที่เกิดขึ ้นใหม่จะเป็ นเส้ นทะแยง อันดับต่อไปกาหนดจุดท้ ายขบวนโดยการใช้
ความยาวของขบวนเป็ นเวลา ( TL ) ซึง่ เท่ากับ 48 นาที หมายถึง รถคันสุดท้ ายของขบวนจะออก
เดินทางจาก CP 1 เวลา 0748 ( 0700 + 48 นาที ) และเดินทางถึง กม.120
เวลา 1148 ( 1100 + 48 นาที ) ลากเส้ นระหว่างจุดทังสอง
้
จะเห็นว่าเส้ นที่เกิดขึ ้นนี ้จะขนานกับเส้ นแรก
ทังนี
้ ้มาจากสาเหตุที่หวั ขบวน และท้ ายขบวนใช้ อตั ราความเร็ วเดียวกัน
หัวขบวน C ออกเดินทางจาก CP 1 เวลา 0900 ถึง CP 4 ระยะทาง 100 กม.
ใช้ อตั ราความเร็ว 20 กม. / ชม. ใช้ เวลาเดินทาง 5 ชม. หัวขบวนจะถึง CP 4 เวลา 1400
กาหนดจุดทังสองและลากเส้
้
นตรงระหว่างจุด เส้ นนี ้จะใช้ แทนการเดินทางของรถคันแรก
กาหนดเส้ นแสดงการเดินทางของรถคันสุดท้ าย โดยการใช้ ความยาวของขบวนเป็ นเวลา ( TL )
ซึง่ เท่ากับ 36 นาที โดยรถคันสุดท้ ายของขบวนจะออกเดินทางจาก CP 1
เวลา 0936 ( 0900 + 36 นาที ) และ ถึง CP 4 เวลา 1436 ( 1400 + 36 นาที )
กาหนดจุดและลากเส้ นตรงแสดงการเดินทางของรถคันสุดท้ าย ซึง่ ก็จะขนานกับเส้ นแรกเช่นเดียวกัน
จะสังเกตว่าขบวนนีจ้ ะมีเส้นทางการเคลือ่ นทีข่ องขบวนเป็ นแนวนอนลาดลงกว่าขบวน B
ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากขบวน C ใช้อตั ราความเร็ วช้ากว่าขบวน B
ขบวน D แสดงการเดินทางกลับของขบวน สามารถทราบได้ จากการลาดเอียงของเส้ นแสดงการเดินทาง
จากรูป ขบวนออกเดินทางจาก CP 3 เวลา 1400 ด้ วยอัตราความเร็ ว 20 กม. / ชม.
เนื่องจากขบวนนี ้มีความยาวเป็ นเวลา ( TL ) 48 นาที ดังนันรถคั
้ นสุดท้ ายจะออกเดินทางจาก CP 3
เวลา 1448 รถคันแรกถึง CP 1 เวลา 1700 และรถคันสุดท้ ายถึง CP 1 เวลา 1748
สังเกตว่าขบวนนีจ้ ะมีเส้นทางการเคลือ่ นทีข่ องขบวนจะมีความลาดเอียงกลับกันกับการเดิ นทางไป
CP 5
40 กม.
CP 4
40 กม.
CP 3
140
อัตราส่วน : 1 : 4 กม.
1 : 12 นาที
120
100
พักบนเส้นทาง
อ = 20 กม. / ชม.
80
60
A
36 กม.
B
พักนอกเส้นทาง
40
อ = 30 กม. / ชม.
CP 2
24 กม.
CP 1
อ = 20 กม. / ชม.
20
0
0900
1000
1100
1200
1300
1400
1500
1600
1700
1800
แสดงการพักขบวนบนข่ายเรขาการเคลือ่ นย้าย
1900
2000
กำรพักขบวน
ในระหว่างการเดินทาง หากมีการพักขบวนเป็ นเวลานาน ๆ เพื่อรับประทานอาหาร หรื อ
รออุปสรรคให้ ผ่านพ้ น การพักขบวนจะกระทาได้ 2 วิธี คือ
1.การพักขบวนบนเส้ นทาง
2.การพักขบวนนอกเส้ นทาง
กำรพักขบวนบนเส้ นทำง เมื่อถึงกาหนดเวลาพัก รถทุกคันจะจอดพักทันทีพร้ อม ๆ กันบนเส้ นทาง
ซึง่ ขบวนจะครอบคลุมระยะทางบนถนนทาให้ เกิดความยาวของขบวนบนถนน ( RS )
เมื่อถึงเวลาออกเดินทางตามกาหนด รถทุกคันจะออกเดินทางพร้ อม ๆ กันต่อไปยังปลายทาง
จากรูป ขบวน A มีการพักรับประทานอาหารกลางวัน ระหว่างเวลา 1200 – 1300
เป็ นการพักบนเส้ นทางในเวลา 1200 หัวขบวน A จะพักรับประทานอาหาร กม. ที่ 60
ขณะเดียวกันท้ ายขบวนจะพักรับประทานอาหาร กม. ที่ 40 และในเวลา 1300
หัวขบวนและท้ ายขบวนจะเริ่ มออกเดินทางต่อไป
กำรพักขบวนนอกเส้ นทำง เมื่อถึงกาหนดเวลาพัก รถคันแรกจะเลี ้ยวลงไปพักยัง
พื ้นที่ข้างทางที่เหมาะสมและกว้ างขวางเพียงพอที่จะรับจานวนรถทังขบวน
้
รถคันต่อไป
จะทยอยตามไปพักรวมกันในบริเวณพื ้นที่เดียวกัน และจะพักไปจนถึงเวลาที่กาหนด
ออกเดินทาง รถคันแรกจะเริ่มออกเดินทาง รถคันต่อไปจะทยอยกันออกเดินทางจนถึง
รถคันสุดท้ าย ดังนัน้ ณ ตาบลนี ้จะเกิดความยาวของขบวนเป็ นเวลา ( TL )
จากรูป ขบวน B มีการพักรอสิง่ กีดขวางให้ ผ่านพ้ น เวลา 1500 กม.ที่ 60 และ
ในเวลา 1700 รถคันแรกเริ่มออกเดินทาง ส่วนรถคันสุดท้ ายจะออกเดินทางเวลา 1800
กำรวิเครำะห์ ข่ำยเรขำ ฯ
อัตราส่วน : 1 : 4 กม.
1 : 12 นาที
CP 5
40 กม.
CP 4
40 กม.
CP 3
140
120
ความยาว
ของขบวน
100
B
80
60
A
36 กม.
B
ความยาวของ
ขบวนเป็ นเวลา
40
CP 2
24 กม.
CP 1
20
0
อ = 20 กม. / ชม.
0900
1000
1100
1200
1300
1400
1500
1600
1700
1800
1900
2000
กำรวิเครำะห์ ข่ำยเรขำ ฯ
ความยาว ความยาวเป็ นเวลา อัตราความเร็ว และตัวสัมพันธ์อื่น ๆ สามารถพิจารณาได้ จาก
ข่ายเรขา ฯที่เรี ยบร้ อยแล้ ว ดังนี ้
1. ความยาวของขบวน เส้ นดิ่งที่เชื่อมระหว่างเส้ นหัวขบวน และเส้ นท้ ายขบวนมีหน่วยวัดเป็ น กม.
จะแสดงความยาวของขบวนบนถนนตามอัตราความเร็ วที่ได้ กาหนดไว้ ณ ชม. ใด ๆ ในระหว่างการเคลื่อนย้ าย
จากรูป ขบวน A เมื่อหัวขบวนอยู่ กม. ที่ 80 บนแกนตัง้ ท้ ายขบวนจะอยู่ CP 3 กม. ที่ 60
ดังนันขบวนจะมี
้
ความยาว 20 กม.
2. ความยาวเป็ นเวลา เส้ นระดับที่เชื่อมหัวและเส้ นท้ ายเข้ าด้ วยกัน มีหน่วยวัดเป็ นเวลา จะแสดงให้ ทราบ
ถึงความยาวของขบวนเป็ นเวลาเมื่อผ่านจุดใด ๆ บนเส้ นทาง จากรูปข้ างบน ขบวน B หัวขบวนมาถึง
CP 2 กม. ที่ 24 เวลา 1400 ท้ ายขบวนจะไม่ผ่านจุดนี ้ จนกระทัง่ อีก 1 ชม. ต่อมา เวลา 1500
ท้ ายขบวนจึงผ่าน CP 2 ดังนันขบวนจะมี
้
ความยาวเป็ นเวลา 1 ชม.
3. อัตราความเร็ว เส้ นขนานของข่ายเรขาจะบอกให้ ทราบถึงอัตราความเร็ วของการเคลื่อนที่ของขบวน
จากรูป ขบวน A ระยะทาง ระหว่างจุดตัดของเส้ นขนานด้ วยเส้ นดิ่งสองเส้ นใด ๆ จะแทนจานวน
กม. ต่อ ชม. นัน้
4. ตัวร่วมอื่น ๆ ระยะทางบนถนน ระยะทางเป็ นเวลา ฯลฯ อาจหาได้ จากข่ายเรขา เช่นเดียวกัน
ตัวอย่ ำงกำรทำข่ ำยเรขำกำรเคลื่อนย้ ำย
สถำนกำรณ์ เฉพำะ
ขบวนรถ 180 คัน ประกอบด้ วย 9 หน่วยการเคลื่อนที่ แต่ละหน่วยการเคลื่อนที่ มีระยะต่อเป็ นเวลา
1 นาที เดินทางด้ วยอัตราความเร็ ว 30 กม. / ชม. ความเร็วสูงสุดไม่เกิน 45 กม. / ชม. เดินทางจาก
รร.ขส. ฯ ไปปฏิบตั ิภารกิจที่ จว. สุพรรณบุรี โดยใช้ เส้ นทาง ตามผนวก ก. ออกเดินทางเวลา 0700
หยุดพักรับประทานอาหารกลางวัน 1 ชม. ระหว่างเวลา 1200 – 1300 ให้ ขบวนพักนอกเส้ นทาง
เพื่อมิให้ กีดขวางการจราจร แล้ วจึงเดินทางต่อจนถึง ค่ายบางระจัน ให้ ขบวนหยุดบนไหล่ถนนเพื่อ
ปรับขบวน 24 นาที แล้ วจึงเดินทางต่อไปจนถึงตาบลแยกขบวน ความหนาแน่น 12 คัน / กม.
14 กม.
ค่ายบางระจัน
ลาดหญ้า
สิงห์บุร ี
32 กม.
30 กม.
17 กม.
กาญจนบุร ี
ศรีประจันต์
14 กม.
24 กม.
RP.
25 กม.
พนมทวน
อู่ทอง
สุพรรณบุร ี
ลพบุร ี
42 กม.
สระบุร ี
33 กม.
14 กม.
ผนวก ก.
แผนทีเ่ ส้นทาง
หินกอง
28 กม.
46 กม.
0700 น.
รร.ขส. ฯ
SP.
วังน้อย
24 กม.
ดอนเมือง
1.ขบวนนีม้ ีควำมยำวเป็ นเวลำ ( TL ) เท่ ำใด
2.ขบวนนีม้ ีควำมยำวครอบคุมถนน ( RS ) เท่ ำใด
3.ขบวนนีอ้ อกจำกค่ ำยบำงระจัน เวลำอะไร
4.เวลำที่เสร็จสิน้ ภำรกิจ ( เวลำผ่ ำนพ้ น ) เวลำอะไร
5.ทำข่ ำยเรขำกำรเคลื่อนย้ ำยของขบวนนี ้
1.หาความยาวของขบวนเป็ นเวลา ( TL )
TL
=
=
จานวนรถ
ความหนาแน่น
X
60 + ระยะต่อเป็ นเวลา
R
X 60
+8
180
12
30
= 38 นาที
2. หาความยาวของขบวน
จานวนรถ
ระยะต่อเป็ นเวลา X R
RS
=
X
ความหนาแน่น
60
180
8 X 30
=
X
12
60
=
19 กม.
3. ขบวนออกจำกค่ ำยบำงระจันเวลำอะไร
หยุดพักรับประทำนอำหำรกลำงวัน หลัก กม. ที่
5 X 30 X 150
กม.
จำกจุดพักรับประทำนอำหำร ถึงค่ ำยบำงระจัน ระยะทำง 98 ถึง 150 = 48
กม.
ใา้ เวลำเดินทำง
48 X 60
= 1 าม. 36 นำที
30
ขบวนถึงค่ ำยบำงระจันเวลำ
1300 + 1 าม. 36 นำที = 1436
หยุดพักปรับขบวน 24 นำที จะออกจำกค่ ำยบำงระจันเวลำ 1436 + 24 นำที = 1500
4. หำเวลำเสร็จสิน้ ภำรกิจ
ออกจำกค่ ำยบำงระจันเวลำ
เหลือระยะทำงที่จะต้ องเดินทำงต่ อไปยังสุพรรณบุรีอีก
ใา้ เวลำเดินทำง
46 X 60 = 1
ถึงสุพรรณบุรี เวลำ
เสร็จสิน้ ภำรกิจ ( ผ่ ำนพ้ นสุพรรณบุรี )
1500
46
กม.
าม. 32 นำที
30
1500 + 1 าม. 32 นำที = 1632
เวลำ 1632 + 38 นำที = 1710
5. แสดงข่ายเรขาการเคลื่อนย้ายของขบวนนี้
อัตราส่วน : 1 : 8 กม.
1 : 12 นาที
280
สุพรรณบุร ี
240
46 กม.
ค่ายบางระจัน
200
44 กม.
ลพบุร ี
160
84 กม.
120
วังน้อย
80
70 กม.
40
รร.ขส. ฯ
0
0700
0800
0900
1000
1100
1200
1300
1400
1500
1600
1700
1800
สรุ ป
ข่ายเรขา ฯ เป็ นเครื่ องมือสาคัญของผู้บงั คับบัญชา และฝ่ ายอานวยการใน
การวางแผนการเคลื่อนย้ ายขบวนลาเลียงจากตาบลเริ่มต้ นไปยังปลายทาง
นอกจากนี ้ยังช่วยให้ การควบคุมขบวนลาเลียงให้ เป็ นไปตามแผนการ
เคลื่อนย้ ายอย่างราบรื่ นอีกด้ วย อย่างไรก็ตาม ข่ายเรขา ฯ หนึ่งก็มีข้อจากัด
ให้ ใช้ เฉพาะเส้ นทางหนึง่ เท่านัน้ และจะต้ องกากับดูแลการปฏิบตั ิของขบวน
ลาเลียงให้ เป็ นไปตามกาหนดในข่ายเรขา ฯ ตลอดเวลา มิฉะนันเมื
้ ่อเกิดการ
เปลี่ยนแปลงของขบวนใดขบวนหนึง่ อาจส่งผลกระทบต่อขบวนอื่น ๆ ได้ ใน
ภายหลัง