ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์

Download Report

Transcript ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์

BCOM1101 ความรู ้พ้นื ฐานทางคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ
ซอฟต์ แวร์ และภาษาคอมพิวเตอร์
LOGO
Contents
1
ความหมายและประเภทของซอฟต์ แวร์
2
ประเภทของซอฟต์ แวร์ ระบบ
3
การจัดหาซอฟต์ แวร์ มาประยุกต์ ใช้ งาน
4
ภาษาคอมพิวเตอร์
5
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์ แวร์
LOGO
ซอฟต์ แวร์ (Software) หมายถึง ชุ ดคาสั่ งทีใ่ ช้ ควบคุมการทางาน
ของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออาจเรียกว่ า “โปรแกรม” ก็ได้ ซึ่งหมายถึง
คาสั่ งหรือชุ ดของคาสั่ ง สามารถใช้ เพือ่ สั่ งให้ คอมพิวเตอร์ ทางาน เรา
ต้ องการให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ ทาอะไรก็เขียนเป็ นคาสั่ ง ทีจ่ ะต้ องสั่ งเป็ น
ขั้นเป็ นตอน และแต่ ละขั้นตอนต้ องทาอย่ างละเอียดและครบถ้ วน ซึ่งจะ
เกิดเป็ นงานชิ้นหนึ่งขึน้ มา มีชื่อเรียกว่ า โปรแกรม ผู้ทเี่ ขียนโปรแกรมดั่ง
กล่าวก็จะเรียกว่ า (Programmer)
ซอฟต์ แวร์
ส าหรั บ การเขี ย นโปรแกรมนั้ น ต้ อ งใช้ ภาษาที่ ใ ช้ ในการเขี ย น
โปรแกรมโดยเฉพาะ หรือหมายถึง ภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถ
เข้ าใจได้ เช่ น ภาษาเบสิ ก ภาษาโคบอล ภาษาปาสคาล เป็ นต้ น
โปรแกรมที่เขียนขึน้ มาก็จะนาไปใช้ ในงานเฉพาะอย่ าง เช่ น โปรแกรม
สต็อกสิ นค้ าคงคลัง โปรแกรมคานวณภาษี โปรแกรมคิดเงินเดือน
พนักงาน เป็ นต้ น
LOGO
ประเภทของซอฟต์ แวร์
LOGO
1. ซอฟต์ แวร์ ระบบ (System Software)
LOGO
เกีย่ วข้ องกับการควบคุมการทางานทีใ่ กล้ชิดกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
มากทีส่ ุ ดแบ่ งออกเป็ น 2 ประเภทคือ
ระบบปฎิบัติการ (Operating Systems) หมายถึง โปรแกรมที่มี
หน้ าทีค่ วบคุมการทางานของฮาร์ ดแวร์ ทุกอย่ าง และอานวยความสะดวก
ให้ กบั ผู้ใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์
1. ซอฟต์ แวร์ ระบบ (System Software)
LOGO
โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Programs) คือ โปรแกรมระบบที่
ทาหน้ าทีใ่ นการอานวยความสะดวกให้ กบั ผู้ใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์ ให้
สามารถทางานได้ สะดวก รวดเร็วและง่ ายขึน้ เช่ น โปรแกรมที่ใช้ ในการ
เรียงลาดับข้ อมูล โปรแกรมโอนย้ ายข้ อมูลอีกชนิดหนึ่งไปยังอีกชนิดหนึ่ง
โปรแกรมรวบรวมข้ อมูล 2 ชุ ดเข้ าด้ วยกัน โปรแกรมคัดลอกข้ อมูล เป็ นต้ น
2.ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ (Application Software)
LOGO
หมายถึง โปรแกรมทีผ่ ู้ใช้ คอมพิวเตอร์ เป็ นผู้เขียนมาใช้ งานเอง เพือ่
สั่ งให้ คอมพิวเตอร์ ทางานอย่ างใดอย่ างหนึ่งตามที่ต้องการ และพัฒนาขึน้
มาเพือ่ ใช้ เฉพาะด้ านเท่ านั้น แบ่ งออกตามเกณฑ์ ที่ใช้ แบ่ งได้ ดังนี้
• แบ่ งตามลักษณะการผลิต
• แบ่ งตามกลุ่มการใช้ งาน
2.ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ (Application Software)
– แบ่ งตามลักษณะการผลิต ได้ 2 ประเภทคือ
• ซอฟต์ แวร์ ที่พฒ
ั นาขึน้ ใช้ เองโดยเฉพาะ
• ซอฟต์ แวร์ ที่หาซื้อได้ โดยทัว่ ไป
LOGO
2.ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ (Application Software)
– แบ่ งตามกลุ่มการใช้ งาน ได้ 3 กลุ่มใหญ่ คอื
• กลุ่มการใช้ งานทางด้ านธุรกิจ
• กลุ่มการใช้ งานทางด้ านกราฟิ กและมัลติมีเดีย
• กลุ่มใช้ งานบนเว็บและการติดต่ อสื่ อสาร
LOGO
2.1 ประเภทของซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ แบ่ งตามการผลิต
แบ่ งตามลักษณะการผลิตได้ เป็ น 2 ประเภท
– ซอฟต์ แวร์ ที่พฒ
ั นาเอง (proprietary software)
– ซอฟต์ แวร์ ที่หาซื้อได้ โดยทัว่ ไป (off-the-shelf software)
LOGO
ซอฟต์ แวร์ ที่พฒ
ั นาเอง (proprietary software)
LOGO
• เพราะหน่ วยงานไม่ สามารถหาซอฟต์ แวร์ ที่เหมาะสมและมีประสิ ทธิภาพ
ดีเพียงพอกับความต้ องการได้
• วิธีการพัฒนาอาจทาได้ 2 วิธีคอื
– In-House Developed สร้ างและพัฒนาโดยหน่ วยงานในบริษัทเอง
– Contract หรือ Outsource เป็ นการจ้ างบุคคลภายนอกให้ ทาขึน้ มา
ซอฟต์ แวร์ ที่พฒ
ั นาเอง (proprietary software)
LOGO
ข้ อดีของซอฟต์ แวร์ ที่พฒ
ั นาเอง
• สามารถเพิม่ เงื่อนไขและความต้ องการต่ างๆได้ ไม่ จากัด
• สามารถควบคุมให้ เป็ นไปตามทีต่ ้ องการได้ ตลอดระยะเวลาการพัฒนานั้น
• ยืดหยุ่นการทางานได้ ดีกว่ า เมื่อข้ อมูลใดๆมีการเปลีย่ นแปลง
ซอฟต์ แวร์ ที่พฒ
ั นาเอง (proprietary software)
LOGO
ข้ อเสี ยของซอฟต์ แวร์ ที่พฒ
ั นาเอง
• ใช้ เวลาในการออกแบบและพัฒนานานมาก เพื่อให้ ได้ คุณสมบัติตรงตามที่
ต้ องการ
• ทีมงานถูกกดดัน เพราะจะถูกคาดหวังว่ าต้ องได้ คุณสมบัติตรงตามความ
ต้ องการทุกประการ
• เสี ยเวลาดูแลและบารุงรักษาระบบนั้นๆตามมา
• เสี่ ยงต่ อความผิดพลาดสู ง อาจทาให้ เกิดปัญหาขึน้ มาได้
ซอฟต์ แวร์ ที่หาซื้อได้ โดยทัว่ ไป (Off-the-shelf Software)
LOGO
• มีวางขายตามท้ องตลาดทั่วไป (off-the-shelf) โดยบรรจุหีบห่ ออย่ างดีและ
สามารถนาไปติดตั้งและใช้ งานได้ ทันที
• บางครั้งนิยมเรียกว่ า โปรแกรมสาเร็จรูป (Package Software)
• อาจแบ่ งออกได้ เป็ น 2 ประเภท คือ
– โปรแกรมเฉพาะ (Customized Package)
– โปรแกรมมาตรฐาน (Standard Package)
ซอฟต์ แวร์ ที่หาซื้อได้ โดยทัว่ ไป (Off-the-shelf Software)
LOGO
โปรแกรมเฉพาะ (customized package)
• เป็ นโปรแกรมทีอ่ าจต้ องขอให้ ผ้ผู ลิตทาการเพิม่ เติมคุณสมบัติบางอย่ างลง
ไปเพียงเล็กน้ อย
• เพือ่ ให้ เหมาะสมกับการใช้ งานแบบเฉพาะองค์ กรมากขึน้
• บางครั้งนิยมเรียกว่ าเป็ นซอฟต์ แวร์ ตามคาสั่ ง (tailor-made software)
ซอฟต์ แวร์ ที่หาซื้อได้ โดยทัว่ ไป (Off-the-shelf Software)
LOGO
โปรแกรมมาตรฐาน (standard package)
• สามารถใช้ ได้ กบั งานทัว่ ไป
• มีคุณสมบัติทเี่ ป็ นมาตรฐานเดียวกัน
• ใช้ งานง่ าย ศึกษาคู่มือและรายละเอียดการใช้ เพียงเล็กน้ อย
• ไม่ จาเป็ นต้ องไปปรับปรุงหรือแก้ไขส่ วนของโปรแกรมเพิม่ เติม
• เช่ น กลุ่มโปรแกรมสาเร็จรูปทางด้ าน Microsoft Office
ซอฟต์ แวร์ ที่หาซื้อได้ โดยทัว่ ไป (Off-the-shelf Software)
LOGO
ข้ อดีของซอฟต์ แวร์ ที่หาซื้อได้ โดยทัว่ ไป
• ซื้อได้ ในราคาถูก เพราะนาออกมาจาหน่ ายเป็ นจานวนมาก
• ความเสี่ ยงในการใช้ งานตา่ และสามารถศึกษาคุณสมบัติและประสิ ทธิภาพ
ของโปรแกรมได้ โดยตรงจากคู่มือทีม่ ีให้
• โปรแกรมทีไ่ ด้ มีคุณภาพดีกว่ า เนื่องจากมีผู้ใช้ หลายรายทดสอบและแจ้ ง
แก้ไขปัญหาให้ กบั ผู้ผลิตมาเป็ นอย่ างดีแล้ว
ซอฟต์ แวร์ ที่หาซื้อได้ โดยทัว่ ไป (Off-the-shelf Software)
LOGO
ข้ อเสี ยของซอฟต์ แวร์ ที่หาซื้อได้ โดยทั่วไป
• คุณสมบัติบางอย่ างเกินความจาเป็ นและต้ องการ
• คุณสมบัติบางอย่ างอาจไม่ มีให้ ใช้
• เมื่อต้ องการเพิ่มคุณสมบัติต้องจ่ ายเงินมากขึ้น แต่ ในบางโปรแกรมก็ไม่
สามารถทาได้
• ไม่ ยืด หยุ่ น จึง ไม่ เหมาะสมกับงานที่จาเป็ นต้ องปรั บเปลี่ยนหรื อแก้ ไ ข
ระบบอยู่บ่อยๆ
2.2 ประเภทของซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ แบ่ งตามกลุ่มการใช้ งาน
LOGO
แบ่ งตามกลุ่มการใช้ งานได้ 3 กลุ่มดังนี้
– กลุ่มการใช้ งานทางด้ านธุรกิจ (business)
– กลุ่มการใช้ งานทางด้ านกราฟิ กและมัลติมีเดีย (graphic and multimedia)
– กลุ่มสาหรับการใช้ งานบนเว็บและการติดต่ อสื่ อสาร (web and
communications)
ซอฟต์ แวร์ กลุ่มการใช้ งานด้ านธุรกิจ
• มุ่งเน้ นให้ ใช้ งานเพือ่ ประโยชน์ สาหรับงานทางด้ านธุรกิจโดยเฉพาะ
• ทาให้ การทางานมีประสิ ทธิภาพดีขนึ้ มากกว่ าการใช้ แรงงานคน
• ตัวอย่ างงาน เช่ น ใช้ สาหรับการจัดพิมพ์รายงานเอกสาร นาเสนองาน
รวมถึงการบันทึกนัดหมายต่ างๆ
LOGO
ซอฟต์ แวร์ กลุ่มการใช้ งานด้ านธุรกิจ
อาจแบ่ งซอฟต์ แวร์ กลุ่มนีอ้ อกเป็ นประเภท ได้ ดงั นี้
– ซอฟต์ แวร์ ประมวลผลคา (Word processing)
– ซอฟต์ แวร์ ตารางคานวณ (Spreadsheet)
– ซอฟต์ แวร์ ฐานข้ อมูล (Database)
– ซอฟต์ แวร์ นาเสนองาน (Presentation)
– ซอฟต์ แวร์ สาหรับพีดเี อ (PDA Software)
– ซอฟต์ แวร์ แบบกลุ่ม (Software Suite)
– ซอฟต์ แวร์ สาหรับจัดการโครงการ (Project management)
– ซอฟต์ แวร์ สาหรับงานบัญชี (Accounting)
LOGO
ซอฟต์ แวร์ กลุ่มการใช้ งานด้ านธุรกิจ
ซอฟต์ แวร์ ประมวลผลคา (Word processing)
• เป็ นกลุ่มของโปรแกรมทีช่ ่ วยในการประมวลผลคา
• สามารถจัดการเอกสารต่ างๆได้ เช่ น ขนาดตัวอักษรใหญ่ เล็ก รูปแบบ
ตัวอักษร เป็ นต้ น
• นาเอารูปภาพมาผนวกเข้ ากับเอกสารได้ (คลิปอาร์ ตและภาพถ่ าย)
• ตัวอย่ างโปรแกรม เช่ น MicrosoftWord, Sun StarOffice Writer
LOGO
ซอฟต์ แวร์ กลุ่มการใช้ งานด้ านธุรกิจ
ตัวอย่างโปรแกรม Microsoft Word
LOGO
ซอฟต์ แวร์ กลุ่มการใช้ งานด้ านธุรกิจ
ซอฟต์ แวร์ ตารางคานวณ (Spreadsheet)
• กลุ่มของซอฟต์ แวร์ ทเี่ กีย่ วข้ องกับการคานวณต่ างๆ
• นาเอา ตารางคานวณ (spreadsheet) มาใช้ ในการทางาน
• หน่ วยทีเ่ ล็กทีส่ ุ ดบริเวณทางานเรียกว่ า เซล
• นิยมใช้ กบั งานด้ านบัญชีและรายการคานวณอืน่
• ตัวอย่ างโปรแกรม เช่ น Microsoft Excel,Sun StarOffice Calc
LOGO
ซอฟต์ แวร์ กลุ่มการใช้ งานด้ านธุรกิจ
ตัวอย่างโปรแกรม Microsoft Excel
LOGO
ซอฟต์ แวร์ กลุ่มการใช้ งานด้ านธุรกิจ
LOGO
ซอฟต์ แวร์ ฐานข้ อมูล (Database)
• สร้ างและรวบรวมข้ อมูลต่ างๆให้ อยู่เป็ นระบบ
• แก้ไขปรับปรุงรายการข้ อมูลต่ างๆ เช่ น การเพิม่ ข้ อมูล การเปลีย่ นแปลง
ข้ อมูล การลบข้ อมูล หรือการจัดเรียงข้ อมูลให้ เป็ นไปได้ โดยง่ าย
• ตัวอย่ างโปรแกรม เช่ น Microsoft Access, Oracle, MySQL
ซอฟต์ แวร์ กลุ่มการใช้ งานด้ านธุรกิจ
ตัวอย่างโปรแกรม Microsoft Access
LOGO
ซอฟต์ แวร์ กลุ่มการใช้ งานด้ านธุรกิจ
LOGO
ซอฟต์ แวร์ นาเสนองาน (Presentation)
• ช่ วยในเรื่องของการนาเสนองานเป็ นหลัก
• อาจใส่ ข้อมูลที่เป็ นตัวอักษร รู ปภาพตลอดจนเสี ยงต่ างๆรวมถึงเทคนิคการ
นาเสนอให้ มีความสวยงามและน่ าสนใจได้
• การนาเสนองานบางครั้งนิยมเรียกว่ า slide show
• ตัวอย่ างโปรแกรม เช่ น Microsoft PowerPoint, Sun StarOffice Impress
ซอฟต์ แวร์ กลุ่มการใช้ งานด้ านธุรกิจ
ตัวอย่างโปรแกรม Microsoft PowerPoint
LOGO
ซอฟต์แวร์กลุม
่ การใชง้ านด้านธุรกิจ
LOGO
ซอฟต์ แวร์ สาหรับพีดีเอ (PDA Software)
• เป็ นซอฟต์ แวร์ เฉพาะที่มีการใช้ งานในพีดเี อ
• อาจเป็ นซอฟต์ แวร์ ทเี่ รียกว่ า PIM (Personal Information
Manager) ซึ่งทางานแบบพืน้ ฐานทัว่ ไป
• ทางานร่ วมกันกับเครื่องพีซีได้ โดยการถ่ ายโอนข้ อมูล
(synchronization)
• บางโปรแกรมทีเ่ ห็นบนพีซีอาจนามาใช้ บนพีดเี อ
• ตัวอย่ างโปรแกรม เช่ น Microsoft Pocket Outlook, Microsoft
Pocket Excel, QuickNotes
ซอฟต์ แวร์ กลุ่มการใช้ งานด้ านธุรกิจ
ซอฟต์ แวร์ แบบกลุ่ม (Software Suite)
• นาเอาซอฟต์ แวร์ หลายตัวมาจาหน่ ายรวมกันเป็ นกลุ่มเดียว
• ทาให้ การทางานคล่ องตัวและสะดวก
• เนื่องจากจัดกลุ่มซอฟท์ แวร์ ทที่ างานใกล้ เคียงกันไว้ เป็ นกลุ่มเดียว
• ราคาจาหน่ ายถูกกว่ าการเลือกซื้อซอฟต์ แวร์ แต่ ละตัวมาใช้
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่ น Microsoft Office,
Sun StarOffice, Pladao Office
LOGO
ซอฟต์ แวร์ กลุ่มการใช้ งานด้ านธุรกิจ
ซอฟต์ แวร์ สาหรับจัดการโครงการ (Project management)
• ใช้ กบั การวิเคราะห์ และวางแผนโครงการเป็ นหลัก
• จัดการเกี่ยวกับกิจกรรมงาน (schedule) ติดตามงาน วิเคราะห์ และหาต้ นทุ น
ค่ าใช้ จ่ายต่ างๆของโครงการได้ ง่ายขึน้
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่ น Microsoft Project,
Macromedia Sitespring
LOGO
ซอฟต์ แวร์ กลุ่มการใช้ งานด้ านธุรกิจ
ซอฟต์ แวร์ สาหรับงานบัญชี (Accounting)
• บันทึกข้ อมูลและแสดงรายงานทางการเงินต่ าง ๆ
• ออกรายงานงบกาไรขาดทุน งบดุล รวมถึงรายงานซื้อ-ขายได้
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่ น Intuit QuickBooks, Peachtree Complete Accounting
LOGO
ซอฟต์ แวร์ กลุ่มการใช้ งานด้ านกราฟิ กและมัลติมเี ดีย
LOGO
• เพือ่ ช่ วยสาหรับจัดการงานด้ านกราฟิ กและมัลติมีเดียให้ ง่ายขึน้
• มีความสามารถเสมือนเป็ นผู้ช่วยในการออกแบบงาน
• มีความสามารถหลากหลาย เช่ น ตกแต่ งภาพ วาดรู ป ปรับเสี ยง ตัดต่ อ
ภาพเคลือ่ นไหวรวมถึงการสร้ างและออกแบบพัฒนาเว็บไซท์
ซอฟต์ แวร์ กลุ่มการใช้ งานด้ านกราฟิ กและมัลติมเี ดีย
อาจแบ่ งซอฟต์ แวร์ กลุ่มนีอ้ อกเป็ นประเภท ได้ ดงั นี้
– ซอฟต์ แวร์ สาหรับงานออกแบบ (CAD - Computer-aided design)
– ซอฟต์ แวร์ สาหรับสิ่ งพิมพ์ (Desktop publishing)
– ซอฟต์ แวร์ สาหรับตกแต่ งภาพ (Paint/image editing)
– ซอฟต์ แวร์ สาหรับการตัดต่ อวิดโี อและเสี ยง (Video and audio editing)
– ซอฟต์ แวร์ สาหรับสร้ างสื่ อมัลติมเี ดีย (Multimedia authoring)
– ซอฟต์ แวร์ สาหรับสร้ างเว็บ (Web page authoring)
LOGO
ซอฟต์ แวร์ สาหรับงานออกแบบ (CAD - Computer-aided design)LOGO
• ช่ วยสาหรับการออกแบบแผนผัง การออกแบบและตกแต่ งบ้ าน รวมถึงการ
จัดองค์ ประกอบอืน่ ๆ
• เหมาะสาหรับงานด้ านวิศกรรมสถาปัตยกรรม รวมถึงงานด้ านวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีบางประเภท
• ตัวอย่ างโปรแกรม เช่ น Autodesk
AutoCAD, Microsoft Visio
Professional
ซอฟต์ แวร์ สาหรับงานออกแบบ (CAD - Computer-aided design)LOGO
ซอฟต์ แวร์ สาหรับสิ่ งพิมพ์ (Desktop publishing)
LOGO
• ส าหรั บ การจั ด การกั บ สิ่ งพิ ม พ์ เช่ นหนั งสื อ
วารสาร หนังสื อพิมพ์ โบร์ ชัวร์ แผ่นพับ โลโก้
• เหมาะกับ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ย วข้ อ งกับ สื่ อ สิ่ ง พิม พ์
เช่ น ส านั ก พิม พ์ โรงพิม พ์ ห รื อ บริ ษั ท ออกแบบ
กราฟิ ก
• ตัวอย่ างโปรแกรม เช่ น Adobe InDesign, Adobe
PageMaker, Corel VENTURA, QuarkXPress
ซอฟต์ แวร์ สาหรับตกแต่ งภาพ (Paint/image editing)
LOGO
• สาหรับการสร้ างและจัดการรู ปภาพ การจัดองค์ ประกอบแสง-สี ของภาพ รวมถึงการวาด
ภาพลายเส้ น
• เหมาะสาหรับออกแบบงานกราฟิ ก เช่ น งานพาณิชย์ ศิลป์ งานออกแบบและตกแต่ งสิ นค้ า
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่ น Adobe Illustrator,
AdboePhotoshop, CorelDRAW,
Macromedia FreeHand
ซอฟต์ แวร์ สาหรับตกแต่ งภาพ (Paint/image editing)
ตัวอย่างโปรแกรม Adobe Photoshop
LOGO
LOGO
ซอฟต์ แวร์ สาหรับการตัดต่ อวิดโี อและเสี ยง (Video and audio editing)
• ใช้ จัดการกับข้ อมูลเสี ยง เช่ น ผสมเสี ยงแก้ ไขเสี ยง
สร้ างเอฟเฟ็ คต์ หรือเสี ยงใหม่ ๆ
• เหมาะสาหรับใช้ กบั งานวงการตัดต่ อภาพยนตร์
โทรทัศน์ สตูดโิ อบันทึกเสี ยงหรืองานบน
อินเทอร์ เน็ตบางชนิด
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่ น Adobe Premiere,
Cakewalk SONAR, Pinnacle Studio DV
ซอฟต์ แวร์ สาหรับสร้ างสื่ อมัลติมเี ดีย(Multimedia authoring)
LOGO
• ซอฟต์ แวร์ ทเี่ ป็ นการผนวกเอาสื่ อหลายชนิด
(multimedia) มาประกอบกันเพือ่ ให้ การนาเสนองาน
มีความน่ าสนใจ
• อาจสร้ างชิ้นงานประเภทสื่ อปฎิสัมพันธ์ กบั ผู้ใช้
(interractive) เช่ น บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนได้
• ตัวอย่างโปรแกรมเช่ น Toolbook
Instructor,Macromedia Authorware,
Macromedia Director Shockwave Studio
ซอฟต์ แวร์ สาหรับสร้ างเว็บ (Web page authoring)
LOGO
• สามารถจัดการและออกแบบเว็บไซท์ ได้ โดยง่ าย
• สามารถแทรกข้ อมูลประเภทเสี ยง ข้ อความ รู ป
ภาพเคลือ่ นไหว เพือ่ นาเสนอบนเว็บไซท์ ได้ เป็ น
อย่างดี
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่ น Adobe GoLive,
Macromedia Dreamweaver, Macromedia
Fireworks, Macromedia Flash,
Microsoft FrontPage
ซอฟต์ แวร์ การใช้ งานบนเว็บและการสื่ อสาร
LOGO
• เน้ นเฉพาะการใช้ งานด้ านเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต
• ส่ วนใหญ่ ใช้ สาหรับการติดต่ อสื่ อสาร แลกเปลีย่ นข้ อมูล
• เกิ ด ขึ้ น มาเป็ นจ านวนมาก และพั ฒ นาออกมาหลายเวอร์ ชั่ น หลาย
โปรแกรม เนื่องจากการขยายตัวของการใช้ งานทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่ างรวดเร็ว
ซอฟต์ แวร์ การใช้ งานบนเว็บและการสื่ อสาร
กลุ่มของโปรแกรมประเภทนี้ เช่ น
– ซอฟต์ แวร์ สาหรับจัดการอีเมล์ (Electronic mail Software)
– ซอฟต์ แวร์ สาหรับท่ องเว็บ (Web browser)
– ซอฟต์ แวร์ สาหรับจัดประชุ มทางไกล (Video Conference)
– ซอฟต์ แวร์ สาหรับถ่ ายโอนไฟล์ (File Transfer)
– ซอฟต์ แวร์ ประเภทส่ งข้ อความด่ วน (Instant Messaging)
– ซอฟท์ แวร์ สาหรับสนทนาบนอินเทอร์ เน็ต (Internet Relay Chat)
LOGO
ซอฟต์ แวร์ การใช้ งานบนเว็บและการสื่ อสาร
LOGO
ซอฟต์ แวร์ สาหรับจัดการอีเมล์ (Electronic mail Software)
• กลุ่มของซอฟต์ แวร์ ที่ใช้ สาหรับการส่ ง
ข้ อความจดหมาย
• สามารถตรวจรับจดหมายเข้ า ส่ งจดหมาย
ออกหรือสาเนาจดหมายได้
• นอกจากนั้นยังแทรกรู ปภาพหรือไฟล์ เพือ่ ส่ ง
แนบไปกับจดหมายได้
• ตัวอย่างโปรแกรมเช่ น Microsoft Outlook
ซอฟต์ แวร์ การใช้ งานบนเว็บและการสื่ อสาร
LOGO
ซอฟต์ แวร์ สาหรับท่ องเว็บ (Web browser)
• มักเรียกย่อว่ า บราวเซอร์ (browser)
• เป็ นโปรแกรมหลักสาหรับการเรียกดูข้อมูลบนเว็บไซท์ ทเี่ ผยแพร่ อยู่ในอินเทอร์ เน็ต
• มีคุณสมบัติสาหรั บการรั บชมเว็บเพจได้ ดี เช่ น แสดงผลหลายภาษา ชมเว็บ เพจแบบ
ออฟไลน์ ทางานร่ วมกับโปรแกรมเสริมได้
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่ น Microsoft Internet
Explorer, Nestcape Comunication, Opera
ซอฟต์ แวร์ การใช้ งานบนเว็บและการสื่ อสาร
ตัวอย่างโปรแกรม Internet Explorer
LOGO
ซอฟต์ แวร์ การใช้ งานบนเว็บและการสื่ อสาร
LOGO
ซอฟต์ แวร์ สาหรับจัดประชุ มทางไกล (Video Conference)
• สาหรับการประชุ มแบบทางไกลโดยเฉพาะ
• สามารถให้ ข้อมูลที่เป็ นทั้งภาพเคลื่อนไหวและเสี ยงที่
ใช้ ในการประชุ มและถ่ ายทอดออกไปในระยะไกลได้
• อาจพบเห็ น กั บ การน าเอาไปประยุ ก ต์ ใช้ ในการ
ติดต่ อสื่ อสารระหว่ างเพื่อนหรื อคนรู้ จักที่อยู่ต่างถิ่น
ได้
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่ น Microsoft Netmeeting
ซอฟต์ แวร์ การใช้ งานบนเว็บและการสื่ อสาร
LOGO
ซอฟต์ แวร์ สาหรับถ่ ายโอนไฟล์ (File Transfer)
• นามาใช้ ในการถ่ ายโอนไฟล์ข้อมูล (file transfer) บนอินเทอร์ เน็ต
• เหมาะสาหรับนักพัฒนาเว็บไซท์ และผู้ดูแลเว็บไซท์ เพือ่ ส่ งข้ อมูลขึน้ ไปเก็บ
ไว้ บนอินเทอร์ เน็ต
• ตัวอย่ างโปรแกรม เช่ น Cute_FTP, WS_FTP
ซอฟต์ แวร์ การใช้ งานบนเว็บและการสื่ อสาร
ตัวอย่างโปรแกรม FTP
LOGO
ซอฟต์ แวร์ การใช้ งานบนเว็บและการสื่ อสาร
LOGO
ซอฟต์ แวร์ ประเภทส่ งข้ อความด่ วน (Instant Messaging)
• ผู้รับและผู้ส่งสามารถทีจ่ ะเปิ ดการเชื่อมต่ อโปรแกรมและส่ งข้ อความถึง
กันได้ โดยทันที ผ่ านเบอร์ อเี มล์หรือหมายเลขทีร่ ะบุ
• การพูดคุยผ่ านข้ อความนีจ้ ะเป็ นแบบส่ วนตัวมากขึน้
• บางโปรแกรมอาจสนทนาแบบกลุ่มได้ ด้วย
• ตัวอย่ างโปรแกรม เช่ น ICQ , MSN Messenger, Yahoo Messenger
ซอฟต์ แวร์ การใช้ งานบนเว็บและการสื่ อสาร
ตัวอย่างโปรแกรม ICQ
LOGO
ซอฟต์ แวร์ การใช้ งานบนเว็บและการสื่ อสาร
ตัวอย่างโปรแกรม MSN
LOGO
ซอฟต์ แวร์ การใช้ งานบนเว็บและการสื่ อสาร
LOGO
ซอฟต์ แวร์ สาหรับสนทนาบนอินเทอร์ เน็ต (Internet Relay Chat)
• โปรแกรมสาหรับการสนทนาเฉพาะกลุ่ม
• เรียกสั้ นๆว่ าโปรแกรม แชท (chat)
• ติดต่ อกันโดยพิมพ์ข้อความโต้ ตอบกันไปมา
• ผู้ ส นทนาสามารถตั้ ง ห้ อ งและพู ด คุ ย กัน ในแชทรู ม
(chat room) ได้
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่ น PIRCH, MIRC
การจัดหาซอฟต์ แวร์
1. แบบสาเร็จรูป (Package Software)
2. แบบว่ าจ้ าง (Custom Software)
3. แบบทดลองใช้ (Shareware)
4. แบบใช้ งานฟรี (Freeware)
5. แบบโอเพ่นซอร์ ส (Public-Domain/Open Source)
LOGO
1. แบบสาเร็จรูป (Package Software)
LOGO
• หาซื้อได้ กบั ตัวแทนจาหน่ ายซอฟต์ แวร์ ที่ได้ รับการแต่ งตั้งจากบริษัทผู้ผลิต
โดยตรง
• นาไปติดตั้งเพื่อการใช้ งานได้ โดยทันที โดยมีบรรจุภัณฑ์ และเอกสารคู่มือ
การใช้ งานไว้ แล้ว
• อาจเข้ าไปในเว็บไซท์ ของบริษัทผู้ผลิตเพือ่ ซื้อได้ เช่ นกัน
2. แบบว่ าจ้ าง (Custom Software)
• เหมาะกับลักษณะงานทีเ่ ป็ นแบบเฉพาะ
• จาเป็ นต้ องผลิตขึน้ มาใช้ เองหรือว่ าจ้ างให้ ทา
• อาจมีค่าใช้ จ่ายทีแ่ พงพอสมควร
LOGO
3. แบบทดลองใช้ (Shareware)
LOGO
• ลูกค้ าสามารถทดสอบการใช้ งานของโปรแกรมก่อนได้ ฟรี
• ผู้ผลิตจะกาหนดระยะเวลาของการใช้ งานหรือเงื่อนไขอืน่ เช่ น ใช้ ได้
ภายใน 30 วัน หรือ ใช้ ได้ แต่ ปรับลดคุณสมบัติบางอย่ างลง
• อาจดาวน์ โหลดได้ จากเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต
4. แบบใช้ งานฟรี (Freeware)
LOGO
• สามารถดาวน์ โหลดบนอินเทอร์ เน็ตได้
• ส่ วนใหญ่ จะเป็ นโปรแกรมขนาดเล็กและใช้ เวลาเพียงไม่ กี่นาทีในการ
ดาวน์ โหลด
• ให้ ใช้ งานได้ ฟรี แต่ ไม่ สามารถนาไปพัฒนาต่ อหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้
• ลิขสิ ทธิ์เป็ นของบริษัทหรือทีมงานผู้ผลิต
5. แบบโอเพ่นซอร์ ส (Public-Domain/Open Source)
LOGO
• Open Source = ซอฟต์ แวร์ ทมี่ ีการเปิ ดให้ แก้ไขปรับปรุงตัวโปรแกรมต่ างๆได้
• นาเอาโค้ ดโปรแกรมไปพัฒนาและประยุกต์ ใช้ ได้ ภายใต้ เงื่อนไขทีก่ าหนด
• มีนักพัฒนาจากทั่วโลก ช่ วยกันเขียนโค้ ดและนาไปแจกจ่ ายต่ อ
• ประหยัดเงินและค่ าใช้ จ่าย
• การพัฒนาโปรแกรมทาได้ เร็วขึน้
ภาษาคอมพิวเตอร์
• เป็ นเสมือน “ล่ามแปลภาษา”
• แบ่ งออกได้ หลายระดับ
• หากใกล้เคียงกับคอมพิวเตอร์ จะอยู่กลุ่มระดับต่า
• หากใกล้เคียงกับมนุษย์ จะอยู่กลุ่มระดับสู ง
LOGO
ยุคของภาษาคอมพิวเตอร์
• ภาษาคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1 (first generation language)
• ภาษาคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 2 (second generation language)
• ภาษาคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 3 (third generation language)
• ภาษาคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 4 (fourth generation language)
• ภาษาคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 5 (fifth generation language)
LOGO
ภาษาคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1 (first generation language)LOGO
• การทางานใช้ ภาษาระดับต่า (low-level language)
• เช่ น ภาษาเครื่ อ ง (machine language) ที่ป ระกอบด้ ว ยตั ว เลขเฉพาะ
0 และ 1 เท่ านั้น
• เครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถทาความเข้ าใจได้ ทันที
• การเขียนโปรแกรมค่ อนข้ างยุ่งยากและไม่ สะดวก
ภาษาคอมพิวเตอร์ ยคุ ที่ 2 (second generation language)
LOGO
• เอาสั ญลักษณ์ (symbol) มาแทนรู ปแบบของตัวเลขในภาษาเครื่อง
• ภาษาที่ใช้ คือ ภาษาแอสแซมบลี (assembly language) ซึ่ งได้ นาเอาคาย่ อ รวมถึง
สั ญลักษณ์ ต่างๆมาใช้ แทนตัวเลข 0 กับ 1
• เป็ นกลุ่มภาษาระดับต่าเช่ นเดียวกับภาษาเครื่ อง เพราะการทางานยังใกล้ เคียงกับ
ภาษาของคอมพิวเตอร์
• มีตัวช่ วยแปลภาษาที่เรี ยกว่ า แอสแซมเบลอร์ (
แปลภาษาให้ คอมพิวเตอร์ เข้ าใจ
assembler) เพื่อเป็ นตัวกลาง
ภาษาคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 3 (third generation language)
LOGO
• พัฒนาให้ มีรูปแบบใกล้ เคียงกับภาษาของมนุ ษย์ เรี ยกว่ า ภาษาระดับสูง(high-level
language)
• มีกลุ่มคาภาษาอังกฤษทีเ่ ข้ าใจง่ ายขึน้
• เป็ นภาษาเชิ งกระบวนการหรื อ procedural language ทางานเป็ นขั้นตอน เรี ยง
ตามลาดับคาสั่ งที่เขียน
• เขียนโปรแกรมทีซ่ ับซ้ อนได้ มากขึน้ แต่ กย็ งั ยุ่งยากอยู่บ้าง
• หากเป็ นโปรแกรมขนาดใหญ่ ต้องอาศัยประสบการณ์ และความชานาญ
ภาษาคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 4 (fourth generation language)
LOGO
• ช่ วยเหลือการเขียนโปรแกรมได้ มาก โดยใช้ ภาษาระดับสูงมาก (very-high
level language)
• อาศัยหลักการแบบ nonprocedural language
• เขียนโปรแกรมได้ ง่ายมากยิง่ ขึน้
• ได้ โปรแกรมทีม่ ีความสมบูรณ์ และสวยงามมากขึน้
ภาษาคอมพิวเตอร์ ยคุ ที่ 5 (fifth generation language)
LOGO
• เป็ นภาษาทีใ่ กล้ เคียงกับภาษาของมนุษย์ มากที่สุดหรือที่เรียกว่ าภาษาธรรมชาติ (natural
language)
• ทางานโดยอาศั ยระบบฐานความรู้ (knowledge base system)เพื่อช่ วยในการแปล
ความหมายของคาสั่ ง
• นิยมใช้ กับคอมพิวเตอร์ ที่เกี่ยวข้ องกับสาขาปั ญญาประดิษฐ์ (AI
-
Artificial
Intelligence)
• ตัวอย่างเช่ น การพัฒนาความรู้ และการจาในหุ่นยนต์ การสั่ งงานโปรแกรมด้ วยเสี ยง
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
• เป็ นตัวกลางในการแปลความหมายหรือภาษาของชุ ดคาสั่ งทีม่ นุษย์
• เขียนให้ อยู่ในรูปแบบของภาษาทีค่ อมพิวเตอร์ จะเข้ าใจได้
• แปลงซอร์ สโค้ ด (source code) ให้ เป็ น รหัสคาสั่ ง (object code)
LOGO
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
แบ่ งออกได้ เป็ น 3 ประเภทด้ วยกันคือ
– แอสแซมเบลอร์ (Assemblers)
– อินเตอร์ พรีเตอร์ (Interpreters)
– คอมไพเลอร์ (Compilers)
LOGO
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
LOGO
แอสแซมเบลอร์ (Assemblers)
– ตัวแปลภาษาของภาษาแอสแซมบลี
– แปลความหมายสั ญลักษณ์ ชุดคาสั่ งให้ เป็ นภาษาเครื่อง
– ใช้ งานร่ วมกั บ การเขี ย นโปรแกรมของภาษาระดั บ ต่ า (low-level
language)
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
LOGO
อินเตอร์ พรีเตอร์ (Interpreters)
– สาหรับการเขียนโปรแกรมในภาษาระดับสู ง (high-level language)
– แปลความหมายของชุ ดคาสั่ งทีละบรรทัดคาสั่ ง
– เหมาะสาหรับการเขียนโปรแกรมทีม่ ีขนาดเล็ก
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมต้ นฉบับ
(Source program)
อินเตอร์ พรีเตอร์
(Interpreter)
ข้ อมูลนาเข้ า
(Input)
LOGO
ผลลัพธ์
(output)
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
คอมไพเลอร์ (Compilers)
– ใช้ กบั การทางานในภาษาระดับสู ง (high-level language)
– แปลความหมายของชุ ดคาสั่ งทีเ่ ขียนทั้งหมดในคราวเดียวกัน
– เป็ นชุ ดของรหัสคาสั่ งเก็บไว้ ใช้ เมือ่ ต้ องการ
– ไม่ ต้องเสี ยเวลาไปแปลชุ ดคาสั่ งซ้าอีก
– เหมาะกับการการเขียนโปรแกรมขนาดใหญ่ และซับซ้ อน
LOGO
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมต้ นฉบับ
(Source program)
คอมไพเลอร์
(Compiler)
LOGO
โปรแกรมเรียกใช้ งาน
(executable program)
ข้ อมูลนาเข้ า
(Input)
ผลลัพธ์
(output)
ตัวอย่ างภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาเบสิ ก (BASIC)
ภาษาวิชวลเบสิ ก (Visual Basic)
ภาษาโคบอล (COBOL)
ภาษาปาสคาล (PASCAL)
ภาษาฟอร์ แทรน (FORTRAN)
ภาษาซี (C)
ภาษา HTML
ภาษาจาวา (JAVA)
ภาษา XML
LOGO
ตัวอย่ างภาษาคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโปรแกรมภาษา GWBasic
LOGO
ตัวอย่ างภาษาคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโปรแกรมภาษา JAVA
LOGO
ตัวอย่ างภาษาคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโปรแกรมภาษา Pascal
LOGO
ตัวอย่ างภาษาคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโปรแกรมภาษา Visual Basic
LOGO
ตัวอย่ างภาษาคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโปรแกรมภาษา HTML
LOGO
การเลือกใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์
LOGO
1) ภาษามาตรฐานที่ใช้ ในองค์การ ในหน่ วยงานควรมีภาษามาตรฐานใช้ พฒ
ั นา
เพราะทาให้ เกิดความสะดวกในการดูแลระบบ
2) ความเหมาะสมและคุณสมบัติของภาษา เพราะภาษาแต่ ละภาษาได้ ถูก
ออกแบบมาเพือ่ งานเฉพาะอย่ าง
3) การทางานร่ วมกับโปรแกรมอืน่ ควรเลือกภาษาที่ใกล้เคียงกันเพือ่ ให้ โปรแกรม
ทางานร่ วมกับโปรแกรมอืน่ ๆ ได้ อย่ างไม่ มีอุปสรรค
4) การทางานร่ วมกับระบบอืน่ ๆ ควรเลือกภาษาทีเ่ ป็ นพืน้ ฐานในการพัฒนา
โปรแกรม จะทาให้ โปรแกรมทางานได้ ทุกระบบ
C l i c k
t o
e d i t
c o m p a n y
s l o g a n