ทฤษฎีบุคลิกภาพ

Download Report

Transcript ทฤษฎีบุคลิกภาพ

ทฤษฎีบุคลิกภาพ
อารีลกั ษณ์ พูลทรัพย์
นิยาม
• การรับรู้พฤติกรรมรวมทัง้ หมดของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ทัง้ ในสิ่งที่
มองเห็นได้ เช่ น ลักษณะของพฤติกรรม และสิ่งที่มองไม่ เห็น
เช่ น ความคิด ความสนใจ ค่ านิยม ซึ่งจะทาให้ คนอื่นสามารถจะ
เข้ าใจและแยกได้ ว่าบุคคลนัน้ แตกต่ างจากคนทั่วไปได้
• โครงสร้ างทางจิตวิทยา (psychological
construct) เป็ นมโนคติอันซับซ้ อนซึ่งรวมถึงภูมิหลังพิเศษ
ทางยีนส์ ของบุคคลและประวัตกิ ารเรียนรู้ รวมทัง้ วิธีการที่ความ
ซับซ้ อนเหล่ านีร้ วมเป็ นองค์ เดียวและประสานกันทาให้ เกิด
พฤติกรรมสนองตอบของสิ่งเหล่ านีใ้ นสภาพเฉพาะของสิ่งแวดล้ อม
บุคคลมีปฏิกิริยาในเหตุการณ์ ต่างๆอย่ างไร
ความสาคัญ
• บุคลิกภาพมีความสาคัญต่ อชี วิตมนุษย์ ท้ังในด้ านส่ วนตัวและด้ านการ
งาน เพราะเป็ นที่ชื่นชอบของคนโดยทั่วไป ทาให้ ประสบความสาเร็ จ
ในด้ านต่ างๆ และได้ รับความร่ วมมือจากบุคคลอื่นมากขึ้น ก่ อให้ เกิด
ความเชื่ อมั่นในตนเองช่ วยเสริ มสร้ างบุคลิกภาพให้ ดียิ่งขึ้นเรื่ อยๆ
• บุคคลที่มีบุคลิกภาพดี มักจะประสบความสาเร็ จในหน้ าที่ การงาน
และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อย่ างมีความสุ ข เพราะมีความเชื่ อมั่น มี
โอกาส รู้ วิธีที่จะปรั บตัวให้ เข้ ากับ คนอื่นทาให้ เกิดความสั มพันธ์ ที่ดีต่อ
กัน คนที่มีบุคลิกภาพดีจะได้ เปรี ยบคนอื่นเพราะจะทาให้ ได้ รับความ
เชื่ อมั่น ศรั ทธาจากผู้พบเห็นและคนที่มีปฏิสัมพันธ์ ด้วย การทางาน
หรื อประกอบกิจกรรมต่ างๆ ย่ อมได้ รับความร่ วมมือจากคนส่ วนใหญ่
มากกว่ าคนที่มีบุคลิกภาพไม่ ดี และสามารถปรั บตัวอยู่ในสั งคมอย่ างมี
ความสุ ข
ประเภทของบุคลิกภาพ
• นักจิตวิทยาและนักวิชาการได้ แบ่ งประเภทของบุคลิกภาพของบุคคลไว้
หลายลักษณะ เช่ น แบ่ งตามลักษณะโครงสร้ างร่ างกาย แบ่ งตามลักษณะ
การแสดงออก แบ่ งตามลักษณะพฤติกรรม และแบ่ งตามลักษณะบุคลิกภาพ
• วิลเลียม เชลดอน (William Sheldon)นักจิตวิทยา
ชาวอเมริกนั ได้ แบ่ งประเภทของบุคลิกภาพของบุคคลตามลักษณะ
โครงสร้ างของร่ างกายได้ 3 ประเภทคือ
• 1 รูปร่ างอ้วนเตีย้ (Endomorphy) ได้ แก่ บุคคลทีม่ ีลกั ษณะ
อ้วนเตีย้ เป็ นคนชอบสั งคม อารมณ์ ดี ร่ าเริง ช่ างพูดคุย ใจดี ใจเย็น เป็ นคน
ชอบสนุกสนานรื่นเริง จู้จี้ ขีบ้ ่ น เสี ยงดังฟังชัด โกรธง่ าย หายเร็ว
ประเภทของบุคลิกภาพ
• 2 รูปร่ างสมส่ วน (Mesomorphy) ได้ แก่ บุคคลทีม่ ีรูปร่ าง
ลักษณะสมส่ วน ลาตัวตรง ไหล่กว้ าง กล้ามเนือ้ และโครงสร้ างกระดูก
แข็งแรง เป็ นบุคคลทีก่ ล้าหาญ กล้าเสี่ ยงกล้าผจญภัย เข้ มแข็ง คล่องแคล่ว
ว่ องไว มีความอดทน และมีพลังมาก ส่ วนใหญ่ ชอบเล่นกีฬาและเป็ น
นักกีฬา
• 3 รู ปร่ างผอมบาง (Ectomorphy) ได้ แก่ บุคคลทีม่ ี
บุคลิกภาพในลักษณะผอมสู ง ช่ วงไหล่ห่อ เอวเล็กเอวบาง สะโพกเล็ก
กล้ามเนือ้ น้ อย ไวต่ อการรู้สึกและไม่ ชอบเข้ าสั งคม ใจน้ อย และ
อ่อนไหวง่ าย
ประเภทของบุคลิกภาพ
• แบ่ งตามประเภทลักษณะพฤติกรรม
• คาร์ ล กุสตาฟ จุง (Carl Gustav Jung) ได้ แบ่ ง
บุคลิกภาพของมนุษย์ ออกเป็ น 3 ประเภท คือ
• 1. ประเภทเก็บตัว (Introvert) คือ เป็ นลักษณะทีเ่ งียบเฉย
เก็บตัว ขีอ้ าย ไม่ ชอบพูด ไม่ ชอบสั งคม ไม่ ชอบและไม่ สนใจเรื่องของ
ผู้อนื่ ชอบคิดมาก ชอบความเงียบสงบ ไม่ วุ่นวาย จะคิดและฝันเองตาม
ลาพัง เมื่อประสบปัญหามักจะหลีกเลีย่ งปัญหา หรือแยกตัวออกจาก
สั งคม มีอารมณ์ รุนแรง นอกจากนีย้ งั คิดช้ า ตัดสิ นใจช้ า ขาดความเชื่อมั่น
ในตนเองถ้ าจะพูดก็มักจะพูดเรื่องของตัวเองและชอบเขียนมากกว่าพูด
ประเภทของบุคลิกภาพ
• 2. ประเภทแสดงตัว (Extrovert) บุคคลที่มีบุคลิกภาพกล้า
แสดงออกเปิ ดเผย ร่ าเริง แจ่ มใส มีนา้ ใจ ชอบงานสังคม การสังสรรค์ เข้ า
สั งคม พบปะพูดคุยกับผู้อนื่ และสนใจเรื่ องราวของผูอ้ ื่น มีความเชื่อมัน่
ในตนเอง สามารถปรับตัวได้ดี ชอบช่ วยเหลือสั งคม ไม่ สนใจตนเองมาก
นัก ถือสั งคมเป็ นศูนย์ กลาง ชอบทางานเป็ นกลุ่ม ติดต่ องานได้
คล่องแคล่วว่ องไว มีมนุษยสั มพันธ์ ดี แต่ มีข้อเสี ย คือ เป็ นคนพูดมาก เก็บ
ความลับไม่ อยู่ พูดนอกเรื่อง พูดเกินจริง สนิทกับคนแปลกหน้ าเร็วเกินไป
พูดไม่ ถูกกาลเทศะ และชอบพูดทับถมผู้อนื่
ประเภทของบุคลิกภาพ
• 3. พวกกลาง ๆ (Ambivert) บุคคลประเภทนีเ้ ป็ นคนพูดพอควร
เดินทางสายกลางมีชีวติ เรียบง่ าย อยู่คนเดียวก็มีความสุ ขอยู่ในสั งคมก็มี
ความสุ ข คบหากับคนทัว่ ไปได้ ดี ไม่ พูดมากเกินไป และไม่ น้อยเกินไป
ประเภทของบุคลิกภาพ
• แบ่ งตามลักษณะบุคลิกภาพ
เราสามารถแบ่ งบุคลิกภาพของมนุษย์ ออกเป็ น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ
• 1 บุคลิกภาพภายนอก (External Personality)
หมายถึง ทั้งร่ างกายทีป่ รากฏ
• 2 บุคลิกภาพภายใน (Internal Personality)
คือลักษณะทีซ่ ่ อนอยู่ภายในเป็ นสิ่ งทีม่ องไม่ เห็นสั มผัสยาก แต่ สามารถ
ศึกษาจากการมีปฏิสัมพันธ์ เช่ น ความคิดริเริ่มสร้ างสรรค์ ความ
เฉลียวฉลาด ความเป็ นมิตร อารมณ์ และความรู้สึก
ประเภทของบุคลิกภาพ
• น.พ. ประสพ รัตนากร ให้ ความคิดเห็นว่ า บุคลิกภาพของมนุษย์ แบ่ ง
ออกเป็ น 8 ประเภท คือ
• 1. ประเภทปัญญาชน คนประเภทนีม้ ักใช้ สติปัญญาเป็ นเคริ่องกาหนด
พฤติกรรม ทาอะไรต้ องไตร่ ตรองอย่ างมีเหตุผล
• 2. ประเภทปากเป็ นเอก คนประเภทนีช้ อบใช้ วาจาเป็ นเครื่องมือในการ
ประกอบอาชีพ
• 3. ประเภทถืออานาจเป็ นใหญ่ คนประเภทนีช้ อบใช้ อานาจวางโต หรือแฝง
ไว้ ด้วยอานาจ
• 4. ประเภททีร่ ู้จักและเข้ าใจตนเอง คือ ประเภททีร่ ู้ฐานะของตนเองว่ าเป็ น
ใคร มีความสาคัญอย่ างไร
ประเภทของบุคลิกภาพ
• 5. ประเภทมีความอดทน คนประเภทนีจ้ ะมีความอดทน อดกลั้น
• 6. ประเภทเจ้ าอารมณ์ คนประเภทนีใ้ ช้ อารมณ์ เป็ นใหญ่ มีอารมณ์
รุนแรง เป็ นคนเจ้ าคิดเจ้ าแค้ น
• 7. ประเภทยึดระเบียบกฎเกณฑ์ คนประเภทนีน้ อกจากจะยึดระเบียบ
กฎเกณฑ์ แล้วยังเป็ นประเภทเถรตรง
• 8. ประเภทยึดถือสั งคม คนประเภทนีช้ อบทาตามสั งคม เปลีย่ นแปลง
ปรับปรุงสิ่ งต่ างๆ ตามสั งคม นิยมใช้ อุปกรณ์ เครื่องใช้ เครือ่ งสาอาง
เสื้อผ้ าตามแฟชั่น ตามสั งคม
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory)
• แนวคิดนีพ้ ยายามอธิบายและศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ ในแง่ มุมและ
ประเด็นที่สาคัญ ดังนี้
1. บุคคลได้ รับผลกระทบจากสิ่ งแวดล้อมทั้งทางกายภาพ สั งคม และ
วัฒนธรรม
2. ประสบการณ์ ในอดีตมีผลต่ อพฤติกรรมในปัจจุบันและอนาคตอย่ างไร
โดยเน้ นว่ าประสบการณ์ ในวัยเด็กมีอทิ ธิพลมีอทิ ธิพลต่ อพฤติกรรม
ต่ างๆ ในวัยผู้ใหญ่ ท้งั ทางบวกและทางลบอย่ างไร
3. ประสบการณ์ จิตใต้ สานึก ควบคุมและบงการพฤติกรรมของบุคคล
อย่ างไร
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory)
4. การพัฒนาของมนุษย์ มีข้นั ตอนการพัฒนา ไม่ มีการข้ ามขั้น ทุกขั้นตอน
มีความสาคัญและมีผลกระทบต่ อพัฒนาการในลาดับขั้นต่ อไป หาก
พัฒนาการขั้นใดไม่ มีเกิดขึน้ ในระยะที่ควรพัฒนา (Critical
Period) จะส่ งผลในแง่ ลบต่ อพัฒนาการและบุคลิกภาพในวัยนั้น
5. อธิบายถึงพฤติกรรมทีไ่ ร้ เหตุผล และเบี่ยงเบนจากปกติได้ ค่อนข้ าง
ชัดเจน
6. ได้ ข้อมูลส่ วนใหญ่ จากการศึกษาบุคคลทีม่ ีปัญหาทางอารมณ์ ทาง
ความคิด และบุคลิกภาพแต่ กม็ ีแค่ ยงิ่ ต่ อการฉายภาพพฤติกรรมปกติให้
เห็นชัดเจนขึน้
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• ฟรอยด์ (Sigmund Freud, 1856-1939) เป็ น
จิตแพทย์ ชาวออสเตรีย เป็ นคนแรกที่เห็นความสาคัญของพัฒนาการใน
วัยเด็ก โดยเชื่อว่ าเป็ นรากฐานของพัฒนาการของบุคลิกภาพตอนวัย
ผู้ใหญ่ ตามคากล่าวของนักกวี Wordsworth ที่ว่า "The
child is father of the man" และมีความเชื่อว่ า 5
ปี แรกของชีวติ มีความสาคัญมาก เป็ นระยะวิกฤติของพัฒนาการของชีวติ
บุคลิกภาพของผู้ใหญ่ มักจะเป็ นผลรวมของพัฒนาการใน 5 ปี แรกของ
ชีวติ
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• ฟรอยด์ เชื่อว่ า บุคลิกภาพของผู้ใหญ่ ทีแ่ ตกต่ างกัน ก็เนื่องจาก
ประสบการณ์ ของแต่ ละคน เมื่อเวลาอยู่ในวัยเด็ก และขึน้ อยู่กบั
ว่ าเด็กแต่ ละคน แก้ ปัญหาของความขัดแย้ งของแต่ ละวัยอย่ างไร
ทฤษฎีของฟรอยด์ มีอทิ ธิพลทางการ รักษาคนไข้ โรคจิต วิธีการ
นีเ้ รียกว่ า จิตวิเคราะห์ (Psycho analysis) โดยให้
คนไข้ ระบายปัญหาให้ จติ แพทย์ ฟัง
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• ฟรอยด์ เป็ นคนแรก ที่ได้ ให้ ความคิดเกีย่ วกับแรงผลักดันไร้ สานึก
(Unconscious drive) หรือแรงจูงใจไร้ สานึก
(Unconscious motivation) ว่ าเป็ นสาเหตุสาคัญ
ของพฤติกรรม และมีอทิ ธิพลต่ อบุคลิกภาพของมนุษย์
• ฟรอยด์ อธิบายว่ าจิตใจมนุษย์ มีสภาพคล้ายภูเขานา้ แข็งทีล่ อยอยู่ใน
มหาสมุทร ส่ วนทีอ่ ยู่เหนือผิวนา้ มีเป็ นส่ วนน้ อย ส่ วนทีอ่ ยู่ใต้ ผวิ นา้ มี
เป็ นส่ วนมาก ฟรอยด์ ได้ แบ่ งจิตของมนุษย์ ออกเป็ น 3 ระดับ คือ
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• จิตสานึก (Conscious) ภาวะจิตระดับสานึกเป็ นส่ วนของ
นา้ แข็งทีอ่ ยู่เหนือผิวนา้ ต้ องแสงสวางและอากาศปรากฏแก่สายตา คือ จิต
หรือพฤติกรรมทีอ่ ยู่ในความควบคุมของสานึกรู้ เป็ นระดับทีผ่ ู้แสดง
พฤติกรรมทราบและรู้ตัว
• จิตก่อนสานึก (Pre-conscious) คือส่ วนทีอ่ ยู่ปริ่มผิวนา้ แจ
ปรากฏขึน้ หรือจมหาบไป ระดับจิตก่อนสานึก เป็ นสิ่ งทีจ่ ะดึงขึน้ มา อยู่
ในระดับจิตสานึก ได้ ง่าย ถ้ าหากมีความจาเป็ นหรือต้ องการ เป็ นระดับ
ความรู้สึกตัวของบุคคลทีบ่ างครั้งรู้ตวั บางครั้งไม่ รู้ตัว
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• จิตไร้ สานึก (Unconscious) คือส่ วนทีจ่ มอยู่ใต้ นา้ ซึ่งมีปริมาณ
มหาศาล อยู่ในความมืด ไม่ ปรากฏแก่สายตา ห้ าม จิตระดับนีม้ ีกลไกทางจิต
หลายประเภท เช่ น แรงจูงใจ อารมณ์ ทถี่ ูกเก็บกด ความรู้สึกนึกคิด ความฝัน
ความจา ฯลฯ จิตใต้ สานึกสะสมประสบการณ์ ในอดีตมากมาย ถูกบีบอัด
เก็บกด หรือคอยเพือ่ ให้ ได้ สมความปารถนา เพือ่ ให้ ได้ จังหวะเหมาะสาหรับ
ตอบสนองต่ อสิ่ งเร้ าอันยังไม่ ได้ กระทาหรือยังไม่ สมปารถนาหรื อกระทา
ไม่ ได้ ในสภาวะปกติ เช่ น จารีตประเพณีห้าม กฎหมาย
• พลังจิตใต้ สานึกมีอทิ ธิพลเหนือจิตสานึกกระตุ้นให้ มพี ฤติกรรมประจาวัน
ทัว่ ๆ ไป เป็ นแรงจูงใจให้ เกิดพฤติกรรมไร้ เหตุผลและผิดปกติในลักษณะ
ต่ างๆ จิตใต้ สานึกนีม้ ักจะถูกกล่าวถึงในแง่ ลบเป็ นส่ วนใหญ่
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• ระดับจิตไร้ สานึกเป็ นระดับทีอ่ ยู่ในส่ วนลึกภายในจิตใจ จะดึงขึน้ มาถึง
ระดับจิตสานึกได้ ยาก แต่ สิ่งทีอ่ ยู่ในระดับไร้ สานึกก็มีอทิ ธิพลอย่ างมากต่ อ
พฤติกรรมของมนุษย์ เป็ นระดับทีเ่ ก็บกด (Repress) สิ่ งต่ างๆ ที่
ทาให้ รู้สึกเจ็บปวดหรือไม่ สบายใจ ให้ อยู่ในระดับไม่ รู้ตัว แต่ สิ่งเหล่านีจ้ ะ
หลุดออกมาในรูปของ ความฝัน หรือการพูดพลั้งปาก (Slipped
Tongue) พลังจิตใต้ สานึกทีถ่ ูกเก็บกดไว้ มักแปรรูปเป็ นพฤติกรรม
ผิดปกติ เช่ น หวาดระแวง วิตกกังวล ซึมเศร้ า นอนไม่ หลับ
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• ฟรอยด์ กล่าวว่ า มนุษย์ เรามีสัญชาติญาณติดตัวมาแต่ กาเนิด
สัญชาตญาณเป็นตัวขับบุคลิกภาพ พฤติกรรม
ส่วนใหญ่ถูกกาหนดโดยสัญชาตญาณ
• สั ญชาตญาณบางอย่ าง จะถูกเก็บกดไว้ ในจิตไร้ สานึก ฟรอยด์ ได้
ตั้งสมมติฐานว่ า มนุษย์ เรามีพลังงานอยู่ในตัวตั้งแต่ เกิด เรียกพลังงานนี้
ว่ า "Libido" เป็ นพลังงานทีท่ าให้ คนเราอยากมีชีวติ อยู่ อยาก
สร้ างสรรค์ และอยากจะมีความรัก มีแรงขับทางด้ านเพศ หรือกามารมณ์
(Sex) เพือ่ จุดเป้าหมาย คือความสุ ขและความพึงพอใจ
(Pleasure)
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• แรงขับของสัญชาติญาณเริม
่ จากความต้องการ
ของร่างกายส่วนต่างๆ ซึ่งผลักดันให้คนต้อง
กระทาเพือ
่ สนองความต้องการของร่างกาย เมื่อ
ได้รบ
ั การสนองแล้วร่างกายจะกลับเข้าสู่สภาพ
สมดุล เมือ
่ ไม่ได้รบ
ั การตอบสนองคนเราจะรูส
้ ก
ึ
ปวดร้าวหงุดหงิด ความสุขจะเกิดขึน
้ เมื่อแรง
กระตุน
้ และการเรียกร้องถูกลดลง
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• สัญชาติญานมีลก
ั ษณะสี่อย่าง
1. Source สิ่งที่รา่ งกายขาด
2. Aim การสนองความต้องการ
3. Inputs สิ่งที่ขบ
ั ให้เกิดพฤติกรรม
4. Object สิ่งที่ทาให้สัญชาตญานสามารถบรรลุ
เป้าหมายได้ ซึ่งในโลกเรามีอยูม
่ ากมายทีจ
่ ะ
สนองความสุขของร่างกายได้ สัญชาติญาณจะ
เลือกของทีท
่ าให้รา่ งกายมีสข
ุ มากทีส
่ ด
ุ มีแฟน/
เปลี่ยนแฟน แก้แค้น/หาแพะรับบาป ฆ่าคน/
ทาอัตวิบากกรรม มีเซ็กส์/สาเร็จความใคร่ดว
้ ย
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• ฟรอยด์ ได้ แบ่ งสั ญชาติญาณออกเป็ น 2 ชนิดคือ
1) สั ญชาติญาณเพือ่ การดารงชีวติ (Life instinct) โดยหลักแล้วคือความ
ต้ องการทางกายภาพ อาหาร นา้ ความต้ องการทีจ่ ะมีชีวติ อยู่ ความ
ต้ องการทางเพศเพือ่ ให้ เกิดการสื บพันธุ์และแสวงหาความสุ ข มีพลัง
สาคัญ คือ libido ที่คอยขับเคลือ่ นพฤติกรรม
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
2) สั ญชาติญาณเพือ่ ความตาย (Death instinct) หรือเรียกว่า
Thanatos เป็นสัญชาติญาณแห่งการทาลายล้าง
เป็นพลังตรงข้ามกับสัญชาติญาณเพือ
่ การ
ดารงชีวต
ิ เป้าหมายของทุกชีวต
ิ ก็คอ
ื ความตาย
มนุษย์ดน
ิ้ รนทีจ
่ ะกลับไปสู่สภาพเป็นธุลเี หมือน
ก่อนเกิดนัน
่ ก็คือความตายเพือ
่ ยุตค
ิ วามปวดร้าว
ดิ้นรน ถ้าเราไม่ทาให้ตว
ั เองตายก็จะต้องทาให้
ผู้อื่นตาย เป็นสัญชาติญาณแห่งความก้าวร้าว
• โดยทัว่ ไปแล้วสั ญชาติญาณทั้งสองอย่ างแสดงออกทางสั งคมไม่ ได้ สะดวก
จึงมักถูกเก็บกดอยู่ในจิตไร้ สานึก เช่ น การมีเซ็กส์ ไปเรื่อยๆ หรือการฆ่ า
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• มนุษย์มใ
ิ ช่จะเป็นมิตรและอ่อนโยนมุง่ แสวงหา
ความรักและรูจ
้ ักแต่การป้องกันตัวเองเท่านัน
้ แต่
มนุษย์มีความต้องการทีก
่ า้ วร้าวมากเพราะเป็น
สัญชาติญาณ
• ผลก็คือผูใ
้ กล้เคียงมิเพียงแต่เป็นคนทีช
่ ว
่ ยเหลือ
และเป็นคูท
่ างเพศ แต่เป็นเป้าหมายทีเ่ ย้ายวนให้
ทาร้าย ถูกเอาเปรียบและถูกใช้ทางเพศโดยไม่
ยินยอม ถูกปล้น ถูกทาให้อาย ทาให้เจ็บ ถูก
ทรมานและฆ่าทิง้
• มนุษย์เมือ
่ ทาผิดก็เป็นผูก
้ ล้าทีจ
่ ะเถียงและปฏิเสธ
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• โครงสร้ างบุคลิกภาพ
• Freud ได้ อธิบายโครงสร้ างทางจิตหรือโครงสร้ างของบุคลิกภาพ
ว่ าประกอบด้ วย 3 ส่ วน คือ
• Id เป็ นส่ วนหนึ่งของบุคลิกภาพทีต่ ิดตัวเรามาตั้งแต่ เกิด แต่ เป็ นส่ วนที่
อยู่ในจิตไร้ สานึก เป็ นสั ญชาติญาณดิบของมนุษย์ ทตี่ ้ องการให้ สนองความ
ต้ องการส่ วนตัวของตนเอง มีหลักการที่จะสนองความต้ องการทีเ่ ป็ น
ความสุ ขของตนเองเท่ านั้น เอาแต่ ได้ อย่ างเดียว และเป้าหมายก็คอื หลัก
ความพึงพอใจ (Pleasure Principle)
• Id จะผลักดันให้ Ego ประกอบกิจกรรมในสิ่ งต่ างๆ ตามที่ Id
ต้ องการ
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• Freud รู้สึกว่าส่วนนี้ของจิตไม่สามารถเข้าถึง
มันได้โดยสานึก ส่วนหนึง่ เขามองว่ามันเป็น
เหมือนกล่องทิง้ ของทีไ
่ ม่ใช้แล้ว ที่มีแรงกระตุน
้
ความรูส
้ ึก ความคิดคานึง ที่ผูกติดกับความกระวน
กระวายใจ ความขัดแย้งภายใน ความเจ็บปวด
ความรูส
้ ึกและความคิดเหล่านี้ไม่ได้หายไปแต่มน
ั
ยังคงอยู่ มีอิทธิพลต่อการกระทาของคนเราและ
ต่อความสานึกของเรา
• อิดถูกควบคุมด้วยกฎความพึงพอใจกับความทุกข์
the pleasure-pain principle
• ไม่มีสานึกเรือ
่ งเวลา ไม่มีตรรกะ เน้นเรือ
่ งเพศ
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• อีโกไม่ได้แยกออกจากอิดโดยเด็ดขาด ส่วนล่าง
ของอีโกยังผสมกับอิดอยู่ และส่วนทีถ
่ ก
ู กด
(repressed) ก็ผสมกับอิดด้วย และกลายเป็น
ส่วนหนึง่ ของอิด
• The repressed is only cut off sharply
from the ego by the resistances of
repression; it can communicate with
the ego through the id."
• (Model of the mind which appears in
Freud's 1923 paper "The Ego and the
Id")
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• เด็กเกิดใหม่ถก
ู กดดันด้วยอิดอย่างมาก เป็นแบบ
ถูกครอบงาด้วยอารมณ์ Id-ridden ที่เป็นอย่างนั้นก็
เพราะเด็กจะมีแรงผลักดันและแรงกระตุน
้ ทาง
อารมณ์สูงมาก drives and impulses
• นอกจากนีเ้ ด็กยังต้องการการตอบสนองอารมณ์
โดยฉับพลัน ไม่มีสานึกรับผิดชอบ
• Id รับผิดชอบต่ออารมณ์ความต้องการพืน
้ ฐาน เช่น
ทางเพศ อาหาร และแรงกระตุน
้ ความก้าวร้าว
(aggressive impulses) และเรียกร้องต้องการการ
ตอบสนองโดยฉับพลัน
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• Ego เป็ นส่ วนของบุคลิกภาพ ทีม่ ีพฒ
ั นาการมาตั้งแต่ การทีท่ ารกได้ ติดต่ อ
หรือมีปฎิสัมพันธ์ กบั โลกภายนอก หลักการที่ Ego ใช้ คอื หลักแห่ งความ
เป็ นจริง (Reality Principle) เป็ นส่ วนของจิตใจที่ดาเนินโดยอาศัยเหตุผล
ความเป็ นจริงของสั งคม และสิ่ งแวดล้อม
• ego เชื่อมต่อระหว่าง id กับ super-ego และ
โลกภายนอก หน้าทีข
่ องมันก็คือ หาความสมดุล
ระหว่างความต้องการดิบๆทีเ่ ป็น primitive
drives กับคุณธรรม และความเป็นจริง ใน
ขณะเดียวกันก็จะต้องทาให้ id และ superego
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• Ego เป็ นตัวกลางทีจ่ ะตัดสิ นว่ าจะดาเนินกิจกรรมตามความต้ องการของ Id
หรือไม่ โดยใช้ หลักการของความเป็ นจริงในสั งคม บุคคลทีม่ ีบุคลิกภาพ
ปกติ คือ บุคคลที่ Ego สามารถทีป่ รับตัวให้ เกิดสมดุลระหว่ างความต้ องการ
ของ Id โลกภายนอก และ Superego
• Its main concern is with the individual's safety and
allows some of the id's desires to be expressed, but
only when consequences of these actions are
marginal. Ego defense mchanisms are often used
by the ego when id behaviour conflicts with reality
and either society's morals, norms, and taboos or
the individual's expectations as a result of the
internalization of these morals, norms, and taboos.
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• Superego เป็ นส่ วนทีค่ วบคุมการดาเนินการของ Ego อีก
ชั้นหนึ่ง ทีท่ าหน้ าทีเ่ กีย่ วกับความรู้สึกผิดชอบชั่วดี โดยยึดหลัก
Morality Principle และการอบรมเลีย้ งดู เป็ นส่ วน
ของบุคลิกภาพทีเ่ กิดขึน้ ในระยะที่ 3 ของพัฒนาการที่ชื่อว่ า
"Phallic Stage" เป็ นส่ วนของบุคลิกภาพทีต่ ้งั มาตรการ
ของพฤติกรรมให้ แต่ ละบุคคล โดยรับค่ านิยมและมาตรฐานจริยธรรม
ของบิดามารดา เป็ นของตน โดยตั้งเป็ นมาตรการความประพฤติ
มาตรการนีจ้ ะเป็ นเสี ยงแทนบิดามารดา คอยบอกว่ าอะไรควรทา
หรือไม่ ควรทา
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• มาตรการของพฤติกรรมโดยมากได้ มาจากกฎเกณฑ์ ต่างๆ ทีพ่ ่อแม่ สอน
และ มักจะเป็ นมาตรฐานจริยธรรม และค่ านิยมต่ างของพ่อแม่ ฟรอยด์
กล่าวว่ าเป็ นผลของการปรับของ Oedipus และ Electra Complex ซึ่ง
นอกจาก ทาให้ เด็กชายเลียนแบบพฤติกรรมของ "ผู้ชาย" จากบิดา และ
เด็กหญิงเลียนแบบพฤติกรรมของ "ผู้หญิง" จากมารดาแล้ว ยังยึดถือ
หลักจริยธรรม ค่ านิยมของบิดามารดา เป็ นมาตรการของพฤติกรรมด้วย
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• Superego แบ่ งเป็ น 2 อย่ างคือ
1. Conscience ซึ่งคอยบอกให้ หลีกเลีย่ งพฤติกรรมทีไ่ ม่ พงึ ปารถนา
2. "Ego ideal" ซึ่งสนับสนุนให้ มีความประพฤติ
ดี"Conscience" มักจะเกิดจากการขู่ว่าจะทาโทษ เช่ น "ถ้ าทา
อย่ างนั้นเป็ นเด็กไม่ ดี ควรจะละอายแก่ใจที่ประพฤติเช่ นนั้น" ส่ วน "Ego
ideal" มักจะเกิดจากการให้ แรงเสริมบวก หรือการยอมรับ เช่ น แม่ รัก
หนู เพราะหนูเป็ นเด็กดี
• ฟรอยด์ ถือว่ าความต้ องการทางเพศเป็ นแรงขับ และไม่ จาเป็ นจะอยู่ในระดับ
จิตสานึกเสมอไป แต่ จะอาจอยู่ในระดับจิตไร้ สานึก
(Unconscious) และมีพลังงานมาก
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• ความคิดของฟรอยด์ เกีย่ วกับแรงขับระดับจิตไร้ สานึก เป็ นประโยชน์ ใน
การเข้ าใจพฤติกรรมของคน ซึ่งปัจจุบันนีน้ ักจิตวิทยาส่ วนใหญ่ ยอมรับ
ความคิดของฟรอยด์ เกีย่ วกับ Unconscious
motivation แม้ ว่าจะไม่ รับหลักการของฟรอยด์ ท้งั หมดฟรอยด์
กล่าวว่ า พัฒนาการทางบุคลิกภาพเปลีย่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะ
ขั้นวัยทารก วัยเด็ก และวัยรุ่น ระบบทั้ง 3 ของบุคลิกภาพ คือ Id,
Ego และ Superego จะทางานประสานกันดีขึน้ เนื่องจากเด็ก
มีปฏิสัมพันธ์ กบั สิ่ งแวดล้อม หรือโลกภายนอกมากขึน้ ยิง่ โตขึน้ Ego ก็
ยิง่ แข็งแกร่ งขึน้ และสามารถทีจ่ ะควบคุม Id ได้ มากขึน้
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• ขั้นตอนพัฒนาการทางบุคลิกภาพของ Freud
• พลังงาน "Libido" เป็ นพลังงานแห่ งสั ญชาติญาณเพือ่ การมีชีวติ
มีเป้าหมายคือความสุ ขและความพึงพอใจ (Pleasure) โดยมีส่วน
ต่ างๆ ของร่ างกายทีไ่ วต่ อความรู้สึกเป็ นจุดตอบสนองความต้ องการ และ
ได้ เรียกส่ วนเรียกนีว้ ่ า อีโรจีเนียสโซน (Erogenous
Zones) แบ่ งออกเป็ นส่ วนต่ างดังนี้
• ส่ วนปาก ช่ องปาก (Oral)
• ส่ วนทางทวารหนัก (Anal)
• ส่ วนทางอวัยวะสื บพันธุ์ (Genital Organ)
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• ฟรอยด์ กล่าวว่ าความพึงพอใจในส่ วนต่ างๆ ของร่ างกายนี้ เป็ นไปตามวัย
เริ่มตั้งแต่ วยั ทารก จนถึงวัยผู้ใหญ่ ซึ่งแบ่ งออกเป็ น 5 ขั้น คือ
• 1. ขั้นปาก (Oral Stage)
• 2. ขั้นทวารหนัก (Anal Stage)
• 3. ขั้นอวัยวะเพศ (Phallic Stage)
• 4. ขั้นแฝง (Latence Stage)
• 5. ขั้นสนใจเพศตรงข้ าม (Genital Stage)
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• 1) ขั้นปาก (Oral Stage) อายุระหว่ าง 0-18 เดือน ฟรอยด์
เรียกขั้นนีว้ ่ า เป็ นขั้นปากเพราะความพึงพอใจอยู่ทชี่ ่ องปาก เริ่มตั้งแต่ เกิด
เด็กอ่อนจนถึงอายุราวๆ 2 ปี หรือวัยทารก เป็ นวัยที่ความพึงพอใจ เกิด
จากการดูดนมแม่ นมขวด และดูดนิว้ เป็ นต้ น ในวัยนีค้ วามคับข้ องใจ จะ
ทาให้ เกิดภาวะทีเ่ รียกว่ า "การติดตรึงอยู่กบั ที"่ (Fixation) ได้
และมีปัญหาทางด้ านบุคลิกภาพ เรียกว่ า "Oral
Personality" มีลกั ษณะทีช่ อบพูดมาก และมักจะติดบุหรี่ เหล้า
และชอบดูด หรือกัดอยู่เสมอ โดยเฉพาะเวลาทีม่ ีความเครียด บางครั้งจะ
แสดงด้ วยการดูดนิว้ หรือดินสอ ปากมีลกั ษณะแบบนีอ้ าจจะชอบพูดจา
ถากถาง เหน็บแนม เสี ยดสี ผู้อนื่
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• 2) ขั้นทวารหนัก (Anal Stage) อายุระหว่ าง 18 เดือน –
3 ปี ฟรอยด์ กล่าวว่ า เด็กวัยนีไ้ ด้ รับความพึงพอใจทางทวารหนัก คือ
จากการขับถ่ ายอุจจาระ และในระยะซึ่งเป็ นสาเหตุของความขัดแย้ง และ
ความคับข้ องใจของเด็กวัยนี้ เพราะพ่อแม่ มักจะหัดให้ เด็กใช้ กระโถน
และต้ องขับถ่ ายเป็ นเวลา เนื่องจากเจ้ าของความต้ องการของผู้ฝึก และ
ความต้ องการของเด็ก เกีย่ วกับการขับถ่ ายไม่ ตรงกันของเด็ก คือความ
อยากทีจ่ ะถ่ ายเมื่อไรก็ควรจะทาได้ เด็กอยากจะขับถ่ ายเวลาทีม่ ีความ
ต้ องการ กับการทีพ่ ่อแม่ หัดให้ ขับถ่ ายเป็ นเวลา บางทีเกิดความขัดแย้ ง
มาก
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• อาจจะทาให้ เกิด Fixation และทาให้ เกิดมีบุคลิกภาพนีเ้ รียกว่ า
"Anal Personality" ผู้ทมี่ ีพฤติกรรมแบบนี้ อาจจะเป็ น
คนทีช่ อบความเป็ นระเบียบเรียบร้ อยเป็ นพิเศษ และค่ อนข้ างประหยัด
มัธยัสถ์ หรืออาจมีบุคลิกภาพตรงข้ าม คืออาจจะเป็ นคนทีใ่ จกว้ าง และ
ไม่ มีความเป็ นระเบียบ เห็นได้ จากห้ องทางานส่ วนตัวจะรกไม่เป็ น
ระเบียบ
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• 3) ขั้นอวัยวะเพศ (Phallic Stage) อายุระหว่ าง 3-5 ปี ความพึง
พอใจของเด็กวัยนีอ้ ยู่อวัยวะสื บพันธุ์ เด็กมักจะจับต้ องลูกคลาอวัยวะเพศ ระยะนี้
ฟรอยด์ กล่ าวว่ า เด็กผู้ชายมีปมออดิปุส (Oedipus Complex)
ฟรอยด์ อธิบายการเกิดของปมออดิปุสว่ า เด็กผู้ชายติดแม่ และรักแม่ มาก และ
ต้ องการทีจ่ ะเป็ นเจ้ าของแม่ แต่ เพียงคนเดียว และต้ องการร่ วมรักกับแม่ แต่
ขณะเดียวกันก็ทราบว่ าแม่ และพ่อรักกัน และก็รู้ ดวี ่ าตนด้ อยกว่ าพ่อทุกอย่ าง ทั้ง
ด้ านกาลังและอานาจ ประกอบกับความรักพ่อ และกลัวพ่อ ฉะนั้นเด็กก็พยายามที่
จะเก็บกดความรู้ สึก ทีอ่ ยากเป็ นเจ้ าของแม่ แต่ คนเดียว และพยายามทาตัวให้
เหมือนกับพ่อทุกอย่ างฟรอยด์ เรียกกระบวนนีว้ ่ า "Resolution of
Oedipal Complex" เป็ นกระบวนการทีเ่ ด็กชายเลียนแบบพ่อ ทา
ตัวให้ เหมือน "ผู้ชาย"
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• ส่ วนเด็กหญิงมีปมอีเล็คตรา (Electra Complex) ซึ่งฟรอยด์ กไ็ ด้
ความคิดมาจากนิยายกรีก เหมือนกับปมออดิปุส ฟรอยด์ อธิบายว่ า แรกทีเดียว
เด็กหญิงก็รักแม่ มากเหมือนเด็กชาย แต่ เมื่อโตขึน้ พบว่ าตนเองไม่ มีอวัยวะเพศ
เหมือนเด็กชาย และมีความรู้ สึกอิจฉาผู้ทมี่ อี วัยวะเพศชาย แต่ เมื่อทาอะไรไม่ ได้ ก็
ยอมรับ และโกรธแม่ มาก ถอนความรักจากแม่ มารักพ่อ ทีม่ ีอวัยวะเพศที่ตน
ปรารถนาจะมี แต่ กร็ ู้ ว่าแม่ และพ่อรักกัน เด็กหญิงจึงแก้ ปัญหาด้ วยการใช้ กลไก
ป้ องกันตน โดยเก็บความรู้ สึกความต้ องการของตน (Represtion)
และเปลีย่ นจากการโกรธเกลียดแม่ มาเป็ นรักแม่ (Reaction
Formation) ขณะเดียวกันก็อยากทาตัวให้ เหมือนแม่ จึงเลียนแบบ
สรุปได้ ว่าเด็กหญิงมีความรักพ่อ แต่ กร็ ู้ ว่าแย่ งพ่อมาจากแม่ ไม่ ได้ จึงเลียนแบบแม่
คือ ถือแม่ เป็ นแบบฉบับ หรือต้ นแบบของพฤติกรรมของ "ผู้หญิง"
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• 4) ขั้นแฝง (Latency Stage) เด็กวัยนีอ้ ยู่ระหว่ างอายุ
6-12 ปี เป็ นระยะทีฟ่ รอยด์ กล่าวว่ า เด็กเก็บกดความต้ องการทาง
เพศ หรือความต้ องการทางเพศสงบลง (Quiescence
Period) เด็กชายมักเล่น หรือจับกลุ่มกับเด็กชาย ส่ วนเด็กหญิงก็
จะเล่น หรือจับกลุ่มกับเด็กหญิง
• 5) ขั้นสนใจเพศตรงข้ าม (Genital Stage) วัยนีเ้ ป็ นวัยรุ่น
เริ่มตั้งแต่ อายุ 12 ปี ขึน้ ไป จะมีความต้ องการทางเพศ วัยนีจ้ ะมีความ
สนใจในเพศตรงข้ าม ซึ่งเป็ นระยะเริ่มต้ นของวัยผู้ใหญ่
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• ฟรอยด์ กล่าวว่ า ถ้ าเด็กโชคดี และผ่ านวัยแต่ ละวัย โดยไม่ มีปัญหาก็จะ
เจริญเติบโต เป็ นผู้ใหญ่ ทมี่ ีบุคลิกภาพปกติ แต่ ถ้าเด็กมีปัญหา ในแต่ ละขั้น
ของพัฒนาการ ก็จะมีบุคลิกภาพผิดปกติ ซึ่งฟรอยด์ ได้ ต้งั ชื่อตามแต่ ละวัย
เช่ น "ผู้ใหญ่ ทมี่ ี Oral Personality เป็ นผู้ทมี่ ีความต้ องการที่
จะหาความพึงพอใจทางปากอย่ างไม่ จากัด เช่ น สู บบุหรี่ กัดนิว้ ดูดนิว้
รับประทานมาก มีความสุ ขในการกิน และชอบดื่ม คนทีม่ ี Oral
Personality อาจจะเป็ นผู้ทเี่ ห็นโลกในทางดี (Optimist)
มากเกินไป จนถึงกับเป็ นคนทีไ่ ม่ ยอมรับความจริงของชีวติ หรื ออาจจะเป็ น
คนที่แสดงตนว่ าเป็ นคนเก่ง ไม่ กลัวใคร และใช้ ปากเป็ นเครื่องมือ เช่ น ชอบ
พูดเยาะเย้ ย ถากถางและกระแนะกระแหนผู้อนื่
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• Fixation ในระยะที่ 2 คือ อายุ 2-3 ปี จะทาให้ มีบุคลิกภาพแบบ
Anal Personality ซึ่งอาจจะมีลกั ษณะต่ างๆ ดังนี้
• (1) เป็ นคนเจ้ าสะอาดมากเกินไป (Obsessively Clean)
และเรียบร้ อยเจ้ าระเบียบ เข้ มงวด และเป็ นคนทีต่ ้ องทาอะไรตามกฎเกณฑ์
เปลีย่ นแนวไม่ ได้
• (2) อาจจะมีลกั ษณะตรงข้ ามเลย คือ รุงรัง ไม่ เป็ นระเบียบ
• (3) อาจจะเป็ นคนสุ รุ่ยสุ ร่าย หรือตระหนี่กไ็ ด้ ผู้ชายทีแ่ ต่ งงานก็คดิ ว่ า
ตนเป็ นเจ้ าของ "ผู้หญิง" ที่เป็ นภรรยาเก็บไว้ แต่ ในบ้ าน หึงหวงจนทาให้
ภรรยาไม่ มีความสุ ข ผู้หญิงทีม่ ี Anal personality ก็จะหึง
หวงสามีมาก จนทาให้ ชีวติ สมรสไม่ มีความสุ ข
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• องค์ ประกอบทีม่ ีส่วนพัฒนาการทางบุคลิกภาพมีหลายอย่ างซึ่งฟรอยด์ ได้
กล่าวไว้ ดังต่ อไปนี้
• 1. วุฒิภาวะ ซึ่งหมายถึงขั้นพัฒนาการตามวัย
• 2. ความคับข้ องใจ ที่เกิดจากความสมหวังไม่ สมหวัง เมื่อมีปฏิสัมพันธ์
กับสิ่ งแวดล้อมภายนอก
• 3. ความคับข้ องใจ เนื่องมาจากความขัดแย้ งภายใน
• 4. ความไม่ พร้ อมของตนเอง ทั้งทางด้ านร่ างกาย ด้ านเชาวน์ ปัญญา และ
การขาดประสบการณ์
• 5. ความวิตกกังวล เนื่องมาจากความกลัว หรือความไม่ กล้าของตนเอง
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• ฟรอยด์ เชื่อว่ า ความคับข้ องใจ เป็ นพืน้ ฐานสาหรับพัฒนาการทาง
บุคลิกภาพ แต่ ต้องมีจานวนพอเหมาะทีจ่ ะช่ วยพัฒนา Ego แต่ ถ้ามี
ความคับข้ องใจมากเกินไป ก็จะเกิดมีปัญหา และทาให้ เกิดกลไกในการ
ป้องกันตัว (Defense Mechanism) ซึ่งเป็ นวิธีการ
ปรับตัวในระดับจิตไร้ สานึกกลไกในการป้ องกันตัวมักจะเป็ นสิ่ งทีค่ น
ทัว่ ไปนาไปใช้ ในชีวติ ประจาวันของบุคคลปกติทุกวัย ตั้งแต่ อนุบาล
จนถึงวัยชรา
• กลไกในการป้ องกันตัว (Defense Mechanism)
ฟรอยด์ และบุตรีแอนนา ฟรอยด์ ได้ แบ่ งประเภทกลไกในการป้องกันตัว
ดังต่ อไปนี้
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• การเก็บกด (Repression) หมายถึง การเก็บกดความรู้สึกไม่
สบายใจ หรือความรู้สึกผิดหวัง ความคับข้ องใจไว้ ในจิตใต้ สานึก จนกระทั่ง
ลืมกลไกป้องกันตัวประเภทนีม้ ีอนั ตราย เพราะถ้ าเก็บกดความรู้ สึกไว้ มาก
จะมีความวิตกกังวลใจมาก และอาจทาให้ เป็ นโรคประสาทได้
• การป้ายความผิดให้ แก่ผู้อนื่ (Projection) หมายถึง การลดความ
วิตกกังวล โดยการป้ายความผิด ให้ แก่ผู้อนื่ ตัวอย่ าง ถ้ าตนเองรู้สึกเกลียด
หรือไม่ ชอบใครที่ตนควรจะชอบก็อาจจะบอกว่ า คนนั้นไม่ ชอบตน เด็กบาง
คนที่โกงในเวลาสอบ ก็อาจจะป้ายความผิด หรือใส่ โทษว่ าเพือ่ โกง
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• การหาเหตุผลเข้ าข้ างตนเอง (Rationalization) หมายถึง
การปรับตัว โดยการหาเหตุผลเข้ าข้ างตนเอง โดยให้ คาอธิบายทีเ่ ป็ นที่
ยอมรับสาหรับคนอืน่ ตัวอย่ างเช่ น พ่อแม่ ทตี่ ีลูก มักจะบอกว่ า การตีทาเพือ่
เด็ก เพราะเด็กต้ องได้ รับการทาโทษเป็ นบางครั้งจะได้ เป็ นคนดี พ่ อแม่ จะไม่
ยอมรับว่ าตี เพราะโกรธลูก นักเรียนทีส่ อบตกก็อาจจะอ้างว่ าไม่ สบาย
แทนทีจ่ ะบอกว่ าไม่ ได้ ดูหนังสื อ บางครั้งจะใช้ เหตุผลแบบ "องุ่นเปรี้ยว"
เช่ น นักเรียนอยากเรียนแพทยศาสตร์ แต่ สอบเข้ าไม่ ได้ ได้ วศิ วกรรมศาสตร์
อาจจะบอกว่ าเข้ าแพทย์ ไม่ ได้ กด็ ีแล้ว เพราะอาชีพแพทย์ เป็ นอาชี พที่เหน็ด
เหนื่อย ไม่ มีเวลาของตนเอง เป็ นวิศวกรดีกว่ า เพราะเป็ นอาชีพอิสระ "การ
หาเหตุผลเข้ าข้ างตนเอง" แตกต่ างกับการโกหก เพราะผู้แสดงพฤติกรรมไม่
รู้สึกว่ าตนเองทาผิด
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• การถดถอย (Regression) หมายถึง การหนีกลับไปอยู่ในสภาพอดีต
ทีเ่ คยทาให้ ตนมีความสุ ข ตัวอย่ างเช่ น เด็ก 2-3 ขวบ ทีช่ ่ วยตนเองได้ มีน้อง
ใหม่ เห็นแม่ ให้ ความเอาใจใส่ กบั น้ อง มีความรู้ สึกว่ าแม่ ไม่ รัก และไม่ สนใจตน
เท่ าทีเ่ คยได้ รับ จะมีพฤติกรรมถดถอยไปอยู่ในวัยทารกทีช่ ่ วยตนเองไม่ ได้ ต้ อง
ให้ แม่ ทาให้ ทุกอย่ าง
• การแสดงปฏิกริ ิยาตรงข้ ามกับความปรารถนาที่แท้ จริง (Reaction
Formation) หมายถึง กลไกป้ องกันตน โดยการทุ่มเทในการแสดง
พฤติกรรมตรงข้ ามกับความรู้ สึกของตนเอง ทีต่ นเองคิดว่ าเป็ นสิ่ งทีส่ ั งคม
อาจจะไม่ ยอมรับ ตัวอย่ างแม่ ทไี่ ม่ รักลูกคนใดคนหนึ่ง อาจจะมีพฤติกรรมตรง
ข้ าม โดยการแสดงความรักมากอย่ างผิดปกติ หรือเด็กทีม่ ีอคติต่อนักเรียน
ต่ างชาติทอี่ ยู่โรงเรียนเดียวกัน การจะแสดงพฤติกรรมเป็ นเพือ่ นทีด่ ตี ่ อนักเรียน
ผู้น้ัน โดยทาตนเป็ นเพือ่ นสนิท เป็ นต้ น
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• การสร้ างวิมานในอากาศ หรือการฝันกลางวัน (Fantasy หรือ
Day dreaming) กลไกป้องกันตัวประเภทนี้ เป็ นการสร้ าง
จินตนาการ หรือมโนภาพ เกีย่ วกับสิ่ งทีต่ นมีความต้ องการ แต่ เป็ นไปไม่ ได้
ฉะนั้นจึงคิดฝัน หรือสร้ างวิมานในอากาศขึน้ เพือ่ สนองความต้ องการ
ชั่วขณะหนึ่ง เป็ นต้ นว่ า นักเรียนทีเ่ รียนไม่ ดี อาจจะฝันว่ าตนเรียนเก่ง มีมโน
ภาพว่ าตนได้ รับรางวัล มีคนปรบมือให้ เกียรติ เป็ นต้ น
• การแยกตัว (Isolation) หมายถึง การแยกตนให้ พ้นจาก
สถานการณ์ ทนี่ าความคับข้ องใจมาให้ โดยการแยกตนออกไปอยู่ตามลาพัง
ตัวอย่ างเช่ น เด็กทีค่ ดิ ว่ าพ่อแม่ ไม่ รัก อาจจะแยกตนปิ ดประตูอยู่คนเดียว
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• การหาสิ่ งมาแทนที่ (Displacement) เป็ นการระบาย
อารมณ์ โกรธ หรือคับข้ องใจต่ อคน หรือสิ่ งของ ที่ไม่ ได้ เป็ นต้ นเหตุของ
ความคับข้ องใจ เป็ นต้ นว่ า บุคคลทีถ่ ูกนายข่ มขู่ หรือทาให้ คบั ข้ องใจ
เมื่อกลับมาบ้ านอาจจะใช้ ภรรยา หรือลูกๆ เป็ นแพะรับบาป เช่ น อาจจะ
มีพฤติกรรมก้าวร้ าวต่ อภรรยา และลูก ๆ นักเรียนทีโ่ กรธครู แต่ ทาอะไร
ครูไม่ ได้ ก็อาจจะเลือกสิ่ งของ เช่ น โต๊ ะเก้าอีเ้ ป็ นสิ่ งแทนที่ เช่ น เตะโต๊ ะ
เก้าอี้
ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ ของฟรอยด์
• การเลียนแบบ (Identification) หมายถึง การปรับตัวโดยการ
เลียนแบบบุคคลทีต่ นนิยมยกย่ อง ตัวอย่ างเช่ น เด็กชายจะพยายามทาตัวให้
เหมือนพ่อ เด็กหญิงจะทาตัวให้ เหมือนแม่ ในพัฒนาการขั้นฟอลลิคของฟรอยด์
การเลียนแบบนอกจากจะเปลีย่ นพฤติกรรมให้ เหมือนบุคคลทีต่ นเลียนแบบ แม้
ยังจะยึดถือค่ านิยม และมีความรู้ สึกร่ วมกับผู้ทเี่ ราเลียนแบบในความสาเร็จ หรือ
ล้ มเหลวของบุคคลนั้น การเลียนแบบไม่ จาเป็ นจะต้ องเลียนแบบจากบุคคล
จริงๆ แต่ อาจจะเลียนแบบจากตัวเอกในละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ โดยมี
ความรู้ สึกร่ วมกับผู้แสดง เมื่อประสบความทุกข์ ความเศร้ าโศกเสี ยใจ หรือเมื่อ
มีความสุ ขก็จะพลอยเป็ นสุ ขไปด้ วย
• กลไกในการป้ องกันตัว เป็ นวิธีการทีบ่ ุคคลใช้ ในการปรับตัว เมื่อประสบปัญหา
ความคับข้ องใจ การใช้ กลไกป้ องกันจะช่ วยยืดเวลาในการแก้ ปัญหา เพราะจะ
ช่ วยให้ ผ่อนคลายความเครียด ความไม่ สบายใจ ทาให้ คดิ หาเหตุผล หรือแก้ ไข
ปัญหาได้
แนวคิดมนุษยนิยม
• ฐานคิดมาจากปรัชญาในกลุ่ม Existentialism ซึ่งมองมน
สุ ษย์ ในแง่ อตั ลักษณ์ เฉพาะตัวบุคคลมากกว่ าภาพรวมของบุคคล
• มีทศั นคติในการมองและอธิบายธรรมชาติมนุษย์ ในแง่ ดีงาม มีธรรมชาติ
ใฝ่ ดี ต้ องการพัฒนาตนเองให้ ดียงิ่ ขึน้
• เป้าหมายของทุกชีวติ คือ พัฒนาศักยภาพในตนเองให้ ถึงจุดสูงสุ ด รู้
คุณค่ าตนเอง มีความรับผิดชอบต่ อหน้ าที่ ต่ อตนเอง ต่ อการกระทาของ
ตน ยอมรับผลจากการกระทาของตนเอง
• หากบุคคลอยู่ในสิ่ งแวดล้อมทีด่ ีกจ็ ะสามารถพัฒนาตนเองไปสู่ความ
สมบูรณ์ แบบ
แนวคิดมนุษยนิยม
• Maslow กล่าวว่ า "มนุษย์ จะไม่ เข้ าใจตนเองจนกว่ า จะเกิดความ
ปรารถนาอย่ างแรงกล้าทีจ่ ะแสวงหาสิ่ งต่ อไปนีค้ อื ความต้ องการทีจ่ ะ
เข้ าใจตนเองอย่ างแท้ จริง ความบริบูรณ์ งอกงาม เอกลักษณ์ และความเป็ น
ตัวของตัวเอง และสิ่ งสาคัญที่ทฤษฎีของ Maslow เน้ นคือ
เอกลักษณ์ ของบุคคล ความสาคัญและความหมายของคุณค่ าต่ างๆ
(values) ศักยภาพสาหรับการชี้นาตนเอง และความต้ องการ
เจริญเติบโตของบุคคล" ซึ่งสิ่ งเหล่านีเ้ ป็ นอิทธิพลสาคัญของความคิดใน
ปัจจุบันเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
(Maslow’s Hierarchical Theory of
Motivation)
• เชื่อว่ าพฤติกรรมของมนุษย์ เป็ นจานวนมากสามารถอธิบายโดยใช้
แนวโน้ มของบุคคลในการค้ นหาเป้าหมายทีจ่ ะทาให้ ชีวติ ของเขาได้ รับ
ความต้ องการ ความปรารถนา และได้ รับสิ่ งทีม่ ีความหมายต่ อตนเอง
• กระบวนการของแรงจูงใจเป็ นหัวใจของทฤษฎีบุคลิกภาพของ
Maslow โดยเขาเชื่อว่ ามนุษย์ เป็ น “สั ตว์ ที่มีความต้ องการ”
(wanting animal) และเป็ นการยากทีม่ นุษย์ จะไปถึงขั้น
ของความพึงพอใจอย่ างสมบูรณ์
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
• กรอบความคิดทีส่ าคัญ ของทฤษฎีนี้ มีสามประการ คือ
• เมื่อบุคคลปรารถนาทีจ่ ะได้ รับความพึงพอใจและเมื่อบุคคลได้ รบั ความพึง
พอใจในสิ่ งหนึ่งแล้วก็จะยังคงเรียกร้ องความพึงพอใจสิ่ งอืน่ ๆ ต่ อไป ซึ่งถือ
เป็ นคุณลักษณะของมนุษย์ ซึ่งเป็ นผู้ทมี่ ีความต้ องการอยู่เสมอ
• ความปรารถนาของมนุษย์ น้ันติดตัวมาแต่ กาเนิดและความปรารถนาเหล่านี้
จะเรียงลาดับขั้นของความปรารถนา ตั้งแต่ ข้นั แรกไปสู่ ความปรารถนาขั้น
สู งขึน้ ไปเป็ นลาดับ
• มาสโลว์ มีการเรียงลาดับขั้นความต้ องการทีอ่ ยู่ในขั้นตา่ สุดจนถึงสู งสุ ด โดย
เชื่อว่ าบุคคลจะต้ องได้ รับความพึงพอใจเสี ยก่อนบุคคลจึงจะสามารถผ่ านพ้น
ไปสู่ ความต้ องการทีอ่ ยู่ในขั้นสู งขึน้ ตามลาดับ
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
• 1. ความต้ องการทางร่ างกาย ( Physiological needs )
• เป็ นความต้ องการขั้นพืน้ ฐานทีม่ อี านาจมากทีส่ ุ ดและสั งเกตเห็นได้ ชัด
ทีส่ ุ ดจากความต้ องการทั้งหมด เพราะเป็ นความต้ องการทีจ่ ะดารงชีวติ
ได้ แก่ ความต้ องการอาหาร นา้ ดื่ม ออกซิเจน การพักผ่ อนนอนหลับ ความ
ต้ องการทางเพศ ความต้ องการความอบอุ่น ตลอดจนความต้ องการทีจ่ ะถูก
กระตุ้นอวัยวะรับสั มผัส แรงขับของร่ างกายเหล่านีจ้ ะเกีย่ วข้ องโดยตรงกับ
ความอยู่รอดของชีวติ และร่ างกาย
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
• ความพึงพอใจทีไ่ ด้ รับ ในขั้นนีจ้ ะกระตุ้นให้ เกิดความต้ องการในขั้นทีส่ ู งกว่ า
และถ้ าบุคคลใดประสบความล้มเหลวทีจ่ ะสนองความต้ องการพืน้ ฐานนีก้ ็
จะไม่ ได้ รับการกระตุ้นให้ เกิดความต้ องการในระดับทีส่ ู งขึน้ ถ้ าความ
ต้ องการอย่ างหนึ่งยังไม่ ได้ รับความพึงพอใจ บุคคลก็จะอยู่ภายใต้ ความ
ต้ องการนั้นตลอดไป ซึ่งทาให้ ความต้ องการอืน่ ๆ ไม่ ปรากฏหรือกลายเป็ น
ความต้ องการระดับรองลงไป เช่ น คนทีอ่ ดอยากหิวโหยเป็ นเวลานานจะไม่
สามารถสร้ างสรรค์ สิ่งทีม่ ีประโยชน์ ต่อโลกได้ บุคคลเหล่านีจ้ ะมีความรู้สึก
เป็ นสุ ขเมื่อมีอาหารเพียงพอสาหรับเขาและจะไม่ ต้องการสิ่ งอืน่ ใดอีก ไม่ ว่า
จะเป็ นเสรีภาพ ความรัก ความรู้สึกต่ อชุ มชน การได้ รับการยอมรับ และ
ปรัชญาชีวติ
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
• ความต้ องการทางด้ านร่ างกายเป็ นเรื่องสาคัญทีจ่ ะเข้ าใจพฤติกรรมมนุษย์
ความเสี ยหายอย่ างรุนแรงของพฤติกรรมมีสาเหตุจากการขาดอาหารหรือ
นา้ ติดต่ อกันเป็ นเวลานาน ในปี ค.ศ. 1970 เครื่องบินของสายการบิน
Peruvian ตกลงทีฝ่ ั่งอ่าวอเมริกาใต้ ผ้ทู รี่ อดตายรวมทั้งพระนิกาย
Catholic อาศัยการมีชีวติ อยู่รอดโดยการกินซากศพของผู้ทตี่ ายจาก
เครื่องบินตก จากปรากฏการณ์ นีช้ ี้ให้ เห็นว่ าเมื่อมนุษย์ เกิดความหิวขึน้ จะมี
อิทธิพลเหนือระดับศีลธรรมจรรยา จึงไม่ ต้องสงสั ยเลยว่ ามนุษย์ มีความ
ต้ องการทางด้ านร่ างกายเหนือความต้ องการอืน่ ๆ และแรงผลักดันของความ
ต้ องการนีไ้ ด้ เกิดขึน้ กับบุคคลก่อนความต้ องการอืน่ ๆ
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
• 2. ความต้ องการความปลอดภัย (Safety or security needs)
• เมื่อความต้ องการทางด้ านร่ างกายได้ รับความพึงพอใจแล้วบุคคลก็จะ
พัฒนาการไปสู่ ข้นั ต่ อไป ความต้ องการนีจ้ ะสั งเกตได้ ง่ายในทารกและเด็ก
เล็ก เนื่องจากต้ องการความช่ วยเหลือและต้ องพึง่ พาอาศัยผู้อนื่ ทารกจะ
รู้สึกกลัวเมื่อถูกทิง้ ให้ อยู่ตามลาพัง พลังความต้ องการความปลอดภัยจะ
เห็นได้ ชัดเจนเช่ นกันเมื่อเด็กเกิดความเจ็บป่ วย ประสบอุบัติเหตุจะรู้สึก
กลัวและอาจแสดงออกด้ วยอาการฝันร้ ายและความต้ องการทีจ่ ะได้ รับ
ความปกป้องคุ้มครองและการให้ กาลังใจ
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
• พ่อแม่ ทเี่ ลีย้ งดูลูกอย่ างไม่ กวดขันและตามใจมากจนเกินไปจะไม่ ทาให้
เด็กเกิดความรู้สึกว่ าได้ รับความพึงพอใจด้ านความต้ องการความ
ปลอดภัย การให้ นอนหรือให้ กนิ ไม่ เป็ นเวลาไม่ เพียง แต่ ทาให้ เด็กสั บสน
เท่ านั้นแต่ ยงั ทาให้ เด็กรู้สึกไม่ มั่นคงในสิ่ งแวดล้อมรอบๆ ตัวเขา
สั มพันธภาพของพ่อแม่ ทไี่ ม่ ดีต่อกัน เช่ น ทะเลาะกันทาร้ ายร่ างกายซึ่ง
กันและกัน พ่อแม่ แยกกันอยู่ หย่ า ตายจากไป สภาพการณ์ เหล่านีจ้ ะมี
อิทธิพลต่ อความรู้สึกของเด็ก ทาให้ เด็กรู้ว่าสิ่ งแวดล้อมต่ างๆ ไม่ มั่นคง
ไม่ สามารถคาดการณ์ ได้ และนาไปสู่ ความรู้สึกไม่ ปลอดภัย
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
• ความต้ องการความปลอดภัยมีอทิ ธิพลต่ อบุคคลแม้ ว่าจะผ่ านพ้นวัยเด็กไป
แล้ว ในบุคคลทีท่ างานเป็ นผู้คุ้มครอง เช่ น ผู้รักษาเงิน นักบัญชี หรือทางาน
การประกัน และผู้ทที่ าหน้ าทีใ่ ห้ การรักษาพยาบาล เช่ น แพทย์ พยาบาล
บุคคลทั้งหมดทีก่ ล่าวมานีจ้ ะใฝ่ หาความปลอดภัยของผู้อนื่
• ศาสนาและปรัชญาทีม่ นุษย์ ยดึ ถือทาให้ เกิดความรู้สึกมั่นคง เพราะทาให้
บุคคลได้ จัดระบบตัวเองให้ มีเหตุผลและวิถีทางทีท่ าให้ รู้สึก “ปลอดภัย”
• ความต้ องการความปลอดภัยในเรื่องอืน่ ๆ จะเกีย่ วข้ องกับการเผชิญกับสิ่ ง
ต่ างๆ เหล่านี้ สงคราม อาชญากรรม นา้ ท่ วม แผ่ นดินไหว การจลาจล ความ
สั บสนไม่ เป็ นระเบียบของสั งคม
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
• อาการโรคประสาทในผู้ใหญ่ โดยเฉพาะโรคประสาทชนิดยา้ คิด-ยา้ ทา
(obsessive-compulsive neurotic) เป็ น
ลักษณะเด่ นชัดของการค้ นหาความรู้สึกปลอดภัย ผู้ป่วยโรคประสาทจะ
แสดงพฤติกรรมว่ าเขากาลังประสบเหตุการณ์ ทรี่ ้ ายกาจและกาลังมี
อันตรายต่ างๆ เขาจึงต้ องการมีใครสั กคนทีป่ กป้องคุ้มครองเขาและเป็ น
บุคคลทีม่ ีความเข้ มแข็งซึ่งเขาสามารถจะพึง่ พาอาศัยได้
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
• 3. ความต้ องการความรักและความเป็ นเจ้ าของ (Belongingness
and Love needs)
• ความต้ องการนีจ้ ะเกิดขึน้ เมื่อความต้ องการทางด้ านร่ างกาย และความ
ต้ องการความปลอดภัยได้ รับการตอบสนองแล้ว บุคคลต้ องการได้ รับความ
รักและต้ องการเป็ นเจ้ าของโดยการสร้ างความสั มพันธ์ กบั ผู้อนื่ เช่ น
ความสั มพันธ์ ภายในครอบครัวหรือกับผู้อนื่ สมาชิกภายในกลุ่มจะเป็ น
เป้าหมายสาคัญ บุคคลจะรู้สึกเจ็บปวดเมื่อถูกทอดทิง้ ไม่ มีใครยอมรับ ไม่ มี
เพือ่ น โดยเฉพาะเมื่อจานวนเพือ่ น ญาติพนี่ ้ อง ครอบครัวได้ ลดน้ อยลงไป
นักเรียนทีเ่ ข้ าโรงเรียนทีห่ ่ างไกลบ้ านจะเกิดความต้ องการเป็ นเจ้ าของอย่ าง
ยิง่ และจะแสวงหาอย่ างมากทีจ่ ะได้ รับการยอมรับจากกลุ่มเพือ่ น
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
• Maslow คัดค้ านFreud ที่ว่าความรักเป็ นผลมาจากการ
ทดแทนสั ญชาตญาณทางเพศ (sublimation) สาหรับ
Maslow ความรักไม่ ใช่ สัญลักษณ์ ของเรื่องเพศ (sex) ความ
รักทีแ่ ท้ จริงจะเกีย่ วข้ องกับความรู้สึกทีด่ ี ความสั มพันธ์ ของความรัก
ระหว่ างคน 2 คน จะรวมถึงความรู้สึกนับถือซึ่งกันและกัน การยกย่ อง
และความไว้ วางใจแก่กนั ความต้ องการความรักของคนจะเป็ นความรักที่
เป็ นไปในลักษณะทั้งการรู้จักให้ ความรักต่ อผู้อนื่ และรู้จักที่จะรับความรัก
จากผู้อนื่ การได้ รับความรักและได้ รับการยอมรับจากผู้อนื่ เป็ นสิ่ งทีท่ าให้
บุคคลเกิดความรู้สึกว่ าตนเองมีคุณค่า บุคคลทีข่ าดความรักก็จะรู้สึกว่ า
ชีวติ ไร้ ค่ามีความรู้สึกอ้างว้ างและเคียดแค้ น
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
• บุคคลต้ องการความรักและความรู้สึกเป็ นเจ้ าของ และการขาดสิ่ งนีม้ ักจะ
เป็ นสาเหตุให้ เกิดความข้ องคับใจและทาให้ เกิดปัญหาการปรับตัวไม่ ได้ และ
ความยินดีในพฤติกรรมหรือความเจ็บป่ วยทางด้ านจิตใจในลักษณะต่ างๆ
• สิ่ งทีค่ วรสั งเกต ก็คอื มีบุคคลจานวนมากลาบากใจทีจ่ ะเปิ ดเผยตัวเองเมื่อมี
ความสั มพันธ์ ใกล้ชิดสนิทสนมกับเพศตรงข้ าม เนื่องจากกลัวว่ าจะถูก
ปฏิเสธความรู้สึกเช่ นนีส้ ื บเนื่องมาจากประสบการณ์ ในวัยเด็ก การได้ รับ
ความรักหรือการขาดความรักในวัยเด็ก ย่ อมมีผลกับการเติบโตเป็ นผู้ใหญ่ ที่
มีวุฒิภาวะและการมีทศั นคติในเรื่องของความรัก Maslow
เปรียบเทียบว่ าความต้ องการความรักก็เป็ นเช่ นเดียวกับรถยนต์ ที่สร้ าง
ขึน้ มาโดยต้ องการก๊าซหรือนา้ มันนั่นเอง
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
• 4.ความต้ องการได้ รับความนับถือยกย่ อง ( Self-Esteem
needs)
• เมื่อความต้ องการได้ รับความรักและการให้ ความรักแก่ผ้อู นื่ เป็ นไปอย่ างมี
เหตุผลและทาให้ บุคคล เกิดความพึงพอใจแล้ว พลังผลักดันในขั้นที่ 3 ก็
จะลดลงและมีความต้ องการในขั้นต่ อไปมาแทนที่ มนุษย์ ต้องการที่จะ
ได้ รับความนับถือยกย่ องออกเป็ น 2 ลักษณะ คือ ลักษณะแรกเป็ นความ
ต้ องการนับถือตนเอง (self-respect) ส่ วนลักษณะที่ 2 เป็ น
ความต้ องการได้ รับการยกย่ องนับถือจากผู้อนื่ (esteem from
others
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
• 4.1 ความต้ องการนับถือตนเอง (self-respect) คือ ความ
ต้ องการมีอานาจ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความแข็งแรง มี
ความสามารถในตนเอง มีผลสั มฤทธิ์ไม่ ต้องพึง่ พาอาศัยผู้อนื่ และมีความ
เป็ นอิสระ ทุกคนต้ องการทีจ่ ะรู้สึกว่ าเขามีคุณค่ าและมีความสามารถที่จะ
ประสบความสาเร็จในงานภารกิจต่ างๆ และมีชีวติ ทีเ่ ด่ นดัง
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
• 4.2 ความต้ องการได้ รับการยกย่ องนับถือจากผู้อนื่ (esteem
from others) คือ ความต้ องการมีเกียรติยศ การได้ รับยกย่ อง
ได้ รับการยอมรับ ได้ รับความสนใจ มีสถานภาพ มีชื่อเสี ยงเป็ นที่กล่าว
ขาน และเป็ นทีช่ ื่นชมยินดี มีความต้ องการทีจ่ ะได้ รับความยกย่ องชมเชย
ในสิ่ งทีเ่ ขากระทาซึ่งทาให้ รู้สึกว่ าตนเองมีคุณค่าว่ าความสามารถของเขา
ได้ รับการยอมรับจากผู้อนื่
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
• บุคคลจะแสวงหาความต้องการได้รับการยกย่องเมื่อความต้องการความรัก
และความเป็ นเจ้าของได้รับการตอบสนองแล้ว และเป็ นไปได้ที่บุคคลจะ
ย้อนกลับจากระดับความต้องการขั้นที่ 4 กลับไปสู่ข้นั ที่ 3 อีก ถ้าความ
ต้องการขั้นที่ 3 ถูกกระทบกระเทือนหรื อสูญสลายไปทันทีทนั ใด เช่น
หญิงสาวคนหนึ่งซึ่งการตอบสนองความต้องการความรักของเธอดาเนิ น
ไปด้วยดี เธอจึงทุ่มเทกับธุรกิจและประสบความสาเร็ จเป็ นนักธุรกิจที่มี
ชื่อเสี ยง และอย่างไม่คาดฝันสามีได้จากเธอไป ปรากฏว่าเธอวางมือจาก
ธุรกิจต่างๆ และหันมาใช้ความพยายามที่จะเรี ยกร้องสามีให้กลับคืน และ
ถ้าเธอได้รับความพึงพอในความรักโดยสามีหวนกลับคืนมาเธอก็จะ
กลับไปเกี่ยวข้องในโลกธุรกิจอีกครั้งหนึ่ง
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
• ความพึงพอใจของความต้ องการได้ รับการยกย่ องเป็ นความรู้สึกและ
ทัศนคติของความเชื่อมั่นในตนเอง ความรู้สึกว่ าตนเองมีคุณค่ า การมี
พละกาลัง มีความสามารถ และรู้สึกว่ ามีชีวติ อยู่อย่ างมีประโยชน์ และเป็ น
บุคคลทีม่ ีความจาเป็ นต่ อโลก
• การขาดความรู้สึกต่ างๆ นีน้ าไปสู่ ความรู้สึกของปมด้ อยและไม่ พอเพียง
เกิดความรู้สึกอ่อนแอ ช่ วยเหลือตนเองไม่ ได้ สิ่ งต่ างๆ เหล่านีเ้ ป็ นการรับรู้
ตนเองในทางนิเสธ (negative) ก่อให้ เกิดความรู้สึกขลาดกลัว
และรู้สึกว่ าตนเองไม่ มีประโยชน์ และสิ้นหวังในสิ่ งต่ างๆ ทีเ่ กีย่ วข้ องกับ
ความต้ องการของชีวติ ประเมินตนเองต่ากว่ าชีวติ ความเป็ นอยู่
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
• การได้ รับความนับถือยกย่ องเป็ นผลมาจากความเพียรพยายาม และ
ความต้ องการนีอ้ าจนาไปสู่ การเกิดอันตราย ถ้ าบุคคลนั้นต้องการคา
ชมเชยจากผู้อนื่ มากกว่ าการยอมรับความจริง และเป็ นทีย่ อมรับกันว่ า
การได้ รับความนับถือยกย่ องมีพนื้ ฐานจากการกระทาของบุคคลมากกว่ า
การควบคุมจากภายนอก
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
• 5. ความต้ องการทีจ่ ะเข้ าใจตนเองอย่ างแท้จริง (SelfActualization needs)
• ถึงลาดับขั้นสุ ดท้ าย ถ้ าความต้ องการลาดับขั้นก่อนๆ ได้ ทาให้ เกิดความพึง
พอใจอย่ างมีประสิ ทธิภาพ ความต้ องการเข้ าใจตนเองอย่ างแท้ จริงก็จะ
เกิดขึน้ คือความปรารถนาในทุกสิ่ งทุกอย่ างซึ่งบุคคลสามารถจะได้ รับ
อย่ างเหมาะส บุคคลทีป่ ระสบผลสาเร็จในขั้นสู งสุ ดนีจ้ ะใช้ พลังอย่ างเต็มที่
ในสิ่ งทีท่ ้ าทายความสามารถและศักยภาพของเขาและมีความปรารถนาที่
จะปรับปรุงตนเอง พลังแรงขับของเขาจะกระทาพฤติกรรมตรงกับ
ความสามารถของตน
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
• การเข้ าใจตนเองอย่ างแท้ จริงเป็ นความต้ องการอย่ างหนึ่งของบุคคลที่จะ
บรรลุถึงวจุดสู งสุ ดของศักยภาพ เช่ น “นักดนตรีกต็ ้ องใช้ ความสามารถ
ทางด้ านดนตรี ศิลปิ นก็จะต้ องวาดรูป กวีจะต้ องเขียนโคลงกลอน ถ้ า
บุคคลเหล่านีไ้ ด้ บรรลุถึงเป้าหมายทีต่ นตั้งไว้ กเ็ ชื่อได้ว่าเขาเหล่านั้นเป็ น
คนทีร่ ู้จักตนเองอย่ างแท้ จริง”
• ความต้ องการทีจ่ ะเข้ าใจตนเองอย่ างแท้ จริงจะดาเนินไปอย่ างง่ายหรือ
เป็ นไปโดยอัตโนมัติ โดยความเป็ นจริงแล้ว Maslow เชื่อว่ าคนเรา
มักจะกลัวตัวเองในสิ่ งเหล่านี้ “ด้ านทีด่ ีทสี่ ุ ดของเรา ความสามารถพิเศษ
ของเรา สิ่ งทีด่ ีงามทีส่ ุ ดของเรา พลังความสามารถ ความคิดสร้ างสรรค์”
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
• Maslow ได้ ยกตัวอย่ างของความต้ องการเข้ าใจตนเองอย่ าง
แท้ จริง ในกรณีของนักศึกษาชื่อ Mark ซึ่งเขาได้ ศึกษาวิชา
บุคลิกภาพเป็ นระยะเวลายาวนานเพือ่ เตรียมตัวเป็ นนักจิตวิทยาคลีนิค
และในทีส่ ุ ดก็ได้ รับปริญญาเอกทางจิตวิทยาคลีนิค เมื่อเขาสาเร็จ
การศึกษาดังกล่าวแล้วถ้ ามีบุคคลหนึ่งได้ เสนองานให้ เขาในตาแหน่ ง
ตารวจสื บสวน ซึ่งจะได้ รับค่ าตอบแทนอย่ างสู งและได้ รับผลประโยชน์
พิเศษหลายๆ อย่ างตลอดจนรับประกันการว่ าจ้ างและความมั่นคง
สาหรับชีวติ เมื่อประสบเหตุการณ์ เช่ นนี้ Mark จะทาอย่ างไร
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
• ถ้ าคาตอบของเขาคือ “ตกลง” เขาก็จะย้ อนกลับมาสู่ ความต้ องการ
ระดับที่ 2 คือความต้ องการความปลอดภัย
• สาหรับการวิเคราะห์ ความเข้ าใจตนเองอย่ างแท้ จริง Maslow
กล่าวว่ า “อะไรทีม่ นุษย์ สามารถจะเป็ นได้ เขาจะต้ องเป็ นในสิ่ งนั้น”
เรื่องของ Mark เป็ นตัวอย่ างง่ ายๆ ว่ า ถ้ าเขาตกลงเป็ นตารวจ
สื บสวน เขาก็จะไม่ มีโอกาสทีจ่ ะเข้ าใจตนเองอย่ างแท้ จริง
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
• Why Can’t All People Achieve SelfActualization ส่ วนมากมนุษย์ตอ้ งการแสวงหาเพื่อให้เกิดความ
สมบูรณ์ภายในตน การรู ้ถึงศักยภาพของตนนั้นมาจากพลังตามธรรมชาติ
และจากความจาเป็ นบังคับ ส่ วนบุคคลที่มีพรสวรรค์มีจานวนน้อยมากเพียง
1% ของประชากร
• การนาศักยภาพของตนออกมาใช้เป็ นสิ่ งที่ยาก บุคคลมักไม่รู้วา่ ตนเองมี
ความสามารถและไม่ทราบจะได้รับการส่ งเสริ มได้อย่างไร มนุษย์ส่วนใหญ่
ไม่มนั่ ใจในตัวเองหรื อไม่มนั่ ใจในความสามารถของตน จึงทาให้หมด
โอกาสเข้าใจตนเองอย่างแท้จริ ง และยังมีสิ่งแวดล้อมทางสังคมที่มาบดบัง
พัฒนาการทางด้านความต้องการของบุคคลดังนี้
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
• อิทธิพลของวัฒนธรรม ตัวอย่ างหนึ่ง ที่แสดงให้ เห็นว่ าอิทธิพลของสั งคมมี
ต่ อการเข้ าใจตนเอง คือแบบพิมพ์ของวัฒนธรรม (cultural
stereotype) ซึ่งกาหนดว่ าลักษณะเช่ นไรทีแ่ สดงความเป็ นชาย
(masculine) และลักษณะใดที่ไม่ ใช่ ความเป็ นชาย
• พฤติกรรม ความเมตตากรุณา ความสุ ภาพ และความอ่อนโยน สิ่ งเหล่านี้
วัฒนธรรมมีแนวโน้ มที่จะพิจารณาว่ า “ไม่ ใช่ ลกั ษณะของความเป็ นชาย”
(unmasculine)
• การพิจารณาจากเกณฑ์ ต่างๆ ดังกล่าวนีเ้ ป็ นเพียงการเข้ าใจ “สภาพการณ์ ที่
ดี” มากกว่ าเป็ นเกณฑ์ ของการเข้ าใจตนเองอย่ างแท้ จริง
ทฤษฎีลาดับขัน้ ของความต้ องการของมาสโลว์
• การไม่ เข้ าใจตนเองอย่ างแท้ จริงเกิดจากความพยายามทีไ่ ม่ ถูกต้องของ
การแสวงหาความมั่นคงปลอดภัย เช่ น การทีบ่ ุคคลสร้ างความรู้สึกให้
ผู้อนื่ เกิดความพึงพอใจตนโดยพยายามหลีกเลีย่ งหรือขจัดข้อผิดพลาด
ต่ างๆ ของตน บุคคลเช่ นนีจ้ ึงมีแนวโน้ มทีจ่ ะพิทกั ษ์ ความมัน่ คงปลอดภัย
ของตน โดยแสดงพฤติกรรมในอดีตทีเ่ คยประสบผลสาเร็จ แสวงหา
ความอบอุ่น และสร้ างมนุษยสั มพันธ์ กบั ผู้อนื่ ซึ่งลักษณะเช่ นนีย้ ่ อม
ขัดขวางวิถีทางทีจ่ ะเข้ าใจตนเองอย่ างแท้ จริง
เคลย์ ตัน แอลเดอร์ เฟอร์ (Claton Elderfer)
• ปรับปรุงระดับความต้ องการตามแนวคิดของมาสโลว์ เหลือ 3 ระดับ คือ
• 1. ความต้ องการดารงชีวติ อยู่ (Existence Needs) คือ
ความต้ องการทางร่ างกายและความปลอดภัยในชีวติ เปรียบได้ กบั ความ
ต้ องการระดับต่ อของมาสโลว์ ย่อโดย E
• 2. ความต้ องการความสั มพันธ์ (Relatedness
Needs) คือความต้ องการต่ างๆ ที่เกีย่ วเนื่องนกับความสั มพันธ์
ระหว่ างบุคคล ทั้งในทีท่ างานและสภาพแวดล้อมอืน่ ๆ ตรงกับความ
ต้ องการทางสั งคมตามแนวคิดของมาสโลว์ ย..่่อโดย R
เคลย์ ตัน แอลเดอร์ เฟอร์ (Claton Elderfer)
• 3. ความต้ องการเจริญเติบโต (Growth Needs) คือความ
ต้ องการภายใน เพือ่ การพัฒนาตัวเอง เพือ่ ความเจริญเติบโต พัฒนาและ
ใช้ ความสามารถของตัวเองได้ เต็มที่ แสวงหาโอกาสในการเอาชนะความ
ท้ าทายใหม่ ๆ เปรียบได้ กบั ความต้ องการชื่อเสี ยงและการเติมความ
สมบูรณ์ ให้ ชีวติ ตามแนวคิดของมาสโลว์....ย่ อโดย G
เคลย์ ตัน แอลเดอร์ เฟอร์ (Claton Elderfer)
• ความแตกต่ าง
• มาสโลว์ ยนื ยันว่ า บุคคลจะหยุดอยู่ทคี่ วามต้ องการระดับหนึง่ จนกว่ าจะ
ได้ รับการตอบสนองแล้ว แต่ ทฤษฎี ERG อธิบายว่ า ถ้ าความต้ องการ
ระดับนั้นยังคงไม่ ได้ รับการตอบสนองต่ อไป บุคคลจะเกิดความคับข้ อง
ใจ แล้วจะถดถอยลงมาให้ ความสนใจ ในความ ความต้ องการระดับต่า
กว่ าอีกครั้งหนึ่ง
เคลย์ ตัน แอลเดอร์ เฟอร์ (Claton Elderfer)
• ประการทีส่ อง ทฤษฎี ERG อธิบายว่ า ความต้ องการมากกว่ าหนึ่ง
ระดับอาจเกิดขึน้ ได้ ในเวลาเดียวกัน หรือบุคคลสามารถถูกจูงใจด้ วย
ความต้ องการมากกว่ าหนึ่งระดับในเวลาเดียวกัน เช่ น ความต้ องการ
เงินเดือนทีส่ ู ง (E) พร้ อมกับความต้ องการทางสั งคม (R) และความ
ต้ องการโอกาสและอิสระในการคิดตัดสิ นใจ (G)