การสร้างความรู้จากงานที่ปฏิบัติ - สำนัก ส่งเสริม และ พัฒนา การเกษตร เขต ที่

Download Report

Transcript การสร้างความรู้จากงานที่ปฏิบัติ - สำนัก ส่งเสริม และ พัฒนา การเกษตร เขต ที่

การสร้ างความร้ ู จากงานที่ปฏิบัติ
เวทีสัมมนาเชิงปฏิบัติการระดับเขต ภาคกลาง
วันที่ 15 สิงหาคม 2555
ระบบส่ งเสริมการเกษตร
กระบวนการทางานส่ งเสริมการเกษตร
จาก Resource
Based
Knowledge Based
งานสาเร็จ/บรรลุเป้าหมาย
ปัญหา
วิจ ัย
ความรู ้
KM
การสร้ างความร้ ู ๒ แนว
ความ
สาเร็จ
ความร้ ู
ความสาเร็จ
การถอดบทเรียน
EK
 มีมาก
 ไม่ ได้ สรุ ปสังเคราะห์ และนาเสนอ
ปั ญหา
R2R
EK
 ทาแก้
 ไม่ ได้ สรุ ปสังเคราะห์ และนาเสนอ
การถอดบทเรียน
การถอดบทเรี ยน
องค์ ประกอบหนึ่งของการจัดการความรู้ มีวัตถุประสงค์
เพื่อสืบค้ นความรู้ จากการปฏิบัตงิ านโดยการสกัดความรู้และ
ประสบการณ์ ท่ ฝี ั งลึกจากกลุ่มเป้าหมายที่ได้ ร่วมปฏิบัตงิ านและ
บันทึกรายละเอียดขัน้ ตอนการปฏิบัตงิ าน ผลการปฏิบัตงิ าน
และความรู้ ใหม่ ๆ ที่เกิดขึน้ ระหว่ างการปฏิบัตงิ าน ทัง้ ที่สาเร็จ
หรื อล้ มเหลวจากการปฏิบัตงิ าน เพื่อเป็ นแนวทางในการ
ปรั บปรุ งการปฏิบัตงิ านและสามารถเผยแพร่ ศึกษาเรี ยนรู้ ได้
เน้ นการพูดคุย สัมภาษณ์ เล่ าเรื่ อง สังเคราะห์ จับประเด็น
ให้ ได้ กระบวนการวิธีดาเนินงานในเชิงบทเรี ยนหรื อ
ประสบการณ์ ท่ ผี ่ านมา
ความหมาย
• ถอด - เอาออก หลุดออก
• บทเรี ยน - บทสรุ ปที่อธิบายผลการทางานตาม
เป้าหมายที่กาหนดไว้ และปั จจัยเงื่อนไขสาคัญที่ทาให้
เกิดผลเช่ นนัน้
• การถอดบทเรี ยน - กระบวนการดึงความรู้ จากการ
ทางานด้ วยการอธิบายปรากฏการณ์ ท่ เี กิดขึน้ ระหว่ าง
ทางาน และปั จจัยที่เกี่ยวข้ อง เพื่อให้ ผ้ ูสนใจนาไปปรั บ
ใช้ ให้ เหมาะสมกับบริบทของตนเอง ในการพัฒนาให้
งานดีขนึ ้ กว่ าเดิม
7
การถอดบทเรียนเป็น “เครือ
่ งมือ” ในการ
ผลิตความรู ้
• ค้นหา ความรูจ
้ ากการปฏิบ ัติ
• สร้าง ความรูจ
้ ากการปฏิบ ัติ
• ใช ้ ความรูจ
้ ากการปฏิบ ัติครงก่
ั้ อนเพือ
่ การปฏิบ ัติซา้
• ปร ับปรุง พ ัฒนาความรู ้ เพือ
่ การปฏิบ ัติครงต่
ั้ อไป
ั ันธ์ทด
• ห ัวใจ คือแลกเปลีย
่ นเรียนรูส
้ ร้างความสมพ
ี่ ี
ระหว่างคนทางาน
8
ประโยชน์จากการถอดบทเรียน
ื่ /
สอ
ชุดความรู ้
• พ ัฒนางาน
• เผยแพร่
ผูร้ ว่ ม
กระบวนการ
ถอดบทเรียน
• เรียนรูร้ ว่ มก ัน
• ทางานเป็นทีม
• ปร ับวิธค
ี ด
ิ /วิธท
ี างานที่
สร้างสรรค์
9
รูปแบบการถอดบทเรี ยน
1. การเรี ยนรู้ จากเพื่อน ( Peer Assist)
2. การเรี ยนรู้ หลังการปฏิบัติ ( After Action
Review: AAR)
3. การเรี ยนรู้ หลังการดาเนินงาน (Retrospect)
4. การเล่ าเรื่ อง ( Story Telling)
5. การเรี ยนรู้ จากวิธีการปฏิบัตทิ ่ ี
เป็ นเลิศ (Best Practice)
Best practice
วิธีการปฏิบัตทิ ่ ดี ีเลิศ ซึ่งเป็ นองค์ ความรู้ ท่ เี กิดจากการ
ลงมือทา หรื อปฏิบัตจิ ริง สามารถแก้ ปัญหาที่ประสบ
มาแล้ ว ทาให้ เกิดผลสาเร็จที่เป็ นเลิศ และเป็ นแบบอย่ าง
หรื อแนวทางแก้ ปัญหาให้ กับบุคคลอื่นๆ ที่จะต้ อง
ดาเนินการในลักษณะเดียวกันได้ (ประยุกต์ ใช้ ให้ เหมาะสม
กับองค์ กรของตน)
ทาไมต้องทา Best practice
• เกิดปั ญหาจากการทางาน และต้ องการหา
คาตอบ สร้ างความชัดเจน และเพิ่ม
ประสิทธิภาพของงาน
• ค้ นหาตัวอย่ าง ต้ นแบบที่ดเี ป็ นข้ อมูลใน
การเปรียบเทียบ
• ค้ นหาแนวทางปฏิบตั ทิ ่ ถี ูกต้ องที่ดี
• ให้ เกิดการพัฒนางาน
ประโยชน์ ท่ ไี ด้ รับจาก Best practices
• มีตวั อย่ าง ต้ นแบบ แนวทางปฏิบัตทิ ่ ดี ี ถูกต้ องต่ อ
การพัฒนางาน
• เพิ่มประสิทธิภาพของการทางาน
• ลดเวลา ขัน้ ตอน ค่ าใช้ จ่าย ในการปรับปรุ ง
ประสิทธิภาพการทางาน
• สร้ างฐานข้ อมูลที่เป็ นประโยชน์ ต่อการเปรียบเทียบ
ผลงานกับองค์ กรอื่น
• ใช้ ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
เกณฑ์ พจิ ารณา Best practices
1. สอดคล้ องกับความคาดหวัง ของหน่ วยงาน
ชุมชน ผู้เกี่ยวข้ อง
2. เป็ นสิ่งที่ปฏิบัติได้ จริงและเห็นผลแล้ ว
3. ไม่ ใช่ แนวคิดทฤษฎีเท่ านัน้
4. เป็ น นวัตกรรม หรือบทเรียนที่มีคุณค่ าแก่
การเรียนรู้
ขนตอนการถอดบทเรี
ั้
ยนทีด
่ ห
ี รือวิธป
ี ฏิบ ัติทเี่ ป็นเลิศ
(Best Practice)
ค้นหาโจทย์
ถอดบทเรียน
ทีด
่ /
ี เป็นเลิศ
ความรู ้
นาไปปฏิบ ัติ
สรุปผล
การถอด
บทเรียน
กาหนด
ประเด็น
ถอด
บทเรียน
วิเคราะห์/
ั
สงเคราะห์
จ ัดเก็บ
ข้อมูล
เขียนผล
้ งต้น
เบือ
15
เครือ
่ งมือ
ถอดบทเรียน
ข้อมูลมือสอง
ั
การสมภาษณ์
ความรู/
้
ทฤษฏี
ั
การสงเกต
17
ข้อมูลมือสอง
• ค้ นคว้ าข้ อมูลมือสองจากเอกสารต่ างๆที่เกี่ยวข้ อง
• ประโยชน์
- ทราบบริบทของพืน้ ที่ เพื่อใช้ เป็ นประกอบการ
วิเคราะห์ และสรุ ปผลการถอดบทเรียน
- เพื่อใช้ เป็ นแนวทางในการตัง้ คาถาม
- สามารถย่ นระยะเวลาในการสัมภาษณ์
18
ความรู/
้ ทฤษฎี
• ค้ นคว้ าหาความรู้ หรื อทฤษฎีในเรื่ องที่เกี่ยวข้ องกับสิ่งที่
เราจะถอดบทเรี ยน
• ประโยชน์
- เพื่อใช้ เป็ นแนวทางในการตัง้ คาถาม
- เพื่อช่ วยให้ เข้ าใจเรื่ องที่เราถอดบทเรี ยนได้ รวดเร็วขึน้
- เพื่อใช้ เป็ นประกอบการวิเคราะห์ และสรุ ปผลการถอด
บทเรี ยน
19
การตงค
ั้ าถาม
• ยึดว ัตถุประสงค์ของงานเป็นสาค ัญ? ว่ามีวต
ั ถุประสงค์
อะไร? อยากได ้คาตอบอะไร? อยากได ้บทเรียนเรือ
่ งอะไร? แล ้วนามา
ออกแบบโครงสร ้างคาถามคร่าวๆ ให ้ครอบคลุมประเด็นทีต
่ ้องการ
ถอดบทเรียน
• การตงค
ั้ าถาม/โจทย์การถอดบทเรียน ควรเป็ นประเด็น
ทีม
่ น
ี ัยสาคัญต่อความสาเร็จของงาน(strategic points) ไม่ควรถอด
บทเรียนทุกเรือ
่ ง
• การตงค
ั้ าถามทีด
่ ี ต ้องตัง้ คาถามอย่างเป็ นขัน
้ ตอน โดยเริม
่
จากสถานการณ์ทท
ี่ าให ้เรียนรู ้ถึงสภาพทีเ่ ป็ นอยู่ ต ้นเหตุของเหตุการณ์
หนึง่ ผู ้เกีย
่ วข ้องกับเหตุการณ์นัน
้ ๆ
ื่ มัน
• สรุป คือ สร ้างความเชอ
่ ในการตัง้ คาถาม เน ้นการ
แลกเปลีย
่ นเรียนรู ้ทีส
่ ร ้างสรรค์ การทีจ
่ ะถามให ้เป็ นต ้องเริม
่ จาก
ึ ษาข ้อมูลพืน
การศก
้ ฐานด ้วยความสนใจ ใฝ่ รู ้ และการเป็ นบุคคลเรียนรู
20 ้
ั
ต ัวอย่าง กรอบในการสมภาษณ์
การถอดบทเรียน การบริหารจ ัดการ
ั มะพร้าว (หนอนห ัวดา) อาเภอกุยบุร ี จ ังหว ัดประจวบคีรข
ศตรู
ี ันธ์
กรอบในการสัมภาษณ์
21
ั
การสมภาษณ์
ผใู ้ ห้ขอ
้ มูลสาค ัญ
(key informant Interview)
• คัดเลือกบุคคลที่ให้ข้อมูลที่เราต้องการ
• เป็ นผูร้ อบรู้ในเรื่องนัน้ ๆ อย่างแท้จริง
• ลักษณะแนวคาถาม เป็ นคาถามปลายเปิด
ใคร? ทาอะไร? ที่ไหน? เมื่อไร? ทาไม? อย่างไร?
5W1H
ั
การสมภาษณ์
แบบกลุม
่ / สนทนากลุม
่
(Focus Group)
• เป็ นการอภิปรายของคนที่ถกู เจาะจงเลือกมา 7-10 คน
• ผูเ้ ก็บข้อมูล จุดประเด็นให้เกิดการพูดคุย ถามความรูส้ ึก
นึ กคิดตามแนวคาถามที่ต้องการถอดบทเรียน
• ลักษณะแนวคาถาม เป็ นคาถามปลายเปิด
• คาถามต่อเนื่ อง
ใคร? ทาอะไร? ที่ไหน? เมื่อไร? ทาไม?อย่างไร?
5W1H
23
การสัมภาษณ์ ผ้ ูให้ ข้อมูลสาคัญ
การสัมภาษณ์ แบบสนทนากลุ่ม
ั
การสงเกต
 การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant Ob.)
การสังเกตภาคสนาม (Field Ob.)
– เข้าไปใช้ชีวิตกับกลุ่มคนที่ถกู ศึกษา
– ร่วมทากิจกรรมด้วยกัน
– พยายามให้คนในชุมชนยอมรับว่าผูส้ งั เกตมีสถานภาพ บทบาท
เช่นเดียวกับตน
กระบวนการ---สังเกต---ซักถาม --บันทึก
 การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-Participant Ob.)
– นักวิจยั สังเกตอยู่วงนอก
– ไม่เข้าไปร่วมในชีวิต/ กิจกรรม
ั
สงเกตอะไร
•การกระทา การใช้ชีวิต วิถีชีวิต
•ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล กลุ่ม
•การมีส่วนร่วมในกิจกรรม
•สภาพแวดล้อม
เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล
• ทาเป็นทีม
้ าถามกึง่ โครงสร้าง (ไม่ปิด
• ใชเ้ ทคนิคการเล่า ใชค
กนความคิ
ั้
ด) ถามในเชงิ ลึก ฟังเป็น จ ับประเด็นเป็น
• สร้างบรรยากาศให้ผเู ้ ล่า พร้อมปลดปล่อยประสบการณ์
่ ยในการบ ันทึก เชน
่ mind map
• ใชเ้ ครือ
่ งมือชว
ี ง กล้องถ่ายรูป
เครือ
่ งบ ันทึกเสย
เครือ
่ งมือในการบ ันทึกข้อมูล
กล้ องถ่ ายรู ป/VDO
สมุดบันทึก
เครื่ องบันทึกเสียง
Mind map
ต ัวอย่างงานถอดบทเรียน
30
ต ัวอย่างกระบวนการถอดบทเรียน :
ั มะพร้าว (หนอนห ัวดา)
“การบริหารจ ัดการศตรู
อ.กุยบุร ี จ.ประจวบคีรข
ี ันธ์”
ั มะพร้าว
โจทย์ : วิธก
ี ารบริหารจ ัดการศตรู
(หนอนห ัวดา) อ.กุยบุร ี จ.ประจวบคีรข
ี ันธ์
เป็นอย่างไร
ึ ษาวิธก
ว ัตถุประสงค์ : เพือ
่ ศก
ี าร
บริหารจ ัดการในการป้องก ันกาจ ัด
ั มะพร้าว(หนอนห ัวดา) อ.กุยบุร ี
ศตรู
จ.ประจวบคีรข
ี ันธ์
31
้ ารวิเคราะห์ขอ
ความรู/
้ ทฤษฎีทใี่ ชก
้ มูล
ความรูท
้ ใี่ ชใ้ นการวิเคราะห์การดาเนินงาน
่ เสริมการเกษตร
• บทบาทเจ้าหน้าทีส
่ ง
ทฤษฎีในการวิเคราะห์
• การจ ัดการความรู ้ เครือข่าย
กรอบการวิเคราะห์ยอ
้ นกล ับไปดู
ว ัตถุประสงค์การถอดบทเรียน
ั
ต ัวอย่าง กรอบในการสมภาษณ์
การถอดบทเรียน การบริหารจ ัดการ
ั มะพร้าว (หนอนห ัวดา) อาเภอกุยบุร ี จ ังหว ัดประจวบคีรข
ศตรู
ี ันธ์
กรอบในการสัมภาษณ์
33
ขนตอนกระบวนการถอดบทเรี
ั้
ยน
ขนตอน
ั้
การดาเนินงาน
ผลล ัพธ์
• การค ้นหาประเด็น
ถอดบทเรียนร่วมกับ
ผู ้เกีย
่ วข ้อง
• ประชุมร่วมกับเจ ้าหน ้าทีใ่ น
• แนวทางในการ
พืน
้ ทีเ่ พือ
่ รับทราบปั ญหาและ ถอดบทเรียน
สถานการณ์ทเี่ กิดในพืน
้ ที่ เพือ
่
กาหนดแนวทางในการ
ถอดบทเรียน
• ประเด็นในการ
ถอดบทเรียน
• จัดทาประเด็นในการถอด
• ประเด็นการถอดบทเรียน
บทเรียนโดยกาหนดหัวข ้อที่
ในพืน
้ ที่
ึ ษา ดังนี้
จะทาการศก
- ข ้อมูลพืน
้ ฐานของชุมชน
- สถานการณ์ตา่ งๆ ทีเ่ กิดขึน
้
• การจัดเก็บข ้อมูล
่
• ลงพืน
้ ทีจ
่ ัดเก็บข ้อมูลเชน
- การจัดเวทีพด
ู คุยกับ
ิ ชุมชน
สมาชก
- การประชุมกับเจ ้าหน ้าทีท
่ ี่
เกีย
่ วข ้อง
• ได ้ทราบข ้อมูลพืน
้ ฐาน
และวิธก
ี ารดาเนินการต่างๆ
34
ขนตอนกระบวนการถอดบทเรี
ั้
ยน
ขนตอน
ั้
การดาเนินงาน
ผลล ัพธ์
• การเขียนรายงาน
• แบ่งหัวข ้อรับผิดชอบในการ
เขียนรายงาน
• สง่ ให ้เจ ้าหน ้าทีท
่ รี่ ับผิดชอบ
ในพืน
้ ทีช
่ ว่ ยตรวจข ้อมูล และ
เพิม
่ เติมข ้อมูลทีย
่ ังไม่สมบูรณ์
• รายงานเบือ
้ งต ้นจากการ
ถอดบทเรียน
• การวิเคราะห์/
สงั เคราะห์/สรุปผลการ
ถอดบทเรียน
• ประชุมจัดทารายงานเพือ
่
ปรับปรุงข ้อมูลให ้มีความ
ถูกต ้องและเกิดความเข ้าใจที่
ตรงกัน
• ประชุมร่วมกับเจ ้าหน ้าทีเ่ พือ
่
ชว่ ยเพิม
่ เติมข ้อมูลและแก ้ไข
ประเด็นวิชาการ สรุป/
สงั เคราะห์ข ้อมูลทีไ่ ด ้จากการ
้
ถอดบทเรียนไปใชประโยชน์
• แก ้ไขรายงานให ้มีความ
สมบูรณ์
35
หลักการวิจัย
การวิจัย
หมายถึง กระบวนการ
ค้ นคว้ าหาความร้ ู ใหม่ ด้วยวิธีการที่
เป็ นระบบหรื อวิธีการที่ เชื่อถือได้
ใหม่ หมายถึงอะไร
หมายถึง การอภิปรายเชื่อมโยงกับองค์
ความรู้ท่ีเคยมีมา เช่น จากผลงานวิจัยใน
อดีต ทฤษฎี ที่มอี ยู่ ภูมปิ ั ญญาที่มีอยู่ลล้ว
เชื่อถือได้ หมายถึงอะไร
หมายถึง ข้อมูลที่ได้มาจาก
เครื่องมือวัดที่ได้ค่า Validity, Reliability ลละ Objectively
Validity
ของเครื่องมือวัด คือ ข้อมูลจากเครื่องมือ
ตรงกับที่ต้องการ
Reliability ของเครื่องมือวัด คือ ข้อมูลจากเครื่องมือสมา่ เสมอ
คงเส้นคงวา ไม่ลปรเปลี่ยนตามเวลาลละสถานที่
Objectively ของเครื่องมือวัด คือ ข้อมูลจากเครื่องมือวัด
ใครจะตรวจให้คะลนน ตีความก็ได้ค่าเท่ากัน
อะไร เรียกว่าวิจัย
องค์ประกอบหรือ Component ที่เรียกกันเรียกว่า วิจัย
ประกอบด้วย
1. การระบุปัญหาที่ต้องวิจัย (Research Problem)
2. การรวบรวมข้อมูลที่เชื่อถือได้ (Methodology)
3. การอภิปราย โดยเชื่อมโยงกับความรู้เดิม
(Discussion)
ข้อมูล
สงสัย/ไม่ มีคาตอบ
•ต ัวเลข
โจทย์/คาถาม
่ ัวเลข
•ไม่ใชต
ื คาพูด ภาพ
ตัวหนังสอ
~เปรียบเทียบ
~ความหมาย
~หาเหตุผล
ั พันธ์
~หาความสม
~จัดหมวดหมู่
ว ัตถุประสงค์การวิจ ัย
วิธก
ี ารได้ขอ
้ มูล
+ - × ÷
ข้อมูล
• ทดลอง
เครือ
่ งมือเก็บข้อมูล
• จ ัดเวที
ั
• สงเกต
• แบบสงั เกต
ั
• สมภาษณ์
ั ภาษณ์
• แบบสม
• สารวจ
• แบบบันทึก
• PRA/PAR
• mind map
• ฯลฯ
• แบบPRA
วิเคราะห์
ั
สงเคราะห์
• ได้คาตอบโจทย์
• สร้างความรู ้
• นาไปพ ัฒนางาน
กองวิจัยและพัฒนางานสง่ เสริมการเกษตร
การพัฒนา (Development)
การพัฒนา คือ การทาให้ เกิดการ
เปลี่ยนแปลง หรื อการดาเนินการเพื่อ
ทาให้ ดีข้นึ
ลาดับขัน้ ของการพัฒนา
ขั้นที่ 1
ขั้นที่ 2
ขั้นที่ 3
ขั้นที่ 4
กาหนดเป้าหมายของการพัฒนา
ประเมินสภาวะเบือ้ งต้ น
กาหนดรูปแบบการพัฒนา
ประเมินผลการพัฒนา
การวิจยั และพัฒนา
การพัฒนารูปแบบหนึ่งทีใ่ ช้
การวิจัยเป็ นเครื่ องมือ โดยผ้ ูวิจัย
หาวิธีหรื อนวัตกรรม มา แก้ ปัญหา /
ปรั บปรุ ง/ พัฒนางานทีร่ ั บผิดชอบ
อย่ างไร
1. ด้ วยวิธีการที่เป็ นระบบ
1. กาหนดปั ญหา
2. กาหนดนวัตกรรม
3. ทดลองใช้
4. สรุ ป
อย่ างไร
2. ด้ วยวิธีการทางานตามวงจร
PAOR ของ Kemmis
Plan Act Observe
และ
Reflect + Revise
P = Plan
1. การกาหนดปั ญหา
2. การกาหนดนวัตกรรม
3. การวางแผนการ
แก้ ปัญหา
A
=
Act
การดาเนินการตามแผน
ทีว่ างไว้
การลงมือปฏิบัตจิ ริง
O = Observe
การวัดผล / การเก็บ
รวบรวมข้ อมูล
R = Reflect + Revise
การสะท้ อนผล
การสรุ ปผล
การแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์
R2R (Routine to Research) คืออะไร
การวิจ ัยทีด
่ าเนินการโดยผูป
้ ฏิบ ัติ
โจทย์วจ
ิ ัยมาจากงานประจา เพือ
่ พ ัฒนางานประจา
ผลล ัพธ์ดท
ู ผ
ี่ ลต่อ “ลูกค้า”
้ ระโยชน์ – ใชพ
้ ัฒนางาน
การนาผลวิจ ัยไปใชป
ประจา
• การทา Routine Development ให้ Evidence-Based
• เครือ
่ งมือพ ัฒนาคน
•
•
•
•
ไม่มน
ี ย
ิ ามตายต ัว
R2R : หว ังผลอะไร
• พ ัฒนางานประจา
• พ ัฒนาคนทีอ
่ ยูห
่ น้างาน
• พ ัฒนาองค์กร ว ัฒนธรรมองค์กร สู่
องค์กรเรียนรู ้
้
• องค์ความรูข
้ ององค์กร ยกระด ับขึน
่ วามสุข ปัญญา และไมตรี
ทาให้งานเป็นเครือ
่ งมือสูค
การวิจ ัย
1. โจทย์วจ
ิ ัย
2. ตรวจเอกสาร
3. วางแผนการวิจ ัย
4. ดาเนินการตามแผน
5. บ ันทึกผล
การวิจ ัย R2R
1. หาโจทย์วจ
ิ ัย
2. ทบทวน ตรวจ
เอกสารและกาหนด
กรอบแนวคิด
การปฏิบ ัติงาน
1. สงิ่ ทีต
่ อ
้ งการพ ัฒนางานให้ด ี
้ /ปัญหางานประจาทีต
ขึน
่ อ
้ งการ
แก้ไข
2. สอบถามเพือ
่ นร่วมงาน ค้นหา
ข้อมูลเดิม/ทีเ่ กีย
่ วข้อง หรือพูดคุย
ก ับทีมงาน
3. วางแผนการดาเนินงาน
3. วางแผนการ
ทางาน
4. ดาเนินการตามแผน
5. บ ันทึกผลการดาเนินงาน
6. วิเคราะห์ขอ
้ มูล
4. ปฏิบ ัติการ
6. ติดตาม/ประเมินผล
7. สรุปผล/ข้อเสนอแนะ
5. บ ันทึก/สรุปผล
7. รายงานผลการปฏิบ ัติงาน/
สรุปผล/ข้อเสนอแนะ
8. งานได้ร ับการพ ัฒนาให้ดข
ี น
ึ้
และมีการแลกเปลีย
่ นเรียนรูก
้ ับ
ผูส
้ นใจนาไปประยุกต์ใช ้
6. ติดตามประเมินผล
8. นาผลไปปร ับปรุงในงานครงั้
ิ ธิภาพยิง่ ขึน
้
ต่อไปให้มป
ี ระสท
13/04/58
53
ขัน้ เริ่มต้ นของการทาวิจัย
• การเลือกเรื่ องและการกาหนดปั ญหา
ลองเริ่ มคิดจากปัญหาที่เกิดจากการ
ปฏิบตั ิงานดูสิ
เอ๊ะ!!! แล้วถ้าไม่มีปัญหา หล่ะ.. จะทาไง
ดี???
ก็ลองดูสิวา่ งานที่ทาอยูป่ ั จจุบนั
สามารถปรับปรุ งหรื อพัฒนาให้ดี
กว่าเดิมได้หรื อไม่ ..อย่างไร
ทีม่ า : อ.ดร.กมลพร สอนศรี
54
เป้าหมาย
ปั ญหา ??
สภาพปั จจุบัน
55
ปัญหาในการวิจ ัย
(Research Problem)
สิ่งที่ทาให้ เกิดความสงสัย ความอยากร้ ู
ในข้ อเท็จจริง ซึ่งนาไปส่ ูการหาทาง
ปฏิบตั ิ เพื่อตอบคาถามเกี่ยวกับข้ อ
สงสัยหรื อข้ อเท็จจริงนัน้
ทีม่ า : รศ.ดร.ภรณี ต่างวิวฒ
ั น์, 2555 มสธ.
56
เมือ่ ไหร่ จะวิจัย ???
สอดคล้องกัน
สภำพทีเ่ ป็ นจริง
ไม่ สอดคล้องกัน
OK
สภำพทีม่ ่ ุงมัน่
มีปัญหำข้ อขัดข้ องอะไร?
ไม่ ต้องทำวิจัย
สำเหตุอะไร? จะทำ จะแก้ อย่ ำงไร?
รู้แล้ วแต่ ยงั ไม่ ได้ ทำ
ไม่ ต้องวิจยั ปรับกำรบริหำรจัดกำร Action
ไม่ แน่ ใจ ว่ ำใช่ /ไม่
ทดสอบ
ไม่ ร้ ู
วิจัย
•แก้ไขปัญหำได้
มีประโยชน์ หรือไม่
•ประเด็นน่ ำสนใจ
ทำได้
เกณฑ์
การเลือก
งานวิจ ัย
•มีขอ
้ มูลสน ับสนุน
•ไม่ กว้ำงหรือแคบจนเกินไป
•ทันต่ อเหตุกำรณ์
ไม่ ได้
ไม่ ควรทำ
หรือไม่
ได้
•มองทะลุถงึ ตอนจบได้
•อยูใ่ นสายงานที่
เกีย
่ วข้อง
ไม่ ควรทำ
มี
•เกิดประโยชน์ ต่อส่ วนรวม
ี่ วชาญ
•มีความเชย
ไม่ มี
ไม่ คุ้มค่ ำ
คุ้มค่ ำ
ไม่ ควรทำ
หรือไม่
คุ้มค่ ำ
•ใช้ ทรัพยำกรในกำรวิจยั อย่ ำงคุ้มค่ำ
โจทย์ วจิ ัย
58
1
เครื่องมือในกำรวิเครำะห์ ปัญหำ/
ค้ นหำโจทย์วจิ ัยจำกงำนประจำ
Problem tree
2 2
ก้ำงปลำ
3
S
W
O
T
59
การเลือกเครือ
่ งมือในการวิเคราะห์ปญ
ั หา
• โดยพิจารณาความเหมาะสมระหว่ างเครื่ องมือกับ
เงื่อนไขต่ างๆ ของปั ญหา ซึ่งหมายรวมถึง
ความสามารถของเครื่องมือในการแก้ ปัญหา
ดังกล่ าว
• สิ่งที่สาคัญคือความคุ้นเคยในการใช้ งานเครื่ องมือ
นัน้ ๆ
60
เครื่องมือค้ นหำสำเหตุของปัญหำ
“เป็ นแผนผังที่ใช้ แสดงควำมสั มพันธ์ อย่ ำงเป็ นระบบระหว่ ำง
สำเหตุหลำยๆสำเหตุทเี่ ป็ นไปได้ ทสี่ ่ งผลกระทบให้ เกิดปัญหำ หนึ่ง
ปัญหำ”
61
ปัจจ ัย
(สาเหตุหล ัก)
ปัจจ ัย
(สาเหตุหล ัก)
สำเหตุย่อย
ปัจจ ัย
(สาเหตุหล ัก)
ปัญหา
สำเหตุย่อย
• ควรกำหนดแบบชัดเจน
สำเหตุย่อย
สำเหตุย่อย
ปัจจ ัย
(สาเหตุหล ัก)
ปัจจ ัย
(สาเหตุหล ัก)
และเป็ นไปได้
ปัจจ ัย
(สาเหตุหล ัก)
• ควรกำหนดหัวข้ อปัญหำ
ในเชิงลบ
สาเหตุ
62
การพ ัฒนาโจทย์วจ
ิ ัย
63
คน
วิธก
ี าร
ไม่ หมั่นตรวจสอบ
นา้ หนัก
เก็บไม่เป็น
เวลา
ขาดการวางแผนและ
กาหนดขนตอนการท
ั้
างาน
เพำะเชื้อในเวลำเดียวกัน
ไม่ ทยอยทิง้ ช่ วง
เพำะเชื้อน้ อย
ไม่ถามผูม
้ ี
ประสบการณ์
ั
ขาดการสงเกต
ขาดความรู ้
ไม่ เลือกเก็บตำมขนำด
ทำไมเห็ดนำงฟ้ ำไม่
พอส่ งร้ ำนค้ ำ
เห็ดเจริญเติบโตช้ ำ
่ งสว่าง
แสงสอ
ไม่ทว่ ั ถึง
ื้
จานวนก้อนเชอ
ไม่เพียงพอ
ั้
ชนวางเห็
ดไม่เหมาะสม
มองไม่ เห็นเห็ดทีอ่ อก
ทำงก้ นถุงตำมทิศทำง
มีก้อนเชื้อไม่ วงิ่
มีก้อนเชื้อทีเ่ ป็ นรำดำ
ขาดการเอาใจใส่
หาความรูเ้ พิม
่ เติม
ว ัสดุ
ถุงเชื้อเห็ดหล่ นเสี ยหำย
อุปกรณ์
64
ทำไมเห็ดนำงฟ้ ำไม่
พอส่ งร้ ำนค้ ำ
่ งสว่าง
แสงสอ
ไม่ทว่ ั ถึง
ั้
ชนวางเห็
ด
ไม่เหมาะสม
อุปกรณ์
การกาหนดโจทย์
โจทย์ ใหญ่ ?
โจทย์ยอ
่ ย3
โจทย์ยอ
่ ย1
โจทย์ยอ
่ ย2
• โจทย์ยอ
่ ยสอดคล้องก ับโจทย์ใหญ่
้ นก ันและมีความชดเจน
ั
• โจทย์ยอ
่ ยไม่ควรซา้ ซอ
13/04/58
66
โจทย์ ใหญ่ ……………………………………………
โจทย์ ย่อย1 ………………………………………….
โจทย์ ย่อย2 ………………………………………….
หัวข้อวิจยั เรื่อง……………………………………………
วัตถุประสงค์ท่ี 1 ………………………………………….
วัตถุประสงค์ท่ี 2 …………………………………………
13/04/58
67
โจทย์ใหญ่ อุปกรณ์ในการเพาะเห็ด
นางฟ้าทีเ่ หมาะสมควรเป็นอย่างไร ?
• โจทย์ ย่อย 1 ชั้นวำงเห็ดที่เหมำะสมควรเป็ นอย่ ำงไร ?
• โจทย์ ย่อย 2 กำรให้ แสงสว่ ำงส่ องทั่วถึงชั้นวำงเห็ดควรทำ
อย่ ำงไร ?
13/04/58
68
หล ักการเขียน
ห ัวข้อการวิจ ัย
13/04/58
69
ห ัวข้อการวิจ ัย
(RESEARCH TOPIC)
การนาปัญหาการวิจ ัยมาทาให้อยูใ่ นรูปที่
จะวิจ ัยได้
ั
แสดงความชดเจนในการน
าปัญหาการ
่ ารปฏิบ ัติ
วิจ ัยไปสูก
ี้ าให้เห็นภาพการรวบรวมและ
ชน
วิเคราะห์ขอ
้ มูล เพือ
่ ให้ได้คาตอบที่
ต้องการ
13/04/58
70
ห ัวข้อการวิจ ัย
(RESEARCH TOPIC)
้ ต้นด้วยคานาม
ควรขึน
ื่ บอกขอบเขตของการวิจ ัย
ควรเป็นสอ
ั้ ง่าย และกระชบ
ั
ควรสน
สละสลวยได้ใจความสมบูรณ์ เด่น
และน่าสนใจ
13/04/58
71
ต ัวอย่าง
วิธก
ี าร
ต ัวแปรต้น
้ ป
ผลของการใชอ
ุ กรณ์ทเี่ หมาะสมในการ
เพาะเห็ดต่อการเพิม
่ ผลผลิตเห็ดนางฟ้า
ขอบเขต
13/04/58
ต ัวแปรตาม
ประชากร
72
ต ัวอย่าง
ต ัวแปร
ประชากร
ขอบเขต
แนวทางพ ัฒนาวิสาหกิจชุมชนบ้านบางบาล
่ นร่วม
จ ังหว ัดพระนครศรีอยุธยาแบบมีสว
วิธก
ี าร
13/04/58
73
วิธก
ี าร
ต ัวแปร
ึ ษารูปแบบการถ่ายทอดเทคโนโลยี
การศก
ิ ธิภาพ
้ แป้งทีม
ป้องก ันกาจ ัดเพลีย
่ ป
ี ระสท
ั พช
ของศูนย์จ ัดการศตรู
ื ชุมชน
ี า
จ ังหว ัดนครราชสม
ประชากร
ขอบเขต
ต ัวอย่าง
13/04/58
74
หล ักการเขียน
ว ัตถุประสงค์การวิจ ัย
13/04/58
75
หล ักการเขียนว ัตถุประสงค์การวิจ ัย
่ นทีแ
ึ ษา
เป็นสว
่ สดงให้เห็นว่าต้องการศก
ึ ษาต้องอยู่
อะไร ในแง่มม
ุ ใด และเรือ
่ งทีศ
่ ก
ในกรอบของห ัวเรือ
่ งทีท
่ าวิจ ัย ไม่ออก
นอกเรือ
่ ง
่ นแสดงให้ทราบว่าผูว้ จ
เป็นสว
ิ ัยต้องการจะ
ึ ษาหรือค้นหาคาตอบอะไรบ้าง
ศก
ต้องสอดคล้องก ับโจทย์ / ปัญหาการวิจ ัย
และห ัวข้อการวิจ ัย
13/04/58
76
หล ักการเขียนว ัตถุประสงค์การวิจ ัย
เขียนให้ อยู่ในรูปประโยคบอกเล่ ำ สั้ นๆ กะทัดรัด
ชัดเจน
ครอบคลุมประเด็นทีศ่ ึกษำ
คำนึงถึงควำมเป็ นไปได้ ที่จะได้ คำตอบจำกกำรวิจัย
ภำยใต้ ข้อจำกัด ทรัพยำกร เวลำทีม่ ีอยู่
13/04/58
77
คาทีใ่ ชใ้ นการเขียนว ัตถุประสงค์การวิจ ัย
ึ ษา..........................
เพือ
่ ศก
เพือ
่ เปรียบเทียบ ................
ั ันธ์............
เพือ
่ หาความสมพ
เพือ
่ หาแนวทาง...................
เพือ
่ ประเมิน........................
เพือ
่ พ ัฒนา........................
ฯลฯ
13/04/58
78
ปัจจ ัยอืน
่ ๆ
เกษตรกร
ว ัตถุประสงค์
ไม่แตกต่าง
ั
แมลงศตรู
ธรรมชาติ
กระบวนการ
ขาดแรงจูงใจ
ด้านราคา
ภ ัยธรรมชาติ
ภัยแล้ง/นำ้ ท่ วม
หลำยขั้นตอน
ขาดความรู ้
ไม่ มีแหล่งรับซื้อ
ทำไมเกษตรกรที่เข้ ำร่ วม
โครงกำร GAP ได้ รับใบ
Q ไม่ ครบตำมเป้ ำหมำย
จนท.จังหวัดชี้แจงไม่ ชัดเจน
ขาดความรูค
้ วามเข้าใจ
ขาดความเข้าใจ
ขนตอน
ั้
GAP
ขำดกำรค้ นคว้ ำหำควำมรู้
เพิม่ เติม
ยุ่งยำก
กระบวนการ
GAP
ขาดการติดตาม
อย่างต่อเนือ
่ ง
เจ้าหน้าที่
งำนเยอะ
79
ปัจจ ัยอืน
่ ๆ
เกษตรกร
ว ัตถุประสงค์
ไม่แตกต่าง
กระบวนการ
ขาดแรงจูงใจ
ด้านราคา
ขาดความรู ้
ไม่ มีแหล่งรับซื้อ
ทำไมเกษตรกรที่เข้ ำร่ วม
โครงกำร GAP ได้ รับใบ
Q ไม่ ครบตำมเป้ ำหมำย
จนท.จังหวัดชี้แจงไม่ ชัดเจน
ขาดความรูค
้ วามเข้าใจ
ขำดกำรค้ นคว้ ำหำควำมรู้
เพิม่ เติม
กระบวนการ
GAP
ขาดการติดตาม
อย่างต่อเนือ
่ ง
เจ้าหน้าที่
งำนเยอะ
80
่ เสริม GAP ข้าวทีม
• โจทย์ใหญ่ : แนวทางการสง
่ ี
ิ ธิผลของจ ังหว ัดร้อยเอ็ดควรเป็นอย่างไร ?
ประสท
่ เสริม GAP ข้าวของ
• โจทย์ยอ
่ ย 1 : กระบวนการสง
เจ้าหน้าทีค
่ วรเป็นอย่างไร ?
• โจทย์ยอ
่ ย 2 : กระบวนการปฏิบ ัติของเกษตรกรเพือ
่ ให้
ได้ GAP ข้าวควรเป็นอย่างไร ?
่ เสริม GAP ข้าวทีม
• ห ัวข้อวิจ ัย : แนวทางการสง
่ ี
ิ ธิผลของจ ังหว ัดร้อยเอ็ด
ประสท
่ เสริม GAP
• ว ัตถุประสงค์ 1 : เพือ
่ พ ัฒนากระบวนการสง
ข้าวของเจ้าหน้าที่
• ว ัตถุประสงค์ 2 : เพือ
่ พ ัฒนากระบวนการปฏิบ ัติของ
เกษตรกรให้ได้ GAP ข้าว
โจทย์
แนวทางการ
ส่ งเสริม
GAP ข้ าวที่มี
ประสิทธิผล
ของจังหวัด
ร้ อยเอ็ดควร
เป็ นอย่ างไร
ทบทวน
• คุยก ับเจ้าหน้าที่
• คุยก ับเกษตรกร
่ เสริม GAP ข้าว
แนวทางสง
จ.ร้อยเอ็ด
ดาเนินการ (action)
เก็บข้อมูล/วิเคราะห์ขอ
้ มูล
สรุปผล/รายงาน/เผยแพร่
โจทย์ใหม่
โจทย์เดิม
โจทย์/
คาถามวิจ ัย
สรุปผล/
รายงาน/
เผยแพร่
สงิ่ ทีต
่ อ
้ งการ
พ ัฒนา/ปัญหา
ในงานที่
ร ับผิดชอบ
R2R
วางแผนพ ัฒนา
เพือ
่ ตอบโจทย์
วิจ ัย
เก็บข้อมูล/
วิเคราะห์ขอ
้ มูล
ดาเนินการ
(action)
การออกแบบในการวิจ ัย
Research Design
Action Research: กำรวิจยั เชิงปฏิบัติกำร
วิเครำะห์ สถำนกำรณ์
วำงแผน
ความรู/
้
แนวทางพ ัฒนางาน
วิเครำะห์ /สั งเครำะห์ /
สรุปผล
ลงมือทำ
เก็บข้ อมูล
่ นร่วม (PAR)
การวิจ ัยเชงิ ปฏิบ ัติการแบบมีสว
AP R
Participatory
+ Action
ผสมผสำน
กำรมีส่วนร่ วม + กำรปฏิบตั ิ + กำรแสวงหำควำมรู้
+ Research
ได้ คำตอบกำรวิจัย
1.ทุกข์
1. ปัญหำในกำรวิจัย
2. ตรวจสอบ/รวบรวมสำเหตุปัญหำ
WS
3. กำหนดหัวข้ อวิจัย/วัตถุประสงค์
4. สร้ ำงกรอบแนวคิดในกำรวิจัย
2. สมุทยั =
สาเหตุให้
เกิดทุกข์
I
5. ออกแบบกำรวิจัย/วำงแผนกำรวิจัย
6. เก็บรวบรวมข้ อมูล/จดบันทึก
action
3. นิโรธ =
วิธีดบั ทุกข์
7. วิเครำะห์ ข้อมูล/สั งเครำะห์ ข้อมูล
WS II
8. กำรเขียนรำยงำน/สรุปผล
9. ได้ คำตอบ/นำไปใช้ /ขยำยผล
WS III
4. มรรค =
ข้อปฏิบตั ิให้ถงึ ความดับ
ทุกข์