คน เก่ง - กองการเจ้าหน้าที่ กรมควบคุมโรค

Download Report

Transcript คน เก่ง - กองการเจ้าหน้าที่ กรมควบคุมโรค

Talent Management BIDI
โครงการบริหารจัดการ “คนเก่ง คนดี”
สถาบันบาราศนราดูร
กรมควบคุมโรค
1
นาเสนอวันที่ 6 สิงหาคม 2553
หลักการและเหตุผล
วิสัยทัศน์ : เป็ นเลิศทางวิชาการด้ านโรคติดต่อในระดับนานาชาติและ
บริการอย่างมีมาตรฐาน
ภารกิจสาคัญที่จาเป็ นต้ องศึกษาวิจยั เกี่ยวกับโรคติดต่อและไม่ติดต่อ
รวมถึงภัยคุกคามสุขภาพต่าง ๆ
ความจาเป็ นในการพัฒนาบุคลากรในสถาบันฯอย่างต่อเนื่อง
การบริหารค่ าใช้ จ่ายในการสรรหา พัฒนาบุคลากรอย่างมี
ประสิทธิภาพ
การรักษาองค์ ความรู้ของบุคคลและองค์ กร
วัตถุประสงค์
เพื่อสรรหาและพัฒนาบุคลากรที่มีศกั ยภาพสู ง (คนเก่ง คน
ดี) ให้เป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญสาขาต่างๆ ในการสานต่อพันธกิจของ
สถาบันให้พฒั นาอย่างต่อเนื่องและยัง่ ยืน
เป้าหมาย
ในระยะ 5 ปี ข้ างหน้ า (พ.ศ.2559) สถาบันบาราศนราดูร จะมีบคุ ลากร
รุ่นใหม่ที่มีความเชี่ยวชาญสาขาต่างๆ ตามภารกิจของสถาบัน
ดังต่อไปนี ้
ผู้เชี่ยวชาญด้ านโรคติดต่อและไม่ติดต่อที่สาคัญ ได้ แก่ โรคเอดส์
วัณโรค เบาหวาน ความดันโลหิต และไขมันสูง เป็ นต้ น ( 20 คน )
นักวิชาการผู้เชี่ยวชาญ และผู้บริหารโครงการ จานวน 10 คน
กิจกรรมดาเนินงาน
นาเสนอกรอบแนวคิด โครงการต่อคณะกรรมการบริหาร
ร่วมกันกาหนดกรอบการประเมินลักษณะของคนเก่ง คนดี ที่สถาบันฯ
ต้ องการ(Talent Block /Template) ดังนี ้
ลักษณะทัว่ ไปครอบคลุมค่านิยมและสามารถตอบสนอง
วิสยั ทัศน์ของสถาบันได้
ผลการปฏิบตั ิงาน (Key Performance Indicators) ระดับ
ดีเด่น
สรุปมาตรฐานการกาหนด “คนเก่ง คนดี” ของสถาบันบาราศนราดูร
ซึง่ อาจนาไปใช้ เป็ นรูปแบบการประเมินเพื่อคัดเลือกบุคลากรเข้ าเป็ น
บุคลากรกลุม่ “คนดี คนเก่ง” และ ประเมินเพื่อพัฒนา กลุม่ “คนเก่ง
คนดี”
ลักษณะทั่วไป “คนเก่ ง คนดี”
Belief in value of the individual เชื่อมัน่ ในคุณค่าของคน
Adherence to fairness ตังมั
้ น่ ในความเป็ นธรรม
Good for Management มีความสามารถในการบริหารจัดการ
Responsibility/respect มีความรับผิดชอบและเคารพต่อหน้ าที่
High alert มีความกระตือรื อร้ น
SMART (Service mind, Mastery, Accountability, Relationship, Teamwork)
กิจกรรมดาเนินงาน (ต่ อ)
ดาเนินการค้ นหา “คนเก่ ง คนดี” (Identification of Talent) โดย
ใช้ PMS/IDP
แบบไม่ เป็ นทางการ โดยการพูดคุย วางแผนกันระหว่างผู้บริหารสายงาน
กับ HR ถึงตัวบุคคลที่ต้องได้ รับการดูแลเป็ นพิเศษ เป็ นที่ทราบกันเฉพาะใน
ผู้ที่เกี่ยวข้ อง
แบบเป็ นทางการ อาจเป็ นในรูปแบบการจัดการทดสอบ คัดเลือก แจ้ งให้
พนักงานทราบและดาเนินตามกฎเกณฑ์ที่วางไว้ หรื ออาจจะพิจารณาจาก
ผลประเมินบุคคล ในงานและนอกงาน
ส่ งเสริมและพัฒนา “คนเก่ง คนดี” ที่สมัครใจเข้ าร่วมโครงการให้ เป็ นคน
เก่งยิ่งขึ ้น
กิจกรรมดาเนินงาน (ต่ อ)
ส่ งเสริมและพัฒนา “คนเก่ง คนดี” ที่สมัครใจเข้ าร่วมโครงการ
ให้ เป็ นคนเก่งยิ่งขึ ้น
กิจกรรมสนับสนุนให้ ได้ รับการฝึ กอบรมตามคุณสมบัติในส่วนทีบ่ กพร่อง
กิจกรรมการศึกษาดูงานในงานที่เกี่ยวข้ อง
กิจกรรมระบบพี่เลีย้ ง (เตรี ยมความพร้ อมทังพี
้ ่เลี ้ยงและน้ องเลี ้ยง และ
ระบบการติดตามประเมินผลอย่างใกล้ ชิด)
การมอบหมายงานที่มากกว่าเดิมหรื องานที่ท้าทาย
วางกรอบความก้ าวหน้ าให้ กลุม่ คนเก่งคนดี
ส่งเสริมให้ ได้ มีโอกาสนาเสนอผลงาน
ติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง
สรุปรายงานผลการดาเนินงานและพัฒนาแผนต่อเนื่อง
ปี งบประมาณ 2554
กิจกรรม
ผลผลิตของกิจกรรม
ปี พ.ศ. 2553
ก.ค.
1
เสนอโครงการพัฒนาบุคลากรผูม้ ี
สมรรถนะสูง
โครงการแผนงาน
2
จัดตั้งคณะกรรมการ
คณะกรรมการ
3
จัดทาเกณฑ์การสรรหาและคัดเลือก
มีเกณฑ์เกณฑ์การสรรหา
และคัดเลือก
4
สรรหาและคัดเลือกบุคลากร
เป้ าหมาย
ได้กลุ่มเป้ าหมาย
5
กาหนดวิธีพฒั นาบุคลากรผูม้ ี
สมรรถนะสูง
วิธีการพัฒนา (รายบุคคล)
6
มอบหมายงาน และพัฒนาตามวิธกี าร
พัฒนาตามแผนทีก่ าหนด
บทบาทหน้าที่ที่
มอบหมาย
7
ติดตามประเมินและพัฒนาบุคลากรผูม้ ี
สมรรถนะสูงของสถาบันฯ
ผลการติดตาม ประเมิน
ข้อเสนอแนะ ฯ
8
เสนอผลการประเมินต่อคณะ
กรรมการบริ หารเพื่อปรับปรุ งและ
ดาเนินการอย่างต่อเนื่อง
รายงานผลการติดตาม
ประเมินผลฯ
9
ผลการพิจารณา
รายงานการดาเนินงาน
โครงการ
ส.ค.
ปี พ.ศ. 2554
ก.ย.
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ผลที่คาดว่ าจะได้ รับ
สามารถจูงใจและรักษาบุคลากรที่มีศกั ยภาพสูงให้ อยูใ่ น
หน่วยงานระยะยาว
มีการพัฒนางานอย่างต่อเนื่องด้ วยทีมงานที่มีความสามารถ
ลดอัตราเสี่ยงจากการขาดแคลนบุคลากรที่มีความสามารถเฉพาะ
ด้ าน เนื่องจากมีการเตรี ยมความพร้ อมให้ กบั บุคลากรรุ่ นใหม่
ลดการสูญเสียเวลาและโอกาสจากการที่บคุ ลากรใหม่ต้องเรี ยนรู้
ทาความเข้ าใจกับงานที่รับผิดชอบ
ตัวชีว้ ัด
จานวนข้ าราชการในสถาบันบาราศนราดูรที่เข้ าร่วมโครงการ
จานวนผู้เชี่ยวชาญโรคติดต่อและไม่ติดต่อที่ผา่ นการพัฒนาตาม
โครงการฯ
หน่วยงาน/สถาบันฯได้ ผลงานคุณภาพเพิ่มขึน้ จากกลุ่ม “คน
เก่ งคนดี”
อัตราความพึงพอใจของ “คนเก่ง คนดี”
อัตราการลาออกจากงานของกลุม่ “คนเก่งคนดี”