แนะนำระบบปฏิบัติการลีนุก

Download Report

Transcript แนะนำระบบปฏิบัติการลีนุก

Open source
1
องค์กรอิสระ Open Source Initiative
(OSI) ได้ นิยามซอฟต์แวร์ โอเพ่นซอร์ สไว้ ดงั นี ้
1. อนุญาตให้ นาไปเผยแพร่ ได้ อย่ างเสรี (Free Redistribution)
2. ให้ มาพร้ อมกับซอฟต์ แวร์ ต้นฉบับ (Source Code)
3. อนุญาตให้ สร้ างซอฟต์ แวร์ ใหม่ โดยต่ อยอดจากซอฟต์ แวร์
ต้ นฉบับ (Derived Works)
4. ต้ องไม่ แบ่ งแยกผู้พัฒนาออกจากซอฟต์ แวร์ ต้นฉบับ (Integrity of
the Author''s Source Code)
5. จะต้ องไม่ เลือกปฏิบัตเิ พื่อกีดกันบุคคล หรือกลุ่มบุคคล (No
Discrimination Against Persons or Groups)
2
องค์ กรอิสระ Open Source Initiative
(OSI) ได้ นิยามซอฟต์ แวร์ โอเพ่ นซอร์ สไว้ ดังนี ้
6. จะต้ องไม่ จากัดการใช้ เฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่ านัน
้
(No Discrimination Against Field of Endeavor)
7. การเผยแพร่ ไลเซนต์ (Distribution of License)
8. ไลเซนต์ ของซอฟต์ แวร์ จะต้ องไม่ ขนึ ้ กับไลเซนต์ ของผลิตภัณฑ์
(License Must Not be Specific to a Product)
9. ไลเซนต์ ของซอฟต์ แวร์ จะต้ องไม่ จากัดไลเซนต์ ของซอฟต์ แวร์ อ่ นื
(License Must Not Restrict Other Software)
10. ไลเซนต์ จะต้ องไม่ ผูกติดกับเทคโนโลยี (License Must Be
Technology-Neatral)
3
นิยามซอฟต์ แวร์ โอเพ่ นซอร์ ส
1. อนุญาตให้ นาไปเผยแพร่ ได้ อย่ างเสรี (Free
Redistribution)
ไลเซนต์จะต้ องไม่จากัดในการขาย หรื อแจกจ่ายให้ กบั
ผู้อื่น โดยไม่มีการบังคับว่าต้ องจ่ายค่าธรรมเนียม
(Royalty Fee) ให้ กบั เจ้ าของซอฟต์แวร์ ต้นฉบับ
4
นิยามซอฟต์ แวร์ โอเพ่ นซอร์ ส
2. ให้ มาพร้ อมกับซอฟต์ แวร์ ต้นฉบับ (Source Code)
โปรแกรมต้ องให้ มาพร้ อมกับ Source Code หรื อถ้ าไม่ได้ ให้
มาพร้ อมโปรแกรมจะต้ องมีช่องทางที่จะทาให้ ผ้ ใู ช้ สามารถเข้ าถึง
Source Code ได้ โดยไม่มีการคิดค่าใช้ จ่ายเพิ่มเติม และ Source
Code ที่ให้ มาจะต้ องอยูใ่ นรูปแบบที่นาไปปรับปรุงแก้ ไขได้
5
นิยามซอฟต์ แวร์ โอเพ่ นซอร์ ส
3. อนุญาตให้ สร้ างซอฟต์ แวร์ ใหม่ โดยต่ อยอดจาก
ซอฟต์ แวร์ ต้นฉบับ (Derived Works)
ไลเซนต์ของซอฟต์แวร์ ต้องอนุญาตให้ สามารถนาไปปรับปรุง
แก้ ไข และสร้ างซอฟต์แวร์ ใหม่ โดยซอฟต์แวร์ ตวั ใหม่จะต้ องมีไล
เซนต์เช่นเดียวกับซอฟต์แวร์ ต้นฉบับ
6
นิยามซอฟต์ แวร์ โอเพ่ นซอร์ ส
4. ต้ องไม่ แบ่ งแยกผู้พฒ
ั นาออกจากซอฟต์ แวร์ ต้นฉบับ
(Integrity of the Author''s Source Code)
ไลเซนต์อาจจะไม่ได้ ให้ ไปพร้ อมซอสโค้ ดในรูปแบบที่สามารถ
แก้ ไขได้ ในกรณีที่มีการกาหนดว่าจะให้ ซอร์ สโค้ ดเฉพาะส่วนที่มี
การแก้ ไขเพิ่มเติม (patch files) เพื่อใช้ ในการคอมไพล์โปรแกรม
เท่านัน้ ไลเซนต์ใหม่จะต้ องกาหนดให้ ชดั ว่าสามารถแจกจ่ายได้
หลังจากแก้ ไขซอร์ สโค้ ดแล้ ว โดยไลเซนต์ใหม่อาจจะต้ องทาการ
เปลี่ยนชื่อ หรื อเวอร์ ชนั่ ให้ แตกต่างจากซอฟต์แวร์ ต้นฉบับ
7
นิยามซอฟต์ แวร์ โอเพ่ นซอร์ ส
5. จะต้ องไม่ เลือกปฏิบัตเิ พื่อกีดกันบุคคล หรือ
กลุ่มบุคคล (No Discrimination Against Persons
or Groups)
ไลเซนต์จะต้ องไม่เลือกปฏิบตั เพื่อกีดกันการเข้ าถึง
ซอฟต์แวร์ ของบุคคล หรื อกลุม่ บุคคลใดบุคคลหนึ่ง
โดยเฉพาะ
8
นิยามซอฟต์ แวร์ โอเพ่ นซอร์ ส
6. จะต้ องไม่ จากัดการใช้ เฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่ านัน้
(No Discrimination Against Field of Endeavor)
ไลเซนต์จะต้ องไม่จากัดการใช้ สาหรับกลุม่ ใดกลุ่มหนึง่ เช่น
จะต้ องไม่จากัดการใช้ งานเฉพาะในเชิงธุรกิจ หรื อในการทาวิจยั
เท่านัน้
9
นิยามซอฟต์ แวร์ โอเพ่ นซอร์ ส
7. การเผยแพร่ ไลเซนต์ (Distribution of License)
สิทธิ์ที่ให้ ไปกับโปรแกรมจะต้ องถูกบังคับใช้ กบั ทุกคนที่
ได้ รับโปรแกรมเท่าเทียมกัน โดยไม่จาเป็ นต้ องใช้ ไลเซนต์อื่นๆ
ประกอบ
10
นิยามซอฟต์ แวร์ โอเพ่ นซอร์ ส
8. ไลเซนต์ ของซอฟต์ แวร์ จะต้ องไม่ ขน
ึ ้ กับไลเซนต์ ของ
ผลิตภัณฑ์ (License Must Not be Specific to a
Product)
หมายความว่า ถ้ าซอฟต์แวร์ โอเพ่นซอร์ สถูกนาไปพัฒนา
เป็ นผลิตภัณฑ์ ไลเซนต์ของซอฟต์แวร์ โอเพ่นซอร์ สจะต้ องไม่ต้อง
ไม่ขึ ้นอยูก่ บั ซอฟต์แวร์ ใดซอฟต์แวร์ หนึง่ ในผลิตภัณฑ์ตวั นัน้
11
นิยามซอฟต์ แวร์ โอเพ่ นซอร์ ส
9. ไลเซนต์ ของซอฟต์ แวร์ จะต้ องไม่ จากัดไลเซนต์ ของ
ซอฟต์ แวร์ อ่ ืน (License Must Not Restrict Other
Software)
ไลเซนต์ของซอฟต์แวร์ ที่รวมในมีเดียเดียวกันจะต้ องไม่
ถูกบังคับให้ เป็ นโอเพ่นซอร์ สซอฟต์แวร์ ด้วย
12
นิยามซอฟต์ แวร์ โอเพ่ นซอร์ ส
10. ไลเซนต์ จะต้ องไม่ ผูกติดกับเทคโนโลยี (License
Must Be Technology-Neatral)
13
กาเนิดแนวความคิด
• ในอดีต โปรแกรมต่างๆมีการพัฒนาโดยนักพัฒนา
และแลกเปลี่ยนกันโดยเสรี
• เริ่มมีการพัฒนาทางการค้ าของซอฟต์แวร์ มากขึ ้น
• กลุม่ คนที่มองว่าซอฟต์แวร์ เป็ นสมบัติของมนุษยชาติ
ได้ ตงองค์
ั ้ การเรี ยกว่า The Free Software
Foundation (FSF), ในปี 1985
– นาโดย Richard Stallman
– ส่งเสริมให้ มีการแลกเปลี่ยน ดัดแปลง ทาสาเนา
ซอฟต์แวร์ อย่างเสรี เพื่อให้ ผ้ ใู ช้ มี Solution ที่ไม่ขึ ้นกับ
Vendor
– ตังโครงการ
้
GNU เพื่อพัฒนาซอฟต์แวร์ ตา่ งๆที่ทาให้
คอมพิวเตอร์ เหมือนระบบ Unix
– สร้ างลิขสิทธิ์แบบที่เรี ยกว่า GPL (Gnu public
License) ขึ ้น
14
GPL (Gnu Public License) และ Open Source
• ซอฟแวร์ ส่วนใหญ่ นัน้ อยู่ใต้ Gnu Public License
– อนุญาตให้ มีการขาย ทาเพิ่มอย่ างไรก็ได้ แต่
•ต้ องให้ ซอร์ สโปรแกรมไปด้ วย
•การแก้ ไขทุกครัง้ ที่ใครทาถือว่าอยู่ใต้ Gnu
Public License
15
แนวคิด Open source
• FSF GPL ทาให้ ทาการค้ าได้ ยากเนื่องจากซอฟต์ แวร์ ทุกตัว
ต้ องแจกฟรีหมด
• Opensource เป็ นแนวคิดที่เกิดในราว 1998
– Computer programs or operating systems for which the source
code is publicly available are referred to as open-source software.
Inherent in the open source philosophy is the freedom of a
distributed community of programmers to modify and improve the
code. The most widely known example of open-source software is
the Linux operating syst
– ต้ องการให้ ทาการค้ าได้ ง่ายขึ ้น
16
ข้ อดีของ Opensource
• เข้ าใจและแก้ ไขได้ เนื่องจากมี Source code ทาให้ เราเป็ น
เจ้ าของ technology
• มี solution ให้ เลือกมากมาย
• มีพฒ
ั นาการที่เร็ว
– นักพัฒนากลุม่ ใหญ่ใช้ Internet สร้ างระบบพัฒนาแบบเปิ ด
– มีการทดสอบและ fixed อย่างรวดเร็ว
• ใช้ งานในองค์กรต่างๆอย่างมากมายและสนับสนุนโดยบริ ษัท
ใหญ่ เช่น IBM, Sun Microsystem, Oracle
17
ประวัตขิ องระบบลีนุกซ์
• คิดค้ นขึ ้นโดยนิสิตปริญญาโทที่มหาวิทยาลัย Helsinki
ประเทศ Finland ชื่อ Linus Torvald (ไลนัส ทอร์ วาล) ใน
ราวปี 1991
• จุดเริ่มต้ นเพื่อทดแทน ระบบ Minix ของ Andrew S.
Tanenbaum ที่ใช้ ในการเรี ยนการสอนอยู่
• ลีนกุ ซ์ถกู นาไปใช้ ก่อนในการวิจยั ในมหาวิทยาลัย
ต่างประเทศและในหมูม่ ือสมัครเล่น แล้ วจึงแพร่หลายมา
ในทางธุรกิจ
• ลีนกุ ซ์เป็ นระบบที่เขียนขึ ้นใหม่โดยสมบูรณ์จึงไม่มีปัญหา
เรื่ องลิขสิทธิ์ และแจกฟรี ภายใต้ GPL License (GNU
Public License)
18
ทาไมลีนุกซ์ กาลังดัง
• เป็ นระบบปฏิบตั ิการที่ทางานแบบ UNIX ซึง่ มีขีดความสามารถ
สูง
• กินฮาร์ ดแวร์ ต่ามาก ทางานได้ บนเครื่ องเก่าๆ เช่น PC 166, 300
Mhz
• การใช้ งานพบว่าลีนกุ ซ์มีความเสถียร (stable) ในการใช้ งานสูง
มาก ไม่คอ่ ยหยุดทางาน
• เป็ นของฟรี ที่ ดาวน์โหลดได้ จากอินเตอร์ เน็ต
– ftp.sunsite.unc.edu/pub/linux
– ftp.nectec.or.th
19
ขีดความสามารถเด่ นๆของลีนุกซ์
• เป็ นระบบที่ทางานได้ ตามมาตรฐาน UNIX ของ IEEE ที่เรี ยกว่า
POSIX
• สนับสนุนการทางานแบบ Multitask, และ Multiusers เต็ม
รูปแบบ
• สนับสนุนการทางาน Multiprocessors แบบ SMP
• มีทงั ้ 32 และ 64 บิต (Intel itanium, AMD Opteron)
• ทางานได้ หลายแพลตฟอร์ ม เช่น บน Intel, DEC Alpha, MIPS
และ PowerPC
20
ขีดความสามารถเด่ นๆของลีนุกซ์
• สนับสนุนการทางานแบบ Multithreading
• สนับสนุนการทางานแบบ Multimedia มีเสียงและภาพ
• มีระบบ Windows คือ X Windows และมี Desktop ที่มี
ประสิทธิภาพสูงและใช้ งานง่าย เช่นเดียวกับ Windows 98
• สนับสนุนเครื อข่ายแบบ TCP/IP, Apple Talk, Netware IPX
• มีความสามารถเป็ น Web Server, Web Proxy, Internet
server, ftp server ได้ ทนั ที
21
Linux Scalability
Supercomputer
Server
Desktop
Embeded
22
โครงสร้ างของลีนุกซ์
โปรแกรมประยุกต์
โปรแกรมประยุกต์
โปรแกรมประยุกต์
เครื่ องมือระบบ Shell, Complier, utilities
เคอร์ แนลระบบลีนกุ ซ์
23
Linux Distribution
• ลีนกุ ซ์ที่แท้ จริ ง คือ Kernel
• แต่การใช้ งานจริ งต้ องการซอฟแวร์ มากมาย
• มีผ้ รู วบรวมระบบลีนกุ ซ์และโปรแกรมประกอบมาทาให้ ติดตังได้
้
เรี ยกว่า Distribution
• Distribution ที่ใช้ งานมาก
– RedHat , Slackware, Debian , SuSe
24
สาเหตุท่ รี ะบบลีนุกซ์ ก้าวหน้ าไปอย่ างรวดเร็ว
• มีการเปิ ดเผย Code ทังหมดท
้
าให้ มีคนจานวนมากเข้ ามาพัฒนา
• มีระบบการจัดการเป็ นโครงการโดยมีหวั หน้ าเป็ นคนทดสอบและ
รวบรวมซอร์ สหลักทาให้ การพัฒนาไม่แตกกระจาย
• มีผ้ ชู ่วยทดสอบและแจ้ ง Bug และ Fix นับล้ านคนจึงได้ โปรแกรม
ที่มีคณ
ุ ภาพสูงมาก
• ได้ คนเก่งๆจากทัว่ โลกมาทาเพราะความท้ าทาย
• ระบบลีนกุ ซ์ได้ สร้ างแนวคิดการพัฒนาโปรแกรมแบบใหม่ขึ ้น!!!
25
การใช้ งานบนระบบลีนุกซ์
• Internet/ Intranet Server
• เป็ นระบบ Desktop
• ใช้ ในการพัฒนาโปรแกรม
• ใช้ ในการเรี ยนการสอนทางคอมพิวเตอร์
26
การใช้ ลีนุกซ์ เป็ นระบบอินเตอร์ เน็ตเซอร์ ฟเวอร์
• สนับสนุนการเชื่อมต่อแบบ Dialup, LAN ทุกแบบ เช่น Ethernet,
Fast Ethernet, ATM, Myrinet, Gigabit Ethernet, ISDN
• ใน package มาตรฐานจะให้
– WEB Server Apache ที่นิยมใช้ สงู สุดและมีประสิทธิภาพสูง
– ftp server, news server, mail server, domain name server, telnet
server
• เป็ น Multi-user เปิ ดให้ ผ้ ใู ช้ หลายคนใช้ งานได้ ทนั ที
• ใช้ งานเป็ น Firewall ได้ มีซอฟแวร์ มากมาย
27
Netcraft : October 2004 Web Server Survey
28
การใช้ ลีนุกซ์ เป็ นระบบอินทราเน็ตเซอร์ ฟเวอร์
•
•
•
•
•
ตังระบบลี
้
นกุ ซ์เพื่อเป็ นตัวกลางแลกข้ อมูลในองค์กร
ส่งจดหมายเวียนผ่านระบบ email
ส่งประกาศ ข่าวสาร ต่างๆทาง Web page และ Web board
เก็บบทเรี ยนเป็ นรูปอิเลคทรอนิคส์เพื่อให้ นกั เรี ยนค้ นคว้ าได้ เอง
เก็บแบบฟอร์ มมาตรฐานในรูปไฟล์ที่แก้ ไขได้ เพื่อให้ มีการดาวน์
โหลดมาใช้ งานโดยไม่ต้องพิมพ์ใหม่
• ประหยัดกระดาษในแนว Paperless office
29
ลีนุกซ์ สาหรับระบบอินเตอร์ เน็ตเซอร์ ฟเวอร์
Internet
Firewall, Gateway
Web, Mail Server
30
การใช้ ลีนุกซ์ เป็ นเซอร์ ฟเวอร์ ให้ กับ MS Windows
• ระบบลีนกุ ซ์มาพร้ อมกับขีดความสามารถที่จะทางานเป็ น
เซอร์ ฟเวอร์ ให้ กบั Windows XP/NT/98/MEโดยใช้ ซอฟแวร์ ที่
เรี ยกว่า SAMBA Server
• ขีดความสามารถ
– ใช้ ดิสค์ร่วมกันระหว่าง Windows กับ Linux
– PC Windows พิมพ์ผ่านเครื่ องพิมพ์บนลีนกุ ซ์
– Linux พิมพ์ผ่านเครื่ องพิมพ์ของ PC
– แปลงร่างเป็ น Domain Server ของ Windows
31
SAMBA
Windows Fileserver
Windows Print Server
DHCP Server
Intranet
32
Linux Administration
• ใช้ คาสัง่ กับ script language
– Perl, Bash, Python
• ใช้ GUI tools มีให้ มากมายใน Linux distribution
33
Linux Administration
• Web Interface
– Webmin
http://www.webmin.co
m/
• ทาให้ การดูแลลีนกุ ซ์
เซอร์ ฟเวอร์ ง่ายมาก
34
การใช้ งานฐานข้ อมูลบนลีนุกซ์
• ปั จจุบนั ระบบฐานข้ อมูลใหญ่ๆ เช่น Oracle, Informix, DB2 มีรุ่น
ที่สนับสนุนลีนกุ ซ์แล้ วทังสิ
้ ้น
• ใช้ windows เป็ น client ได้ ผ่าน ODBC
• ลีนกุ ซ์ Redhat จะมาพร้ อมกับ SQL server เรี ยกว่า Postgres ที่
ใช้ งานได้ ทนั ที
• สาหรับฐานข้ อมูลขนาดเล็กถึงกลางและทา Dynamic Web ใช้
MySQL กันมาก
35
การใช้ ลีนุกซ์ เป็ นระบบ Desktop
• ลีนกุ ซ์ยงั นามาใช้ เป็ นระบบ Desktop ได้ เช่น เดียวกับระบบ
Windows
• มี Desktop ที่ดีหลายตัวที่มีประสิทธิภาพสูงเท่ากับ
Windows เช่น KDE ( K Desktop Environment) ,Gnome
36
การใช้ ลีนุกซ์ เป็ นระบบ Desktop
37
การใช้ ลีนุกซ์ เป็ นระบบ Desktop
38
โปรแกรม Office Productivity
• Open Office
– To create, as a community, the leading international office
suite that will run on all major platforms and provide access to
all functionality and data through open-component based
APIs and an XML-based file format.
• มีคนทาไทยให้ open office 8nv
– Office TLE (ออฟฟิ สทะเล) NECTEC
– Pladao (ปลาดาว) Sun Microsystem + Algorithms
39
OfficeTLE: Thai Open Office
40
โปรแกรมกราฟิ กบนระบบลีนุกซ์
• ระบบลีนกุ ซ์จะให้ โปรแกรมกราฟิ กมา
หลายตัว เช่น
• GIMP (Gnu Image Manipulation
program) เป็ นโปรแกรมที่ช่วยตกแต่ง
ภาพเช่นเดียวกับ โฟโต้ ชอป
(www.gimp.org)
• XV ใช้ ดภู าพกราฟิ กและแปลง
ภาพกราฟิ กแบบต่างๆ
• Ghostscript เป็ น Postscript Interpreter
ที่ ช่วยในการดู หรื อ พิมพ์ Postscript
ไฟล์ออกเครื่ องพิมพ์
• Xpaint ใช้ เขียนรูปเหมือน PCPaint
• Xfig ใช้ เขียน Diagram ต่างๆ
41
ลีนุกซ์ กับการโปรแกรมกราฟิ ก 3D
• ลีนกุ ซ์สนับสนุนมาตรฐาน OpenGL โดยใช้ ตัวโปรแกรมช่วยชื่อ
Mesa
• โปรแกรมกราฟิ คที่เหมือนกับ NT ได้ ทนั ทีเนื่องจาก Windows
95/98/NT สนับสนุน OpenGL
• Povray เป็ น Rendering Engine ที่ใช้ สร้ างรูปสามมิติได้
(www.povray.org)
• ซอฟต์แวร์ Commercial เช่น Alias Wavefront Maya ทางานได้
บน Linux
42
รูปที่สร้ างจาก Povray
43
การใช้ ลีนุกซ์ พัฒนาโปรแกรม
ลีนกุ ซ์มาพร้ อมกับเครื่ องมือพัฒนาโปรแกรมมากมาย
• มีตวั แปรภาษาสาหรับโปรแกรมภาษา C, C++, Pascal,
fortran77,lisp, prolog, ADA
• Java ต้ องdownload มา แต่ใช้ งานได้ ดี
• สนับสนุน Script language language เช่น shell, c-shell, kshell, perl, python
• ทากราฟิ กและเมนูได้ งา่ ยด้ วย TCL/TK, Python, Glade, Java
44
การเขียนและพัฒนาโปรแกรม
• มีคอมไพเลอร์ ภาษา C gcc
• มีโปรแกรม Integrated Development Environment
เรี ยกว่า Kdevelop
• โปรแกรม Debugger Full Screen เรี ยกว่า xxgdb
• มีโปรแกรมช่วยบริ หาร code เรี ยกว่า rcs (revision
control system)
– ช่วยรักษา database ของ code ให้ มี version ที่แน่นอนและ
มีการเปลี่ยนแปลงจากคนๆเดียว
45
การเขียนและพัฒนาโปรแกรม
46
Linux Embedded
• ลีนกุ ซ์ถกู ใช้ งานมากขึ ้นในระบบเล็กๆ
– Internet Appliance, Home Router
– PDA
• ข้ อดี
– Programming support
– Source code availability
– Large users and developers
communities
• http://www.linuxdevices.com/
47
อนาคตของลีนุกซ์ ท่ วั โลก
• ลีนกุ ซ์จะได้ รับการยอมรับจากบริ ษัทต่างๆในการใช้ งานจริ งมาก
ขึ ้น
– ขณะนี ้ซอฟแวร์ ฐานข้ อมูลใหญ่ๆเริ่มลงมาสนับสนุนลีนกุ ซ์ เช่น
Informix, Oracle, IBM DB2
– ซอฟแวร์ ตา่ ง ๆ จะเริ่มตามมาอีก
• อย่างไรก็ตามลีนกุ ซ์คงจะแข่งขันได้ เฉพาะในตลาดเซอร์ ฟเวอร์ ที่
ต้ องการคนทางเทคนิคดูแล ยังไม่ลงมาทาง Desktop เนื่องจาก
– การติดตังลี
้ นกุ ซ์ยงั ไม่ง่าย
– การดูแลระบบยังยากเนื่องจากรากฐานที่มาจากระบบยูนิกซ์
48
อนาคตของระบบลีนุกซ์ ในประเทศไทย
• ลีนุกซ์ กาลังได้ รับความสนใจอย่ างมาก
– ในหมูน่ กั ศึกษา อาจารย์มหาวิทยาลัยเนื่องจากความเด่น
ทางเทคนิคและเป็ นของฟรี
– ในหมูส่ ถาบันการศึกษาเพื่อนามาใช้ เป็ นระบบอินเตอร์ เน็ต
เซิร์ฟเวอร์ การเรี ยนการสอนในกลุม่ องค์กรและบริ ษทั
ขนาดเล็กและขนาดกลางเพื่อนามาลดค่าใช้ จ่าย
49
Question & Answer
50