ความหมายของสถิติ 1. สถิติ (Statistic) หมายถึง ข้อมูลหรือตัวเลขทีใ่ ช้แสดงจานวน คน สัตว์ สิง่ ของ หรือเหตุการณ์ใดๆ ทีเ่ ราสนใจศึกษา โดยตัวเลขนั้นจะถือ เป็ นสถิติก็ต่อเมือ่ ได้ทาการบันทึก ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึง่ เป็ น ระยะเวลายาวนาน สามารถแสดงให้เห็นลักษณะในภาพรวม.

Download Report

Transcript ความหมายของสถิติ 1. สถิติ (Statistic) หมายถึง ข้อมูลหรือตัวเลขทีใ่ ช้แสดงจานวน คน สัตว์ สิง่ ของ หรือเหตุการณ์ใดๆ ทีเ่ ราสนใจศึกษา โดยตัวเลขนั้นจะถือ เป็ นสถิติก็ต่อเมือ่ ได้ทาการบันทึก ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึง่ เป็ น ระยะเวลายาวนาน สามารถแสดงให้เห็นลักษณะในภาพรวม.

Slide 1


Slide 2

ความหมายของสถิติ
1. สถิติ (Statistic) หมายถึง ข้อมูลหรือตัวเลขทีใ่ ช้แสดงจานวน คน
สัตว์ สิง่ ของ หรือเหตุการณ์ใดๆ ทีเ่ ราสนใจศึกษา โดยตัวเลขนั้นจะถือ
เป็ นสถิติก็ต่อเมือ่ ได้ทาการบันทึก ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึง่ เป็ น
ระยะเวลายาวนาน สามารถแสดงให้เห็นลักษณะในภาพรวม หรือ
ลักษณะเชิงเปรียบเทียบของสิง่ ทีเ่ ราสนใจศึกษาได้ เช่น
- ยอดขายสารเคมีของร้านค้าแห่งหนึง่ ในไตรมาสแรกของ ปี
พ.ศ.2554
- ทีมฟุตบอลลิเวอร์พูลสามารถทาประตูทีมคู่แข่งในฟุตบอล
ลีก ประเทศอังกฤษ ประจาฤดูกาล 2010 – 2011 โดยเฉลีย่ นัดละ
1.05 ประตู


Slide 3

ความหมายของสถิติ
2. สถิติ (Statistics) หมายถึง สถิติศาสตร์ หรือวิชาทีว่ ่าด้วย
กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูลการนาเสนอข้อมูล การวิเคราะห์
ข้อมูล และการแปลความหมายข้อมูล เพือ่ ให้ทราบถึงลักษณะ
ของข้อมูลในเรือ่ งทีส่ นใจศึกษา และสามรถนาข้อสรุปจากการ
แปลความหมายข้อมูลมาใช้ประกอบการตัดสินใจให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ทีต่ อ้ งการในเรือ่ งนั้นได้


Slide 4

ประเภทของสถิติ
1. สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) เป็ น
วิ ธีการทางสถิติที่เกี่ยวกับการเก็ บรวบรวมข้อ มู ล การ
ประมวลผลหรือนาเสนอข้อมู ลด้วยการบรรยาย ตาราง
กราฟ แผนภู มิ แผนภาพ การวัดคุณสมบัติต่างๆ ของ
ข้อมู ล เช่ น การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การวัดการ
กระจาย เพื่อนาไปหาข้อสรุปของข้อมู ลที่ศึกษาเท่ านั้น
ไม่สามารถนาไปอ้างอิงถึงกลุ่มอื่นได้


Slide 5

ประเภทของสถิติ
2. สถิติเชิงอนุ มาน (Inferential Statistics) เป็ นวิธีการทางสถิติ
ที่ศึกษาและรวบรวมข้อมู ลจากตัวอย่างมาสรุป หรืออ้า งอิ งถึง
ลั ก ษณะของประชากรในลั ก ษณะของการประมาณค่ า
(Estimation) การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)


Slide 6

ประชากรและตัวอย่าง
1. ประชากร (Population) หมายถึง ขอบข่ายของข้อมูล หรือ
กลุ่มของข้อมู ลทั้งหมดทั้งหมดที่สนใจศึกษา เช่น สนใจศึกษา
พฤติ ก รรมการสู บ บุ ห รี่ ข องนัก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลัย ราชภั ฏ
เชี ย งใหม่ ประชากร คื อ นัก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลัย ราชภัฏ
เชียงใหม่ท้ งั หมด เป็ นต้น


Slide 7

ประชากรและตัวอย่าง
2. ตัวอย่าง (Sample) เป็ นส่วนหนึง่ ของประชากร ซึ่งถูกเลือก
มาเป็ นตัวแทนของประชากร การศึกษาในบางครั้งไม่สามารถ
ที่จ ะท าการศึ ก ษาข้อ มู ล จากประชากรได้เ นื่อ งจากต้อ งเสี ย
ค่าใช้จ่ายมาก เสียเวลา และข้อมู ลไม่ทนั สมัย จึ งจาเป็ นต้อง
เลือกศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้เทคนิคการเลือกตัวอย่าง
เพือ่ ให้ได้ตวั อย่างทีด่ ีเป็ นตัวแทนของประชากร


Slide 8

พารามิเตอร์ และค่าสถิติ
1. พารามิเตอร์ (Parameter) หมายถึง ค่าต่างๆ ทีค่ านวณ
ได้จากคุณลักษณะของประชากร
2. ค่าสถิติ (Statistic) ค่าต่างๆ ทีค่ านวณได้จาก
คุณลักษณะของตัวอย่าง


Slide 9

สัญลักษณ์ของพารามิเตอร์และค่าสถิติ
ความหมาย

พารามิเตอร์

ค่าสถิติ

1. ค่ าเฉลีย่

x



2. ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน



S.D. , S

3. ความแปรปรวน



4. สั ดส่ วน

P



5. จานวนหรือขนาด

N

n

2

S2


Slide 10

ความสัมพันธ์ของประชากร ตัวอย่าง สถิติพรรณนา
และสถิติอนุ มาน
ประชากร

เทคนิคการเลือกตัวอย่าง

ตัวอย่าง

สถิติเชิงพรรณนา
ค่าพารามิเตอร์

ค่าสถิติ
สถิติเชิงอนุมาน


Slide 11

ประเภทของข้อมูล
แบ่งตามลักษณะของข้อมูล
1. ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) เป็ นข้อมู ลที่ไม่
สามารถวัดออกมาอยู่ในรูปของตัวเลขได้โดยตรง เช่น เพศ
(ชาย หญิง) ศาสนา (พุทธ คริสต์ อิสลามฯ) เป็ นต้น
2. ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) เป็ นข้อมูลที่สามารถ
วัด ออกมาอยู่ ใ นรู ป ของตัว เลขได้โ ดยตรง สามารถน ามา
เปรี ย บเที ย บมากน้อ ยได้ เช่ น รายได้ น้ าหนัก ส่ ว นสู ง
ปริมาณสารเคมี เป็ นต้น


Slide 12

ประเภทของข้อมูล
แบ่งตามระดับการวัดของข้อมูล
1. มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale) เป็ นมาตราการวัดที่ตา่
ที่สุด โดยแบ่งข้อมู ลออกเป็ นกลุ่มตามคุณสมบัติหรื อลักษณะ
โดยไม่มีลาดับค่ามากน้อยระหว่างกลุ่ม เช่ น เพศ (ชาย หญิง)
สัญชาติ (ไทย จี น ลาว ฯลฯ) ศาสนา (พุทธ คริสต์ อิสลามฯ)
เป็ นต้ น หรื อ ข้อ มู ล อาจเป็ นตั ว เลขก็ ไ ด้ แต่ ต ั ว เลขนี้ ไม่ มี
ความหมายใดๆ ในเชิงปริมาณ ไม่สามารถนามาคานวณได้ เช่ น
หมายเลขโทรศัพท์ บ้านเลขที่ หมายเลขเสื้ อนักฟุตบอล เป็ นต้น


Slide 13

ประเภทของข้อมูล
แบ่งตามระดับการวัดของข้อมูล
2. มาตราเรียงลาดับ (Ordinal Scale) เป็ นมาตราการวัดที่มีลกั ษณะ
เป็ นกลุ่มเหมือนมาตรานามบัญญัติ แต่ดีกว่ามาตรานามบัญญัติที่
สามารถเรียงอันดับได้ แต่ไม่สามารถบอกความแตกต่างของแต่ ละ
อันดับได้ บอกได้แ ต่ เพียงว่ ามากกว่ า ดีกว่ า เท่ านั้น เช่ น ระดับ
ความพึงพอใจ มากที่สุด มาก น้อย น้อยที่สุด ซึ่ งไม่สามารถบอก
ได้ว่าความแตกต่างระหว่างมากที่สุดและมากได้ บอกได้แต่ เพียง
ว่ า ความพึง พอใจมากที่สุด มากกว่ าระดับมากเท่ านั้น ตัว อย่าง
ข้อมูลที่อยู่ในมาตรวัดนี้ ได้แก่ ยศ ผลการเรียน (ลาดับที่ 1 2 3)
ระดับความคิดเห็นต่างๆ เป็ นต้น


Slide 14

ประเภทของข้อมูล
แบ่งตามระดับการวัดของข้อมูล
3. มาตราอันตรภาค (Interval Scale) เป็ นมาตรการวัดที่เป็ นข้อมู ล
เชิ งปริมาณ สามารถบอกความแตกต่ างระหว่างข้อมู ลได้ ค่าที่ ได้
จากการวัดสามารถนามาบวกลบกันได้ แต่ ไม่สามารถนามาคู ณ
หรือหารกันได้ และเป็ นมาตรการวัดที่ไม่มีศูนย์แท้ เช่ น นักศึกษาที่
สอบได้ 0 คะแนน ไม่ได้หมายความว่านักศึกษาคนนี้ ไม่มีค วามรู ้
เลย และนักศึกษาที่สอบได้ 20 คะแนน ไม่ได้หมายความว่าเรียน
เก่งเป็ น 2 เท่าของคนที่สอบได้ 10 คะแนน ตัวอย่างข้อมูลที่อยู่ใน
มาตรวัดนี้ ได้แก่ อุณหภูมิ คะแนนสอบ เป็ นต้น


Slide 15

ประเภทของข้อมูล
แบ่งตามระดับการวัดของข้อมูล
4. มาตราอัตราส่วน (Ratio Scale) เป็ นมาตรการวัดที่ดีที่สุด เป็ น
ข้อมู ลเชิ ง ปริ มาณ สามารถบอกความแตกต่ างระหว่ างข้อมู ลได้
ค่าที่ได้จากการวัดสามารถนามาบวก ลบ คูณ และหารกันได้ เป็ น
มาตรวัดที่มีศูนย์แท้ เช่น นายภูมิ มีรายได้ 0 บาท หมายความว่า
นายภูมิไม่มีรายได้เลย และสามารถบอกผลของการวัดว่าเป็ นกี่เท่า
ของกันและกันได้ เช่น นายนัทมีรายได้ 1,000 บาท นายชัย มี
รายได้ 500 บาท หมายความว่านายนัทมีรายได้เป็ นสองเท่าของ
นายชัย ตัวอย่ างข้อ มู ล ที่อยู่ ในมาตรวัดนี้ ได้แ ก่ น้ า หนัก ส่ ว นสู ง
รายรับ รายจ่ าย เป็ นต้น


Slide 16

ประเภทของข้อมูล
แบ่งตามทีม่ าของข้อมูล
1. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็ นข้อมูลที่ผูศ้ ึกษาเป็ นผูเ้ ก็บ
รวบรวมข้อมู ลเองจากตัวอย่างหรือประชากรที่สนใจ โดยอาจใช้
วิธีการเก็บแบบสอบถาม การสัมภาษณ์ การทดลอง เป็ นต้น

2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เป็ นข้อมูลทีม่ ีผูเ้ ก็บรวบรวมไว้
เรียบร้อยแล้ว ผูศ้ ึกษาเพียงนาข้อมูลดังกล่าวมาใช้ เช่น การเก็บ
รวบรวมข้อมูลอายุนกั ศึกษาจากฝ่ ายทะเบียนของมหาวิทยาลัย
เป็ นต้น


Slide 17

ระเบียบวิธีการทางสถิติ
ระเบียบวิธีการทางสถิติ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่

•การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
•การนาเสนอข้อมูล (Data Presentation)
•การวิเคราะห์ขอ้ มูล (Data Analysis)
•การแปลความหมายข้อมูล (Data Interpretation)


Slide 18

1. การเก็บรวบรวมข้อมูล
เป็ นการเก็บรวบรวมข้อมูลเพือ่ นามาวิเคราะห์ ซึ่ง
อาจจะประกอบด้วยข้อมูลปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และ
เป็ นข้อมูลทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ


Slide 19

2. การนาเสนอข้อมูล
เป็ นการจั ด ท าข้อ มู ล ที่ ร วบรวมได้ใ ห้อ ยู่ ใ นรู ป แบบที่
กะทัด รัด เหมาะสม ง่ า ยต่ อ ความเข้า ใจ และเพื่อ เป็ น
ประโยชน์ใ นการวิ เ คราะห์ ต่ อ ไป เช่ น ตาราง กราฟ
แผนภูมิ ข้อความ เป็ นต้น การนาเสนอข้อมู ลทางสถิ ติจะ
ใช้วิธีใดจึ งจะเหมาะสมนั้น ขึ้ นอยู่กบั ลักษณะของข้อมู ล
และวัตถุประสงค์ในการนาเสนอข้อมูล


Slide 20

3. การวิเคราะห์ขอ้ มูล
เป็ นขั้นตอนการประมวลผลข้อมู ล ซึ่ งในการวิเคราะห์
จาเป็ นจะต้องใช้สูตรสถิติต่างๆ หรือใช้การอ้างอิงทาง
สถิติ ขึ้ นอยู่ ก บั วัต ถุ ป ระสงค์ของการศึ ก ษาในครั้ง นั้น
เช่น การประมาณค่า การทดสอบสมมติฐาน เป็ นต้น


Slide 21

4. การแปลความหมายข้อมูล
เป็ นขั้นตอนของการนาผลการวิเคราะห์มาอธิ บายให้
บุคคลทัว่ ไปเข้าใจ อาจจาเป็ นต้องมีการขยายความใน
การอธิ บาย เพื่อให้งานที่ศึกษาเป็ นประโยชน์ต่ อคน
ทัว่ ไปได้


Slide 22

ตารางแจกแจงความถี่
ตัวอย่าง ตารางแจกแจงความถีข่ องข้อมูลเชิงคุณภาพ

สาขา
เคมี
ฟิ สิกส์
ชีววิทยา
คณิตศาสตร์และสถิติ
รวม

จานวน
25
16
50
56
147


Slide 23

ตารางแจกแจงความถีข่ องข้อมูลเชิงปริมาณ
ตัวอย่างตารางแจกแจงความถีแ่ สดงคะแนนสอบวิชาสถิติธุรกิจ
ของนักศึกษาห้องหนึง่ เป็ นดังนี้
คะแนน
จานวน
1 – 10
3
11 – 20
5
21 – 30
10
31 – 40
8
41 - 50
4
รวม
30


Slide 24

องค์ประกอบของตารางแจกแจงความถีเ่ ชิงปริมาณ
1) อันตรภาคชั้น
2) ขีดจากัดล่าง
3) ขีดจากัดบน
4) ขอบเขตล่าง
ขี


ากั

ล่

งชั


นั


+
ขี


ากั

บนชั





กว่

ขอบเขตล่าง =
2


Slide 25

องค์ประกอบของตารางแจกแจงความถีเ่ ชิงปริมาณ
5) ขอบเขตบน =

ขีดจำกัดบนชั้นนั้น + ขีดจำกัดล่ำงชั้นูงงก่่ำ
2

6) ความกว้างของอันตรภาคชั้น = ขอบเขตบน – ขอบเขตล่าง
7) จุดกึง่ กลางชั้น =

ขีดจากัดบน + ขีดจากัดล่าง
2

8) ความถีส่ ะสม
9) ร้อยละความถีส่ มั พัทธ์ =

ความถีใ่ นอันตรภาคชั้นนั้น
ผลรวมความถีท่ ้ งั หมด

x 100


Slide 26

ตัวอย่าง 1.3 คะแนนสอบวิชาสถิติวิเคราะห์ของนักศึกษาห้อง
หนึง่ เป็ นดังนี้

60
52
35
58

45
53
66
54

75
57
74
65

50
64
64
68

62
70
57
85

81
59
64
83

76
78
34
75

43
45
58
38

36
33
81
57

จงสร้างตารางแจกแจงความถี่ โดยแบ่งข้อมูลออกเป็ น
6 อันตรภาคชั้น


Slide 27

วิธีทา
1.หาพิสยั พิสยั = ค่ามากทีส่ ุด – ค่าน้อยทีส่ ุด
= 85 – 33
= 52
=

ประมาณความกว้างของอันตรภาคชั้น =

=
=

พิสยั
จานวนชั้น
56
6

9.33  10


Slide 28

2. สร้างตารางแจกแจงความถี่
คะแนน
33 – 42
43 – 52
53 – 62
63 - 72
73 – 82
83 - 92

ความ
รอยขีด
ถี่
/////

/////
///// /////
///// //
///// //
//

รวม

5
5
10
7
7
2
36

ความถี่
สะสม
5
10
20
27
34
36

ขีดจา ขีดจา กัด ขอบ
กัดล่าง
บน
เขตล่าง
33
43
53
63
73
83

42
52
62
72
82
92

32.5
42.5
52.5
62.5
72.5
82.5

ขอบ
เขตบน

จุด
กึง่ กลาง

42.5
52.5
62.5
72.5
82.5
92.5

37.5
47.5
57.5
67.5
77.5
87.5

ร้อยละ
ความถี่
สัมพัทธ์
13.89
13.89
27.78
19.44
19.44
5.56
100