ศิรินา สันทัดงาน นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กรมสุขภาพจิต

Download Report

Transcript ศิรินา สันทัดงาน นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กรมสุขภาพจิต

SIRINA.DMH
13-Apr-15
“การดูแลสุขภาพกาย
และจิ ตใจ”
ศิรินา สันทัดงาน
นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ
กรมสุขภาพจิต
1
SIRINA.DMH
13-Apr-15
ท่านต้องการอะไรในชีวิต ?
“อยู่....ให้รวู ้ ่ามีลมหายใจ
หรือ...มีชวี ิตในแบบที่ตอ้ งการ”
2
SIRINA.DMH 13-Apr-15
โรคเรื้อรัง คือข่าวร้าย ที่บง่ บอกว่า ต่อไปนี้
ร่างกายจะมีความเสียหายอย่างถาวร ถึงจะ
ไม่ทาให้ตายในทันที แต่ต่อไปนี้ชีวิตจะมีแต่
ทรงกับทรุด ฉุดดิ่งลงไปเรื่อยๆ เหมือนตาย
ผ่อนส่ง จะอยู่ได้ก็ต้องเปลี่ยนแปลงวิถีการ
ดาเนินชีวิตทั้งชีวิต.
3
SIRINA.DMH 13-Apr-15
ปฏิ กิริยาที่เกิด และต้องช่วยเหลือ
ระยะแรก ปฏิ เสธ
ระยะที่สอง ซึมเศร้า
ระยะที่สาม โกรธ
ระยะที่ส่ี ความละอาย
ระยะสุดท้าย ยอมรับ
4
ปฏิ กิริยาต่อปัญหาที่เกิดขึ้น
ระดับปกติ
ด้านอารมณ์
ช๊อค กลัว
เสียใจ โกรธ
รู้สึกผิด
ละอายใจ
สิ้นหวัง
ด้านความสัมพันธ์
ด้านความคิด ด้านร่างกายเครียด กับผูอ้ ่ื น ไม่ไว้วางใจ
สับสน กังวล อ่ อนล้า นอนไม่หลับ ผูอ้ ื่ น ขัดแย้ ง
่
ปวดเมื
อ
ย ตกใจง่าย หงุดหงิด แยกตัว
ขาดสมาธิ
รู้สึกอ้ างว้างเปล่า
ตัดสินใจไม่ได้ ใจเต้นเร็ว คลื่นไส้
เบือ่ อาหาร วามรู้สึก เปลี่ยว
ทางเพศลดลง
ผลกระทบด้านจิตใจ
• ก่อให้เกิดความผิดปกติทางจิตตามมาได้หลายชนิด
• อาจส่งผลกระทบในระยะยาวหรือถาวร
• ผลกระทบสูงมากกว่าผลกระทบด้านร่างกายในหลาย
เหตุการณ์
• อาจถูกมองข้าม ละเลยจากสังคม
• ต้องการการช่วยเหลือหลายด้านพร้อมกัน
ความรู้พ้นื ฐานเกี่ยวกับการดูแลด้านจิตใจ
 ผูท้ ่ีบญ
ั ญัติคาว่าการปฐมพยาบาลทางจิตใจเบื้องต้น
(Psychological First Aid; PFA) คือ Beverly Raphael
โดยมีทฤษฎีพ้นื ฐาน คือ ลาดับขั้นความต้องการของมาสโลว์
(Maslow’s Psychological Hierarchy Needs)
 ทฤษฎีการบาบัดแบบผูป้ ่ วยเป็ นศูนย์ กลาง
(Client centered therapy) ของ คาร์ล โรเจอร์
7
จุดมุ่งหมายของการดูแลด้านจิตใจ
1. ลดความทุกข์ทางกายและจิตใจ
2. เพิม่ ขีดความสามารถในการจัดการปัญหาของ
ผูป้ ่ วย
3. ช่วยให้ผูป้ ่ วยปรับตัวกลับสู่สภาพเดิม
4. ช่วยประสานผูป้ ่ วยกับครอบครัว ทรัพยากร และ
เครือข่ายอื่ นๆที่เกี่ยวข้อง
8
SIRINA.DMH
13-Apr-15
MASLOW’S HIERACHY NEEDS
สมหวังในเป้าหมาย
เกียรติยศ ชื่อเสียง
ความรักและเป็ นส่วนหนึ่งของสังคม
ต้องการความปลอดภัย
ความต้องการพื้นฐานทางร่างกาย
9
สมการของเจตคติ:
ควรทาทุกสิ่งด้วยความรู้สึกที่เป็ นบวก
และมีมมุ มองต่อผูอ้ ่ื นอย่างเป็ นเหตุเป็ น
ผล ไม่ด่วนสรุป ไม่ด่วนตัดสินใจ
10
เจตคติ+++
ท่าทีอบอุ่น จริงใจ
มีทักษะการฟังที่ดี
•มีการควบคุมตนเอง มีจิตใจรักการบริการ
•มีความอดทนต่อสถานการณ์
•มีความมั่นใจในตนเอง มีความเมตตา
•
11
คุณลักษณะสาคัญของดูแลด้านจิ ตใจ
ท่าทีสงบ
 แสดงความอบอุ่น
 ตระหนักรู้ถึงป
ั ญหา
 แสดง Empathy
 แสดงออกถึงความจริงใจ
 เสริมอานาจในการควบคุมตนเองและสิ่งแวดล้อม

12
SIRINA.DMH 13-Apr-15
การดูแลและช่วยเหลือ
1.จั ดสิ่งแวดล้อมรอบตัว
2.ให้สิ่งกระตุ้นที่มค
ี วามหมาย
เช่น การ
พู ดจาสื่อสารอยู่เสมอ ให้กาลังใจ
3. จั ดให้มีกิจกรรมต่างๆ และได้ เข้าสั งคม
กับผูอ้ ื่ น
13
พลังส ุขภาพจิต (RQ)
Resilience : Salire =Jump Re = back
ความสามารถในการปรับตัวและฟื้ นตัวเมือ่
เผชิญสถานการณ์วิกฤต
* สถานการณ์วิกฤต
* ใช้วิธีการปรับตัวที่แตกต่าง
* ฟื้ นคืนกลับได้ เข้มแข็งขึ้น
สถานการณ์ท่ีต้องใช้พลังสุขภาพจิต
ปัญหาใหญ่
เกินรับมือ
ไม่ทันตั้งตัว
Crisis
ภัยพิบัติ อุบัติเหตุ
เจ็บป่วยร้ายแรง เรื้อรัง
ใช้วิธีการปรับตัว
แบบเดิมไม่ได้
กระทบความรู้สึกรุนแรง
Life crisis
การสูญเสีย หย่าร้าง ตกงาน
พลังสุขภาพจิต : เมื่อเผชิญวิกฤต
Higher 20 %
crisis
Former 60%
Resilience
Psychological
response
Promotion
recovery
20 %
ลักษณะของคนที่มพ
ี ลังสุขภาพจิต





มีประสบการณ์ความทุกข์ยากมาบ้าง อดได้รอได้
ไม่กลัวความลาบาก
มีมมุ มองต่อชีวิตในทางบวก
ยืดหยุ่นได้ ปรับตัวได้ เรียนรู้จากบทเรียนในอดีต
เข้าใจของตัวเอง และหาทางควบคุมอารมณ์ /
ความคิด / พฤติกรรมตัวเองได้อย่างเหมาะสม
รู้จักสร้างพลังใจ ใจกล้า ล้มแล้วลุก
ลักษณะของคนที่มพ
ี ลังสุขภาพจิต






ศรัทธาในศาสนา ยึดมัน่ ประเพณี
มีทักษะในการสื่อสาร สร้างมิตร ต่อรอง
ขอความช่วยเหลือ
มีทักษะในการแก้ไขปัญหา รู้จักหาทางออก
มีสัมพันธภาพที่ดีกับคนใกล้ชิด มีท่ีปรึกษา
มีอารมณ์ขัน
การช่วยเหลือผูอ้ ่ื น...ฯลฯ
ANATOMY OF HABIT
การเรียนรู้ในระดับ Conscious หรือจิตรู้สานึก
- เกิดที่ Grey matter หรือ ที่เราเรียกว่า Cerebral
cortex ต้องใช้ความพยายามอย่างมากในการที่จะ
ตั้งใจทาให้สาเร็จ
การเรียนรู้ระดับ Sub conscious หรือจิตกึ่งสานึก
เกิดที่ Basal Ganglia เกิดจากการทาซ้า มีความ
เป็ นอั ตโนมัติ และถาวร
ประโยชน์
เมือ่ เผชิญวิกฤตในชีวิต...สามารถ
- รักษาจิตใจให้มีความสมดุล
- ปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ยากลาบากได้
- ฟื้ นตัวมาดาเนินชีวิตตามปกติได้
Recovery model
Ralph ,1999
ระบบคิด : สร้างพลังใจ
Social support
Well
being
ระบบคิด:มุมบ
บวก
Emotional
stability
Insight
Awaken
Anguis
h
Psychologica
l response
ระบบคิด :
การแก้ไข
ปัญหา
Recover
y
Commitment
Action
plan
Growth
การเสริมสร้างพลังส ุขภาพจิต
ป
ั จจัยภายในมาแต่กาเนิด
พันธุกรรม พื้นอารมณ์
สติปัญญา
ป
ั จจัยภายในจากประสบการณ์ ทัศนคติท่ีมตี ่อปัญหา ทักษะ
ด้านการควบคุมอารมณ์ การคิดทางบวก การแก้ไขปัญหา
ป
ั จจัยภายนอก การอบรมเลี้ยงดู ประสบการณ์ด้าน
ครอบครัว อาชีพ
่ เติม การพัฒนาทักษะต่างๆ ความต่อเนื่อง
 การพัฒนาเพิม
ในการพัฒนา
4
ปรับ 3 เติม เพือ่ ฝ่ าฟันความทุกข์
พลังอึ ด : ความอดทนต่อแรงกดดัน
เพิม่ พลังโดย : ปรับอารมณ์ ปรับความคิด
“ปัญหานี้เป็ นเรื่องใหญ่แค่ไหน ทาให้เราต้อง
สูญเสียอะไรบ้าง ทดแทนด้วยอย่างอื่ นได้
ไหม คนที่แย่กว่าเรามีไหม”
พลังฮึ ด : การมีความหวังและกาลังใจ
เพิม่ พลังโดย : เติมศรัทธา เติมมิตร
เติมจิตใจให้กว้าง
“กาลังใจเรามีมากน้อยแค่ไหน หากเราทุกข์
อยู่อย่างนี้ต่อไปจะเป็ นอย่างไร มีใครเป็ น
ห่วงและอยากเห็นเราดีข้ ึนไหม”
พลังสู้ : การต่อสู้ เอาชนะอุปสรรค
เพิม่ พลังโดย : ปรับการกระทา /
พฤติกรรม ปรับเป้าหมายชีวิต
“ปัญหาคืออะไร สาเหตุท่ีแท้จริงเกิดจากอะไร
พอจะแก้ไขไหม มีคนช่วยเหลือเราบ้างไหม”
เรื่องเล่าจาก .....ยังไงวันนี้ก็ดีเสมอ
คุณสุนันทา แซ่เฮ้า อายุ 26 ปี
ครอบครัวประกอบด้วย พ่อแม่ พีส่ าว เรียนจบ
ปริญญาตรี เมือ่ 3 ปี ก่อน ซ้อนมอเตอร์ไซด์จะไปกดเงิน
ให้แม่ ประสบอุบัติเหตุรถเมล์เล็ก (มินิบัส) ทับกลางตัว
และขณะที่ล้อหลังจะทับอี กก็เบีย่ งตัวหลบ สะโพกหัก
กระดูกเชิงกรานและซี่โครงซี่ที่ 5 หัก ตับแตก ลาไส้เล็ก
ใหญ่ขาด ......ปัจจุบนั สามารถเดินได้ และดาเนินชีวิตได้
เกือบปกติ
วิธีคิด
1. มีสติ ยึดหลักศาสนาเป็ นที่พง่ึ วันที่นอนอยู่
กลางถนนคิดว่าคงเป็ นวาระสุดท้ายของชีวิต
ท่อง “พุ ทโธ” จนสลบไป
2. ยอมรับความจริง
3. มุมมองต่อความอดทนเป็ นทางบวก เวลา
เจ็บปวดจากแผลเราใช้ใจฝ่ าฟันไป ทาจิตให้น่ิง
เราจะไม่ทกุ ข์ ให้อดทนเข้าไว้
4. ระบบคิดเลือกที่จะสู้ อย่าตอบแทนคนที่รัก
เราด้วยการท้อแท้ ยอมแพ้ต่อชะตาชีวิต
อย่าสถานการณ์เป็ นนายเรา
5. ระบบคิดเลือกที่จะสุข ทุกข์จะอยู่กับตัว
คนเราโดยไม่ร้สู ึกตัวเสมอ เมือ่ สุขค่อยๆ
หายไปจากเรา ทุกข์ก็จะเด่นชัดขึ้นทันที
6. ระบบคิดมองไปข้างหน้าสร้างกาลังใจ ไม่อยู่กับ
อดีต ระลึกเสมอว่า วันนี้ต้องดีกว่าวันวาน วั นนี้เรา
ได้นั่งในขณะทีเ่ มือ่ วานเราต้องนอน วั นนี้เรายืนได้
ในขณะทีเ่ มือ่ วานเราทาได้แค่ นั่ง
7. มีความหวัง ชนแล้ วทั บ....อนาคตคงลาบาก
วันนี้ส้กู ่อน กลัวอะไร คนเราต้องเริ่มต้นก่อน อย่า
ไปคาดเดาตอนจบ สั กวั นฉั นจะกลั บมาเป็ นคน
หนึ่งในสั งคม จะไม่เป็ นภาระใครทั้ งนั้ น
8.ครอบครัวคือกาลังใจ ไม่เจ็บปวด
กับสิ่งที่เกิดขึ้น... รักแท้ คือแม่พอ่ ....
ครอบครัวเราอาจต่างจากครอบครัว
อื่ น ไม่กลัวอะไร กลัวอย่างเดียว ไม่มี
ใครเลี้ยงพ่อแม่ถ้าไม่มเี รา
9 .มุมมองขาๆ โชคดีที่หมอทาให้เราสวยขึ้น ออก
จากโรงพยาบาลคงมีบริษัทลดน้าหนักมาให้เป็ น
Presenter จะเป็ น Pretty ยืนข้างรถเมล์เขียว...
ไม่ได้พกิ าร แค่อวัยวะไม่ครบ
10. คิดช่วยเหลือคนอื่ น เห็นคนป่วยอื่ นๆ เขาต้อง
มาเสียชีวิตที่โรงพยาบาล อยากเป็ นคนหนึ่งที่ร่วม
ให้กาลังใจเขาจนนาทีสดุ ท้าย
ข้อคิดจากค ุณส ุนันทา...........
๏ ใช้ศาสนาเป็ นที่พง่ึ ทางใจ
๏ มีสติ
๏ อดทน
๏ เลือกที่จะสุข เลือกที่จะสู้
๏ สร้างความหวัง และกาลังใจ
๏ กาลังใจและความเข้มแข็งจากครอบครัว
๏ อารมณ์ขัน
๏ มีใจช่วยเหลือ
SIRINA.DMH
13-Apr-15
กฎทองคาของการมองโลก
“สิง่ ใดเกิดขึน้ แล้ว............
สิง่ นัน้ ดีเสมอ”
36
ชีวิตคนเรานั้นสั้นนัก จงมีความสุขกับมัน
Thanks for
your attention!!