คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น introduction to computer

Download Report

Transcript คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น introduction to computer

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
INTRODUCTION TO COMPUTER
AND INFORMATION TECHNOLOGY
1
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
ศน.บ. (สังคมศาสตร์), วท.ม. (เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา)
Tel.08-1931-5306 e-Mail : [email protected]
2
LESSON XII
• คอมพิวเตอร์ซอฟแวร์ (Computer Software)
3
คอมพิวเตอร์ซอฟแวร์ (COMPUTER
SOFTWARE)
4
คอมพิวเตอร์ซอฟแวร์ (COMPUTER
• ระบบปฏิบตั ิการ (Operating System : OS) แบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภท คือ SOFTWARE)
• ระบบปฏิบตั ิการแบบเดี่ยว (Stand-Alone OS)
• ระบบปฏิบตั ิการแบบเครื อข่าย (Network OS)
• ระบบปฏิบตั ิการแบบฝัง (Embedded OS)
5
ระบบปฏิบตั ิการ (OPERATING SYSTEM :
OS)
• ระบบปฏิบตั ิการแบบเดี่ยว (Stand-Alone OS)
• มุ่งเน้นและให้บริ การสาหรับผูใ้ ช้เพียงคนเดียว (เจ้าของเครื่ องนั้นๆ)
• นิยมใช้สาหรับเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลและทางานแบบทัว่ ไป เช่น เครื่ องคอมพิวเตอร์ตามบ้านหรื อสานักงาน
• รองรับการทางานบางอย่าง เช่น พิมพ์รายงาน ดูหนัง ฟังเพลง หรื อ เชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต เป็ นต้น
6
ระบบปฏิบตั ิการ (OPERATING SYSTEM :
OS) (ต่อ)
• ระบบปฏิบตั ิการแบบเครื อข่าย (Network OS)
•
•
•
•
มุ่งเน้นและให้บริ การสาหรับผูใ้ ช้หลายๆคน (multi-user)
นิยมใช้สาหรับงานให้บริ การและประมวลผลข้อมูลสาหรับเครื อข่ายโดยเฉพาะ
มักพบเห็นได้กบั การนาไปใช้ในองค์กรธุรกิจทัว่ ไป
เครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้งระบบปฏิบตั ิการเหล่านี้จะเรี ยกว่า เครื่ อง server (เครื่ องแม่ข่าย)
7
ระบบปฏิบตั ิการ (OPERATING SYSTEM :
OS) (ต่อ)
• ระบบปฏิบตั ิการแบบฝัง (Embedded OS)
• พบเห็นได้ในอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก เช่น PDA หรื อ SmartPhone บางรุ่ น
• สนับสนุนการทางานแบบเคลื่อนที่ได้เป็ นอย่างดี
• บางระบบมีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับระบบปฏิบตั ิการแบบเดี่ยว เช่น ดูหนัง ฟังเพลงหรื อเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้
8
ซอฟแวร์ประยุกต์ (APPLICATION
SOFTWARE)
• แบ่งตามลักษณะการผลิต ได้ 2 ประเภทคือ
• ซอฟต์แวร์ที่พฒั นาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ
• ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทัว่ ไป
• แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน ได้ 3 กลุ่มใหญ่คือ
• กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ
• กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิ กและมัลติมีเดีย
• กลุ่มใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่ อสาร
9
ซอฟแวร์ประยุกต์ (APPLICATION
SOFTWARE)
• ซอฟแวร์สาเร็ จรู ป (Package Software)
• ซอฟแวร์วา่ จ้าง (Custom Software)
• ซอฟแวร์ทดลองใช้ (Shareware)
• ซอฟแวร์ใช้งานฟรี (Freeware)
• ซอฟแวร์โอเพ่นซอร์ส (Open Source)
สานักงานส่งเสริ มอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชนหรื อ Software Industry Promotion Agency (Public Organization)
10
ซอฟแวร์สาเร็ จรู ป (PACKAGE
SOFTWARE)
• หาซื้ อได้กบั ตัวแทนจาหน่ายซอฟต์แวร์ที่ได้รับการแต่งตั้งจากบริ ษทั ผูผ้ ลิตโดยตรง
• นาไปติดตั้งเพื่อการใช้งานได้โดยทันที โดยมีบรรจุภณ
ั ฑ์และเอกสารคู่มือการใช้งานไว้แล้ว
• ซอฟต์แวร์ประมวลคา(word processing software)
• ซอฟต์แวร์ตารางทางาน (spread sheet software)
• ซอฟต์แวร์จดั การฐานข้อมูล (data base management software)
• ซอฟต์แวร์นาเสนอ (presentation software)
11
ซอฟแวร์วา่ จ้าง (CUSTOM)
• เหมาะกับลักษณะงานที่เป็ นแบบเฉพาะ
• จาเป็ นต้องผลิตขึ้นมาใช้เองหรื อว่าจ้างให้ทา
• มีค่าใช้จ่ายที่แพงพอสมควร
12
ซอฟแวร์ทดลองใช้ (SHAREWARE)
• ลูกค้าสามารถทดสอบการใช้งานของโปรแกรมก่อนได้ฟรี
• ผูผ้ ลิตจะกาหนดระยะเวลาของการใช้งานหรื อเงื่อนไขอื่น เช่น ใช้ได้ภายใน 30 วัน หรื อใช้ได้แต่ปรับลด
คุณสมบัติบางอย่างลง
13
ซอฟแวร์ใช้งานฟรี (FREEWARE)
• โปรแกรมขนาดเล็กและใช้เวลาเพียงไม่กี่นาทีในการดาวน์โหลด
• ให้ใช้งานได้ฟรี แต่ไม่สามารถนาไปพัฒนาต่อหรื อแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้
• ลิขสิ ทธิ์ เป็ นของบริ ษทั หรื อทีมงานผูผ้ ลิต
14
ซอฟต์แวร์ที่มีการเปิ ดให้แก้ไขปรับปรุ งตัวโปรแกรมต่างๆ ได้
ซอฟแวร์โ••อเพ่
น
ซอร์
ส
(OPEN
SOURCE)
นาเอาโค้ดโปรแกรมไปพัฒนาและประยุกต์ใช้ได้ภายใต้
เงื่อนไขที่กาหนด
• มีนกั พัฒนาจากทัว่ โลก ช่วยกันเขียนโค้ดและนาไปแจกจ่ายต่อ
• Chantra 54.08 สามารถดาวน์โหลดและเขียนแผ่น แจกจ่ายได้
อย่างเสรี หรื อขอแผ่น Chantra ได้ทางไปรษณี ย ์ โดยส่ งซอง
เปล่าขนาดที่ใส่ แผ่น CD ได้ ติดแสตมป์ 12 บาท จ่าหน้าซอง
ถึงตัวเอง วงเล็บมุมซองด้วยว่า "ขอแผ่น Chantra 54.08”
15
ซอฟแวร์โอเพ่นซอร์ส (OPEN SOURCE)
(ต่อ)
• ระบบปฏิบตั ิการ Linux (Free Operating System) เกิดจาก ลินุส
โตร์วลั ดส์ (Linus Torvalds) ชาว
ฟิ นแลนด์ เมื่อสมัยที่เขายังเป็ นนักศึกษาคอมพิวเตอร์ ที่มหาวิทยาลัยเฮลซิ งกิ โดยแรกเริ่ ม ริ ชาร์ด สตอล
แมน (Richard Stallman) ได้ก่อตั้งโครงการกนู (GNU) ขึ้นในปี พ.ศ. 2526 จุดมุ่งหมายโครงการกนู คือ
ต้องการพัฒนาระบบปฏิบตั ิการคล้ายยูนิกซ์ที่เป็ นซอฟต์แวร์เสรี ท้ งั ระบบ ราวช่วงพ.ศ. 2533 โครง
การกนู มีส่วนโปรแกรมที่จาเป็ นสาหรับระบบปฏิบตั ิการเกือบครบทั้งหมด ได้แก่ คลังโปรแกรม
(Libraries) คอมไพเลอร์ (Compiler) โปรแกรมแก้ไขข้อความ (Text Editor) และเปลือกระบบยูนิกซ์
(Shell) ซึ่ งขาดแต่เพียงเคอร์เนล (Kernel) เท่านั้น
16
ซอฟแวร์โอเพ่นซอร์ส (OPEN SOURCE)
(ต่อ)
• โปรแกรมด้านสานักงาน
•
•
•
•
•
•
Dia – โปรแกรมวาดแผนผัง
FreeMind – โปรแกรมช่วยบันทึกและจัดการความคิด
OpenProj – โปรแกรมบริ หารจัดการโครงการ
OpenOffice.org – ชุดโปรแกรมสานักงาน
PDFCreator - โปรแกรมสร้างไฟล์ PDF
PDFSam - โปรแกรมอ่านไฟล์ PDF
17
ซอฟแวร์โอเพ่• นโปรแกรมด้
ซอร์สานอิ(OPEN
นเทอร์เน็ต SOURCE)
• Pidgin เดิมชื่อ Gaim - โปรแกรมเมสเซนเจอร์
(ต่อ)
• โปรแกรมด้านกราฟิ ก
• Blender - โปรแกรมกราฟิ กด้าน 3 มิติ
• GIMP - โปรแกรมแก้ไขภาพแบบแรสเตอร์ (เช่น
ภาพถ่าย)
• Inkscape – โปรแกรมวาดภาพแบบเว็คเตอร์
• Open Clip Art - รวมภาพคลิปอาร์ต ที่สามารถนาไปใช้
ได้อย่างเสรี
18
ซอฟแวร์โอเพ่นซอร์ส (OPEN SOURCE)
(ต่อ)
• โปรแกรมด้านมัลติมีเดีย
• Avidemux – โปรแกรมตัดต่อวิดีโอ
• Audacity – โปรแกรมอัดเสี ยงและตัดต่อไฟล์เสี ยง
• VLC – โปรแกรมเล่นสื่ อมัลติมีเดีย
• โปรแกรมอรรถประโยชน์
•
•
•
•
7 Zip – โปรแกรมบีบอัดไฟล์
InfraRecorder - โปรแกรมเขียนแผ่นซีดี/ดีวีดี
Notepad++ - โปรแกรมแก้ไขไฟล์ขอ้ ความ
PuTTY – โปรแกรมเข้าระบบเครื่ องทางไกลผ่านทางSSH
19
ซอฟแวร์โอเพ่นซอร์ส (OPEN SOURCE)
(ต่อ)
• โปรแกรมด้านพัฒนาเว็บ
• FileZilla – โปรแกรมอัปโหลดและดาวน์โหลดไฟล์ผา่ นทางFTP
• Kompozer – โปรแกรมสร้างเว็บเพจ
• Joomla - โปรแกรมสร้างเว็บเพจ
• โปรแกรมด้านการศึกษา
•
•
•
•
•
Celestia – โปรแกรมศึกษาดวงดาว
Moodle – โปรแกรมสร้างบทเรี ยนช่วยสอนออนไลน์
Tux Paint – โปรแกรมเสริ มทักษะวาดภาพ
Tux Typing 2 – โปรแกรมฝึ กทักษะพิมพ์ดีด
TuxMath - โปรแกรมเสริ มทักษะทางคณิ ตศาสตร์
20
ถาม – ตอบปัญหา ข้อสงสัย
21
คาถามท้ายบทเรียน งานครั้งที่ 12
• 1. องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
• 2. ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS) แบ่งออกได้กี่ประเภท
• 3. ข้อดีของซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ประเภท
ซอฟแวร์ใช้งานฟรี (Freeware)
• 4. ข้อดีของซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ประเภท
ซอฟแวร์โอเพ่นซอร์ส (Open Source)
• 5. ระบบปฏิบัติการ Linux, Windows, Mac OS มีข้อดี ข้อเสีย
อะไรบ้าง