บทที่ 3 ซอฟต์แวร์

Download Report

Transcript บทที่ 3 ซอฟต์แวร์

บทที่ 3
ซอฟต์ แวร์
1
 1.ซอฟต์แวร์ ระบบ (System
Software)
 2. ซอฟต์แวร์ ประยุกต์ (Application
Software)
2
ซอฟต์ แวร์
3
1. ซอฟต์ แวร์ ระบบ (System Software)
เกี่ยวข้ องกับการควบคุมการทางานที่ใกล้ ชิด
กับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ มากที่สดุ
แบ่ งออกเป็ น
2 ประเภท คือ
ระบบปฎิบต
ั ิการ (operating systems)
โปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility programs)
4
2.ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ (Application Software)
พัฒนาขึ ้นมาเพื่อใช้ เฉพาะด้ านเท่านัน้
แบ่งออกตามเกณฑ์ที่ใช้ แบ่งได้ ดงั นี ้
แบ่งตามลักษณะการผลิต
แบ่งตามกลุม
่ การใช้ งาน
5
2.ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ (Application Software)
แบ่ งตามลักษณะการผลิต ได้
ประเภทคือ
2
ซอฟต์แวร์ ที่พฒ
ั นาขึ ้นใช้ เองโดยเฉพาะ
ซอฟต์แวร์ ที่หาซื ้อได้ โดยทัว่ ไป
6
2.ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ (Application Software)
แบ่ งตามกลุ่มการใช้ งาน
คือ
ได้ 3 กลุ่มใหญ่
กลุม
่ การใช้ งานทางด้ านธุรกิจ
กลุม
่ การใช้ งานทางด้ านกราฟิ กและมัลติมีเดีย
กลุม
่ ใช้ งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
7
การจัดหาซอฟต์ แวร์ มาใช้ งาน
1. แบบสาเร็จรูป (Package Software)
2. แบบว่าจ้ าง (Custom Software)
3. แบบทดลองใช้ (Shareware)
4. แบบใช้ งานฟรี (Freeware)
5. แบบโอเพ่นซอร์ ส (PublicDomain/Open Source)
8
1. แบบสาเร็จรู ป (Package Software)
 หาซื ้อได้ กบ
ั ตัวแทนจาหน่ายซอฟต์แวร์ ที่ได้ รับการแต่งตังจาก
้
บริ ษัทผู้ผลิตโดยตรง
 นาไปติดตังเพื
้ ่อการใช้ งานได้ โดยทันที โดยมีบรรจุภณ
ั ฑ์และ
เอกสารคูม่ ือการใช้ งานไว้ แล้ ว
 อาจเข้ าไปในเว็บไซท์ของบริ ษัทผู้ผลิตเพื่อซื ้อได้ เช่นกัน
9
2. แบบว่ าจ้ าง (Custom Software)
 เหมาะกับลักษณะงานที่เป็ นแบบเฉพาะ
 จาเป็ นต้ องผลิตขึ ้นมาใช้ เองหรื อว่าจ้ างให้ ทา
 อาจมีคา่ ใช้ จ่ายที่แพงพอสมควร
10
3. แบบทดลองใช้ (Shareware)
ลูกค้ าสามารถทดสอบการใช้ งานของโปรแกรม
ก่อนได้ ฟรี
ผู้ผลิตจะกาหนดระยะเวลาของการใช้ งานหรื อ
เงื่อนไขอื่น เช่น ใช้ ได้ ภายใน 30 วัน หรื อ ใช้ ได้ แต่
ปรับลดคุณสมบัติบางอย่างลง
อาจดาวน์โหลดได้ จากเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต
11
4. แบบใช้ งานฟรี (Freeware)
 สามารถดาวน์โหลดบนอินเทอร์ เน็ตได้
 ส่วนใหญ่จะเป็ นโปรแกรมขนาดเล็กและใช้ เวลา
เพียงไม่กี่นาทีในการดาวน์โหลด
 ให้ ใช้ งานได้ ฟรี แต่ไม่สามารถนาไปพัฒนาต่อหรื อ
แก้ ไขเปลี่ยนแปลงได้
 ลิขสิทธิ์เป็ นของบริ ษัทหรื อทีมงานผู้ผลิต
12
5. แบบโอเพ่ นซอร์ ส
(Public-Domain/Open Source)
 Open Source = ซอฟต์แวร์ ที่มีการเปิ ดให้ แก้ ไขปรับปรุ งตัว
โปรแกรมต่างๆได้
 นาเอาโค้ ดโปรแกรมไปพัฒนาและประยุกต์ใช้ ได้ ภายใต้
เงื่อนไขที่กาหนด
 มีนก
ั พัฒนาจากทัว่ โลก ช่วยกันเขียนโค้ ดและนาไปแจกจ่าย
ต่อ
 ประหยัดเงินและค่าใช้ จ่าย
 การพัฒนาโปรแกรมทาได้ เร็ วขึ ้น
13
ระบบปฏิบัติการ (operating systems)
 ใช้ สาหรับการควบคุมและประสานงานอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ ทงหมดโดยเฉพาะกั
ั้
บส่วนนาเข้ าและ
ส่งออกผลลัพธ์ (I/O Device) บางครัง้ เรี ยกว่า
แพล็ตฟอร์ ม (platform)
 คอมพิวเตอร์ จะทางานได้ จาเป็ นต้ องมี
ระบบปฏิบตั ิการติดตังอยู
้ ่ในเครื่ องเสียก่อน
14
คุณสมบัติในการทางาน
 การทางานแบบ Multi-Tasking
15
คุณสมบัติในการทางาน
 การทางานแบบ
Multi-User
16
ประเภทของระบบปฏิบัติการ
อาจแบ่ งออกได้ เป็ น
3 ประเภท คือ
1. ระบบปฏิบตั ิการแบบเดี่ยว (stand-alone OS)
2. ระบบปฏิบตั ิการแบบเครื อข่าย (network OS)
3. ระบบปฏิบตั ิการแบบฝั ง (embeded OS)
17
1.ระบบปฏิบัตกิ ารแบบเดี่ยว (stand-alone OS)
 มุง่ เน้ นและให้ บริ การสาหรับผู้ใช้ เพียงคนเดียว (เจ้ าของ
เครื่ องนันๆ)
้
 นิยมใช้ สาหรับเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ประมวลผลและทางาน
แบบทัว่ ไป เช่น เครื่ องคอมพิวเตอร์ ตามบ้ านหรื อสานักงาน
 รองรับการทางานบางอย่าง เช่น พิมพ์รายงาน ดูหนัง ฟั ง
เพลงหรื อเชื่อมต่อเข้ ากับอินเทอร์ เน็ต เป็ นต้ น
 ปั จจุบน
ั สามารถเป็ นเครื่ องลูกข่ายเพื่อขอรับบริ การจาก
เครื่ องแม่ข่ายได้ ด้วย
18
2.ระบบปฏิบัตกิ ารแบบเครือข่ าย (network OS)
 มุง่ เน้ นและให้ บริ การสาหรับผู้ใช้ หลายๆคน (multi-user)
 นิยมใช้ สาหรับงานให้ บริ การและประมวลผลข้ อมูลสาหรับ
เครื อข่ายโดยเฉพาะ
 มักพบเห็นได้ กบ
ั การนาไปใช้ ในองค์กรธุรกิจทัว่ ไป
 เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ติดตังระบบปฎิ
้
บตั ิการเหล่านี ้จะเรี ยกว่า
เครื่ อง server (เครื่ องแม่ข่าย)
19
3.ระบบปฏิบัติการแบบฝั ง (embeded OS)
 พบเห็นได้ ในอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ พกพาขนาดเล็ก เช่น พี
ดีเอ หรื อ smart phone บางรุ่น
 สนับสนุนการทางานแบบเคลื่อนที่ได้ เป็ นอย่างดี
 บางระบบมีคณ
ุ สมบัติที่ใกล้ เคียงกับระบบปฎิบตั ิการ
แบบเดี่ยว เช่น ดูหนัง ฟั งเพลงหรื อเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ต
ได้
20
1.ระบบปฏิบัตกิ ารแบบเดี่ยว (stand-alone OS)
DOS (Disk
Operating System)
พัฒนาขึ ้นเมื่อประมาณปี
1980
ใช้ สาหรับเครื่ องคอมพิวเตอร์ สว่ นบุคคลเป็ น
หลัก
ป้อนชุดคาสัง่ ที่เรี ยกว่าcommand-line
21
1.ระบบปฏิบัตกิ ารแบบเดี่ยว (stand-alone OS)
DOS
(Disk Operating System)
22
1.ระบบปฏิบัตกิ ารแบบเดี่ยว (stand-alone OS)
Windows
ส่วนประสานงานกับผู้ใช้ แบบGUI (Graphical User
Interface)
ใช้ งานได้ ง่าย ผู้ใช้ ไม่ต้องจดจาคาสัง่ ให้ ย่งุ ยาก
แบ่งงานออกเป็ นส่วนๆที่เรี ยกว่าหน้าต่างงาน หรื อ
Windows
23
1.ระบบปฏิบัตกิ ารแบบเดี่ยว (stand-alone OS)
 Windows
24
1.ระบบปฏิบัตกิ ารแบบเดี่ยว (stand-alone OS)
Unix
ผู้ใช้ กบ
ั ต้ องมีความรู้ทางด้ านคอมพิวเตอร์
พอสมควร
รองรับกับการทางานของผู้ใช้ ได้ หลายๆคนพร้ อม
กัน (multi-user)
มีการพัฒนาระบบที่สนับสนุนให้ ใช้ งานได้ ทงแบบ
ั้
เดี่ยวและแบบเครื อข่าย
25
1.ระบบปฏิบัตกิ ารแบบเดี่ยว (stand-alone OS)
Unix
26
1.ระบบปฏิบัตกิ ารแบบเดี่ยว (stand-alone OS)
 Mac OS X
ใช้ กบ
ั เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ผลิตขึ ้นโดยบริ ษัทแอปเปิ ล้
เท่านัน้
เหมาะสมกับการใช้ งานประเภทสิง่ พิมพ์เป็ นหลัก
มีระบบสนับสนุนแบบ GUIเช่นเดียวกับระบบปฏิบต
ั ิการ
Windows
27
1.ระบบปฏิบัตกิ ารแบบเดี่ยว (stand-alone OS)
 Mac OS X
28
1.ระบบปฏิบัตกิ ารแบบเดี่ยว (stand-alone OS)
Linux
พัฒนามาจากระบบ Unix
ใช้ โค้ ดที่เขียนประเภทโอเพ่นซอร์ ส(open source)
มีการผลิตออกมาหลายชื่อเรี ยกแตกต่างกันไป
มีทงแบบที
ั้
่ใช้ สาหรับงานแบบเดี่ยวตามบ้ านและแบบที่ใช้
สาหรับงานควบคุมเครื อข่ายเช่นเดียวกับระบบปฏิบตั ิการ
แบบ Unix
29
1.ระบบปฏิบัตกิ ารแบบเดี่ยว (stand-alone OS)
 Linux
30
2.ระบบปฏิบัตกิ ารแบบเครือข่ าย (Network OS)
 Windows
Server
 ออกแบบมาเพื่อใช้ งานกับระบบ
เครื อข่าย
 โดยเฉพาะ เดิมมีชื่อว่า Windows NT
 รองรับกับการใช้ งานในระดับองค์กร
ขนาดเล็กและขนาดกลาง พัฒนาโดย
บริษัทไมโครซอฟท์
 เหมาะกับการติดตังและใช้
้
งานกับ
เครื่ องประเภทแม่ข่าย (server)
31
ระบบปฏิบัตกิ ารแบบเครือข่ าย (Network OS)
 OS/2 Warp
Server
 พัฒนาโดยบริ ษัทไอบีเอ็ม
 ใช้ เป็ นระบบเพื่อควบคุม
เครื่ องแม่ขา่ ยหรื อ server
เช่นเดียวกัน
32
2.ระบบปฏิบัตกิ ารแบบเครือข่ าย (Network OS)
 Solaris
 ทางานคล้ ายกับ
ระบบปฏิบตั ิการแบบ Unix
(Unix compatible)
 ผลิตโดยบริ ษัทซัน ไมโครซิส
เต็มส์
33
3.ระบบปฏิบัติการแบบฝั ง (Embedded OS)
 Pocket
PC OS (Windows CE
เดิม)
 ย่อขนาดการทางานของ Windows
ให้ มีขนาดที่เล็กลง (scaled-down
version)
 รองรับการทางานแบบ multi-tasking
ได้
 มักติดตังบนเครื
้
่ อง Pocket PC หรื อ
อาจพบเห็นในมือถือประเภท smart
phone บางรุ่น
34
3.ระบบปฏิบัติการแบบฝั ง (Embedded OS)
 Palm OS
 พัฒนาขึ ้นมาก่อน Pocket PC OS
 ลักษณะงานที่ใช้ จะคล้ ายๆกัน
 ใช้ กบ
ั เครื่ องที่ผลิตขึ ้นโดยบริษัทปาล์ม
และบางค่ายเท่านัน้ เช่น Visor (ของ
ค่ายHandspring) และ CLIE (ของ
ค่าย Sony)
35
3.ระบบปฏิบัติการแบบฝั ง (Embedded OS)

Symbian OS
 รองรับกับเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้ สาย (wireless) โดยเฉพาะ
 นิยมใช้ กบ
ั โทรศัพท์มือถือประเภท smart phone
 สนับสนุนการทางานแบบหลายๆงานในเวลาเดียวกัน (multi-
tasking)
36
โปรแกรมอรรถประโยชน์
หรือโปรแกรมยูทลิ ิตี ้ (Utility Program)
 ส่วนใหญ่จะมีขนาดของไฟล์ที่เล็กกว่าระบบปฏิบต
ั ิการ
 มีคณ
ุ สมบัติในการใช้ งานค่อนข้ างหลากหลายหรื อใช้ งานได้ แบบ
อรรถประโยชน์
 นิยมเรี ยกสันๆว่
้ า ยูทิลิตี ้ (utility)
 อาจแบ่งออกได้ เป็ น 2 ชนิดคือ
ยูทิลต
ิ ี ้สาหรับระบบปฏิบตั ิการ (OS utility programs)
ยูทิลต
ิ ี ้อื่นๆ (stand-alone utility programs)
37
ยูทลิ ิตสี ้ าหรับระบบปฏิบตั กิ าร
(OS Utility Programs)
 ตัวอย่ างของยูทล
ิ ิตที ้ ่ ที างานด้ านต่ างๆ
ประเภทการจัดการไฟล์ (File Manager)
ประเภทการลบทิ ้งโปรแกรม (Uninstaller)
ประเภทการสแกนดิสก์ (Disk Scanner)
ประเภทการจัดเรี ยงพื ้นที่เก็บข้ อมูล (Disk
Defragmenter)
ประเภทรักษาหน้ าจอ (Screen Saver)
38
ยูทลิ ิตสี ้ าหรับระบบปฏิบตั กิ าร
(OS Utility Programs)
 ประเภทการจัดการไฟล์
(File
Manager)
 มีหน้ าที่หลักในการจัดการเกี่ยวกับ
ไฟล์ตา่ งๆเช่น การคัดลอก การ
เปลี่ยนชื่อ การลบและการย้ ายไฟล์
เป็ นต้ น
 ระบบปฏิบต
ั ิการ Windows รุ่น
ใหม่ๆยังได้ เพิ่มคุณสมบัติที่เรี ยกว่า
image viewer เพื่อนามาปรับใช้ กบั
ไฟล์รูปภาพได้
39
ยูทลิ ิตสี ้ าหรับระบบปฏิบตั กิ าร
(OS Utility Programs)
 ประเภทการลบทิ ้งโปรแกรม
(Uninstaller)
 ลบหรื อกาจัดโปรแกรมที่ไม่ได้ ใช้
ออกไปจากระบบ
 ทาให้ พื ้นที่เก็บข้ อมูลมีเหลือเพิ่ม
มากขึ ้น
 ทางานได้ อย่างง่ายดาย
40
ยูทลิ ิตสี ้ าหรับระบบปฏิบตั กิ าร
(OS Utility Programs)
 ประเภทการสแกนดิสก์
(Disk
Scanner)
 สแกนหาข้ อผิดพลาดต่างๆพร้ อมทัง้
หาทางแก้ ปัญหาในดิสก์
 ประยุกต์ใช้ เพื่อสแกนหาไฟล์ที่ไม่
ต้ องการใช้ งาน (unnecessary files)
เมื่อใช้ คอมพิวเตอร์ ไประยะหนึ่งได้
41
ยูทลิ ิตสี ้ าหรับระบบปฏิบตั กิ าร
(OS Utility Programs)
 ประเภทการจัดเรี ยงพื ้นที่เก็บ
ข้ อมูล (Disk Defragmenter)
 ช่วยในการจัดเรี ยงไฟล์ข้อมูลให้
เป็ นระเบียบ และเป็ นกลุม่ เป็ น
ก้ อน
 เมื่อต้ องการใช้ งานไฟล์ข้อมูลใน
ภายหลังจะเข้ าถึงข้ อมูลได้ ง่าย
และรวดเร็วกว่าเดิม
42
ยูทลิ ิตสี ้ าหรับระบบปฏิบตั กิ าร
(OS Utility Programs)
 ประเภทรั กษาหน้ าจอ
(Screen Saver)
 ช่วยถนอมอายุการใช้ งานของ
จอคอมพิวเตอร์ ให้ ยาวนานมากขึ ้น
 ใช้ ภาพเคลื่อนไหวไปมา และเลือก
ลวดลายหรื อภาพได้ ด้วยตนเอง
 อาจพบเห็นกับการตังค่
้ ารหัสผ่าน
ของโปรแกรมรักษาหน้ าจอเอาไว้ ได้
43
ยูทลิ ิตอี ้ ่ นื ๆ (Stand-Alone Utility Programs)
 เป็ นยูทิลิตี ้ที่ทางานด้ านอื่นโดยเฉพาะไม่เกี่ยวกับ
ระบบปฎิบตั ิการ
 มักทางานเฉพาะอย่าง หรื อด้ านใดด้ านหนึง่
 มีทงที
ั ้ ่แจกให้ ใช้ ฟรี และเสียเงิน
 มีให้ เลือกใช้ เยอะและหลากหลายมาก
 ใช้ ได้ กบ
ั เครื่ องคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่
44
ยูทลิ ิตอี ้ ่ นื ๆ (Stand-Alone Utility Programs)
 โปรแกรมป้องกันไวรั ส
Virus Program)
(Anti
 ติดตังไว้
้ เพื่อป้องกันและแก้ ไขปั ญหา
เกี่ยวกับโปรแกรมประสงค์ร้าย
 ต้ องอัพเดทข้ อมูลใหม่อยูเ่ สมอ
เพื่อให้ ร้ ูจกั และหาทางยับยั
้ งไวรั
้ ส
ใหม่ๆที่เกิดขึ ้นทุกวัน
 ควรติดตังไว้
้ ในเครื่ องทุกเครื่ อง
45
ยูทลิ ิตอี ้ ่ นื ๆ (Stand-Alone Utility Programs)
 โปรแกรมไฟร์ วอลล์
(Personal
Firewall)
 ป้องกันการบุกรุ กจากผู้ไม่ประสงค์ดี
 สามารถติดตามและตรวจสอบรายการ
ต่างๆของผู้บกุ รุกได้
 เหมาะกับเครื่ องที่ต้องการรักษาความ
ปลอดภัยของข้ อมูลเป็ นอย่างมาก
46
ยูทลิ ิตอี ้ ่ นื ๆ (Stand-Alone Utility Programs)
 โปรแกรมบีบอัดไฟล์
Compression Utility)
(File
 เป็ นโปรแกรมที่ทาหน้ าที่บีบอัดไฟล์
ให้ มีขนาดที่เล็กลง
 ไฟล์ที่ได้ จากการบีบอัดไฟล์บางครัง้
นิยมเรี ยกว่า ซิปไฟล์ (zip files)
 ยูทิลต
ิ ี ้ที่นิยมใช้ และรู้จกั กันเป็ นอย่าง
ดี เช่น PKZip, WinZip เป็ นต้ น
47
2.2 ประเภทของซอฟต์ แวร์ ประยุกต์
แบ่ งตามลักษณะการผลิตได้ เป็ น
2 ประเภท
ซอฟต์แวร์ ที่พฒ
ั นาเอง (proprietary software)
ซอฟต์แวร์ ที่หาซื ้อได้ โดยทัว่ ไป (off-the-shelf
software)
48
ซอฟต์ แวร์ ท่ พ
ี ัฒนาเอง (proprietary software)
 เพราะหน่วยงานไม่สามารถหาซอฟต์แวร์ ที่เหมาะสม
และมีประสิทธิภาพดีเพียงพอกับความต้ องการได้
 วิธีการพัฒนาอาจทาได้ 2 วิธีคือ
developed สร้ างและพัฒนาโดยหน่วยงาน
ในบริ ษัทเอง
contract หรื อ outsource เป็ นการจ้ างบุคคลภายนอก
ให้ ทาขึ ้นมา
in-house
49
ซอฟต์ แวร์ ท่ หี าซือ้ ได้ โดยทั่วไป
(Off-the-shelf Software)
 มีวางขายตามท้ องตลาดทัว่ ไป (off-the-shelf) โดยบรรจุ
หีบห่ออย่างดีและสามารถนาไปติดตังและใช้
้
งานได้ ทนั ที
 บางครัง้ นิยมเรี ยกว่า โปรแกรมสาเร็ จรู ป (package
software)
 อาจแบ่งออกได้ เป็ น 2 ประเภท คือ
 โปรแกรมเฉพาะ (customized package)
 โปรแกรมมาตรฐาน (standard package)
50
โปรแกรมเฉพาะ (customized package)
 เป็ นโปรแกรมที่อาจต้ องขอให้ ผ้ ผ
ู ลิตทาการเพิ่มเติม
คุณสมบัติบางอย่างลงไปเพียงเล็กน้ อย
 เพื่อให้ เหมาะสมกับการใช้ งานแบบเฉพาะองค์กร
มากขึ ้น
 บางครัง้ นิยมเรี ยกว่าเป็ นซอฟต์แวร์ ตามคาสัง่
(tailor-made software)
51
โปรแกรมมาตรฐาน (standard package)
 สามารถใช้ ได้ กบ
ั งานทัว่ ไป
 มีคณ
ุ สมบัติที่เป็ นมาตรฐานเดียวกัน
 ใช้ งานง่าย ศึกษาคูม
่ ือและรายละเอียดการใช้ เพียง
เล็กน้ อย
 ไม่จาเป็ นต้ องไปปรับปรุ งหรื อแก้ ไขส่วนของโปรแกรม
เพิ่มเติม
 เช่น กลุม
่ โปรแกรมสาเร็จรูปทางด้ าน Microsoft Office
52
ข้ อดีของซอฟต์ แวร์ ท่ พ
ี ัฒนาเอง
 สามารถเพิ่มเงื่อนไขและความต้ องการต่างๆได้
ไม่จากัด
 สามารถควบคุมให้ เป็ นไปตามที่ต้องการได้ ตลอด
ระยะเวลาการพัฒนานัน้
 ยืดหยุ่นการทางานได้ ดีกว่า เมื่อข้ อมูลใดๆมีการ
เปลี่ยนแปลง
53
ข้ อเสียของซอฟต์ แวร์ ท่ พ
ี ัฒนาเอง
 ใช้ เวลาในการออกแบบและพัฒนานานมาก เพื่อให้ ได้
คุณสมบัติตรงตามที่ต้องการ
 ทีมงานถูกกดดัน เพราะจะถูกคาดหวังว่าต้ องได้
คุณสมบัติตรงตามความต้ องการทุกประการ
 เสียเวลาดูแลและบารุ งรักษาระบบนันๆตามมา
้
 เสี่ยงต่อความผิดพลาดสูง อาจทาให้ เกิดปั ญหาขึ ้นมาได้
54
ข้ อดีของซอฟต์ แวร์ ท่ หี าซือ้ ได้ โดยทั่วไป
 ซื ้อได้ ในราคาถูก เพราะนาออกมาจาหน่ายเป็ นจานวนมาก
 ความเสี่ยงในการใช้ งานต่า และสามารถศึกษาคุณสมบัติ
และประสิทธิภาพของโปรแกรมได้ โดยตรงจากคูม่ ือที่มีให้
 โปรแกรมที่ได้ มีคณ
ุ ภาพดีกว่า เนื่องจากมีผ้ ใู ช้ หลายราย
ทดสอบและแจ้ งแก้ ไขปั ญหาให้ กบั ผู้ผลิตมาเป็ นอย่างดี
แล้ ว
55
ข้ อเสียของซอฟต์ แวร์ ท่ หี าซือ้ ได้ โดยทั่วไป
 คุณสมบัติบางอย่างเกินความจาเป็ นและต้ องการ
 คุณสมบัติบางอย่างอาจไม่มีให้ ใช้
 เมื่อต้ องการเพิ่มคุณสมบัติต้องจ่ายเงินมากขึ ้น แต่ใน
บางโปรแกรมก็ไม่สามารถทาได้
 ไม่ยืดหยุน
่ จึงไม่เหมาะสมกับงานที่จาเป็ นต้ อง
ปรับเปลี่ยนหรื อแก้ ไขระบบอยูบ่ อ่ ยๆ
56
ประเภทของซอฟต์ แวร์ ประยุกต์
 แบ่ งตามกลุ่มการใช้ งานได้
3 กลุ่มดังนี ้
กลุม
่ การใช้ งานทางด้ านธุรกิจ (business)
กลุม
่ การใช้ งานทางด้ านกราฟิ กและมัลติมีเดีย
(graphic and multimedia)
กลุม
่ สาหรับการใช้ งานบนเว็บและการ
ติดต่อสื่อสาร (web and communications)
57
ซอฟต์ แวร์ กลุ่มการใช้ งานด้ านธุรกิจ
 มุง่ เน้ นให้ ใช้ งานเพื่อประโยชน์สาหรับงาน
ทางด้ านธุรกิจโดยเฉพาะ
 ทาให้ การทางานมีประสิทธิภาพดีขึ ้นมากกว่าการ
ใช้ แรงงานคน
 ตัวอย่างงาน เช่น ใช้ สาหรับการจัดพิมพ์รายงาน
เอกสาร นาเสนองาน รวมถึงการบันทึกนัดหมาย
ต่างๆ
58
ซอฟต์ แวร์ กลุ่มการใช้ งานด้ านธุรกิจ
 อาจแบ่งซอฟต์แวร์ กลุม
่ นี ้ออกเป็ นประเภท ได้ ดงั นี ้
 ซอฟต์แวร์ ประมวลผลคา (Word processing)
 ซอฟต์แวร์ ตารางคานวณ (Spreadsheet)
 ซอฟต์แวร์ ฐานข้ อมูล (Database)
 ซอฟต์แวร์ นาเสนองาน (Presentation)
 ซอฟต์แวร์ สาหรับพีดีเอ (PDA Software)
 ซอฟต์แวร์ แบบกลุม
่ (Software Suite)
 ซอฟต์แวร์ สาหรับจัดการโครงการ (Project management)
 ซอฟต์แวร์ สาหรับงานบัญชี (Accounting)
59
ซอฟต์ แวร์ ประมวลผลคา (Word processing)
เป็ นกลุม่ ของโปรแกรมที่ช่วยในการ
ประมวลผลคา
 สามารถจัดการเอกสารต่างๆได้ เช่น
ขนาดตัวอักษรใหญ่ เล็ก รูปแบบ
ตัวอักษร เป็ นต้ น
 นาเอารู ปภาพมาผนวกเข้ ากับเอกสาร
ได้ (คลิปอาร์ ตและภาพถ่าย)
 ตัวอย่างโปรแกรม เช่น
MicrosoftWord, Sun StarOffice
Writer

60
ซอฟต์ แวร์ ตารางคานวณ (Spreadsheet)





กลุม่ ของซอฟต์แวร์ ที่เกี่ยวข้ องกับการ
คานวณต่างๆ
นาเอา ตารางคานวณ (spreadsheet) มา
ใช้ ในการทางาน
หน่วยที่เล็กที่สดุ บริเวณทางานเรี ยกว่า
เซล
นิยมใช้ กบั งานด้ านบัญชีและรายการ
คานวณอื่น
ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Microsoft
Excel,Sun StarOffice Calc
61
ซอฟต์ แวร์ ฐานข้ อมูล (Database)
 สร้ างและรวบรวมข้ อมูลต่างๆให้ อ
เป็ นระบบ
 แก้ ไขปรับปรุ งรายการข้ อมูลต่างๆ
เช่น การเพิ่มข้ อมูล การ
เปลี่ยนแปลงข้ อมูล การลบข้ อมูล
หรื อการจัดเรี ยงข้ อมูลให้ เป็ นไปได
โดยง่าย
 ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Microsoft
Access,Oracle, MySQL
62
ซอฟต์ แวร์ นาเสนองาน (Presentation)
ช่วยในเรื่ องของการนาเสนองานเป็ นหลัก
 อาจใส่ข้อมูลที่เป็ นตัวอักษร รู ปภาพ
ตลอดจนเสียงต่างๆรวมถึงเทคนิคการ
นาเสนอให้ มีความสวยงามและน่าสนใจ
ได้
 การนาเสนองานบางครัง้ นิยมเรี ยกว่า
slide show
 ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Microsoft
PowerPoint, Sun StarOffice Impress

63
ซอฟต์ แวร์ สาหรับพีดีเอ (PDA Software)





เป็ นซอฟต์แวร์ เฉพาะที่มีการใช้ งานในพีดีเอ
อาจเป็ นซอฟต์แวร์ ที่เรี ยกว่า PIM
(Personal Information Manager) ซึง่
ทางานแบบพื ้นฐานทัว่ ไป
ทางานร่วมกันกับเครื่ องพีซีได้ โดยการถ่าย
โอนข้ อมูล (synchronization)
บางโปรแกรมที่เห็นบนพีซีอาจนามาใช้ บน
พีดีเอได้
ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Microsoft Pocket
Outlook, Microsoft Pocket Excel,
QuickNotes
64
ซอฟต์ แวร์ แบบกลุ่ม (Software Suite)
นาเอาซอฟต์แวร์ หลายตัวมาจาหน่าย
รวมกันเป็ นกลุม่ เดียว
 ทาให้ การทางานคล่องตัวและสะดวก
 เนื่องจากจัดกลุม
่ ซอฟท์แวร์ ที่ทางาน
ใกล้ เคียงกันไว้ เป็ นกลุม่ เดียว
 ราคาจาหน่ายถูกกว่าการเลือกซื ้อ
ซอฟต์แวร์ แต่ละตัวมาใช้
 ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Microsoft Office,
Sun StarOffice, Pladao Office

65
ซอฟต์ แวร์ สาหรับจัดการโครงการ
(Project management)
ใช้ กบั การวิเคราะห์และวางแผนโครงการ
เป็ นหลัก
 จัดการเกี่ยวกับกิจกรรมงาน (schedule)
ติดตามงาน วิเคราะห์และหาต้ นทุน
ค่าใช้ จ่ายต่างๆของโครงการได้ ง่ายขึ ้น
 ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Microsoft Project,
Macromedia Sitespring

66
ซอฟต์ แวร์ สาหรับงานบัญชี (Accounting)
บันทึกข้ อมูลและแสดงรายงานทางการเงินต่าง ๆ
 ออกรายงานงบกาไรขาดทุน งบดุล รวมถึงรายงานซื ้อ-ขายได้
 ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Intuit QuickBooks, Peachtree Complete
Accounting

67
ซอฟต์ แวร์ กลุ่มการใช้ งาน
ด้ านกราฟิ กและมัลติมีเดีย
 เพื่อช่วยสาหรับจัดการงานด้ านกราฟิ กและมัลติมีเดียให้
ง่ายขึ ้น
 มีความสามารถเสมือนเป็ นผู้ช่วยในการออกแบบงาน
 มีความสามารถหลากหลาย เช่น ตกแต่งภาพ วาดรู ป ปรับ
เสียง ตัดต่อภาพเคลื่อนไหวรวมถึงการสร้ างและออกแบบ
พัฒนาเว็บไซท์
68
ซอฟต์ แวร์ กลุ่มการใช้ งาน
ด้ านกราฟิ กและมัลติมีเดีย
 อาจแบ่งซอฟต์แวร์ กลุม
่ นี ้ออกเป็ นประเภท ได้ ดงั นี ้
 ซอฟต์แวร์ สาหรับงานออกแบบ (CAD - Computer-aided design)
 ซอฟต์แวร์ สาหรับสิ่งพิมพ์ (Desktop publishing)
 ซอฟต์แวร์ สาหรับตกแต่งภาพ (Paint/image editing)
 ซอฟต์แวร์ สาหรับการตัดต่อวิดีโอและเสียง (Video and audio editing)
 ซอฟต์แวร์ สาหรับสร้ างสื่อมัลติมีเดีย (Multimedia authoring)
 ซอฟต์แวร์ สาหรับสร้ างเว็บ (Web page authoring)
69
ซอฟท์ แวร์ สาหรับงานออกแบบ
(CAD - Computer-aided design)
ช่วยสาหรับการออกแบบแผนผัง
การออกแบบและตกแต่งบ้ าน
รวมถึงการจัดองค์ประกอบอื่นๆ
 เหมาะสาหรับงานด้ านวิศกรรม
สถาปั ตยกรรม รวมถึงงานด้ าน
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีบาง
ประเภท
 ตัวอย่างโปรแกรม เช่นAutodesk
AutoCAD, Microsoft Visio
Professional

70
ซอฟท์ แวร์ สาหรับสิ่งพิมพ์
(Desktop publishing)
สาหรับการจัดการกับสิ่งพิมพ์ เช่น
หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ โบร์ ชวั ร์
แผ่นพับ โลโก้
 เหมาะกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องกับสือ
่
สิง่ พิมพ์ เช่น สานักพิมพ์ โรงพิมพ์หรื อ
บริษัทออกแบบกราฟิ ก
 ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Adobe
InDesign, Adobe PageMaker,
Corel VENTURA, QuarkXPress

71
ซอฟท์ แวร์ สาหรับตกแต่ งภาพ
(Paint/image editing)
สาหรับการสร้ างและจัดการรูปภาพ การ
จัดองค์ประกอบแสง-สีของภาพ รวมถึง
การวาดภาพลายเส้ น
 เหมาะสาหรับออกแบบงานกราฟิ ก เช่น
งานพาณิชย์ศิลป์ งานออกแบบและ
ตกแต่งสินค้ า
 ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Adobe
Illustrator,Adboe Photoshop,
CorelDRAW,Macromedia FreeHand

72
ซอฟต์ แวร์ สาหรับการตัดต่ อวิดีโอและเสียง
(Video and audio editing)
ใช้ จดั การกับข้ อมูลเสียง เช่น ผสมเสียง
แก้ ไขเสียง สร้ างเอฟเฟ็ คต์หรื อเสียง
ใหม่ๆ
 เหมาะสาหรับใช้ กบ
ั งานวงการตัดต่อ
ภาพยนตร์ โทรทัศน์ สตูดิโอบันทึกเสียง
หรื องานบนอินเทอร์ เน็ตบางชนิด
 ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Adobe
Premiere,Cakewalk SONAR,
Pinnacle Studio DV

73
ซอฟต์ แวร์ สาหรับสร้ างสื่อมัลติมีเดีย
(Multimedia authoring)
ซอฟต์แวร์ ที่เป็ นการผนวกเอาสื่อหลาย
ชนิด(multimedia) มาประกอบกันเพื่อให้
การนาเสนองานมีความน่าสนใจ
 อาจสร้ างชิ ้นงานประเภทสื่อปฎิสม
ั พันธ์
กับผู้ใช้ (interractive) เช่น บทเรี ยน
คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนได้
 ตัวอย่างโปรแกรมเช่น Toolbook
Instructor,Macromedia Authorware,
Macromedia Director Shockwave
Studio

74
ซอฟต์ แวร์ สาหรับสร้ างเว็บ
(Web page authoring)
สามารถจัดการและออกแบบเว็บ
ไซท์ได้ โดยง่าย
 สามารถแทรกข้ อมูลประเภทเสียง
ข้ อความ รูปภาพเคลื่อนไหว เพื่อ
นาเสนอบนเว็บไซท์ได้ เป็ นอย่างดี
 ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Adobe
GoLive, Macromedia
Dreamweaver, Macromedia
Fireworks, Macromedia Flash,
Microsoft FrontPage

75
ซอฟต์ แวร์ การใช้ งานบนเว็บและการสื่อสาร
 เน้ นเฉพาะการใช้ งานด้ านเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต
 ส่วนใหญ่ใช้ สาหรับการติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้ อมูล
 เกิดขึ ้นมาเป็ นจานวนมาก และพัฒนาออกมาหลายเวอร์ ชน
ั่
หลายโปรแกรม เนื่องจากการขยายตัวของการใช้ งานที่
เพิ่มขึ ้นอย่างรวดเร็ว
76
ซอฟต์ แวร์ การใช้ งานบนเว็บและการสื่อสาร
 กลุม
่ ของโปรแกรมประเภทนี ้ เช่น
 ซอฟต์แวร์ สาหรับจัดการอีเมล์ (Electronic mail Software)
 ซอฟต์แวร์ สาหรับท่องเว็บ (Web browser)
 ซอฟต์แวร์ สาหรับจัดประชุมทางไกล (Video Conference)
 ซอฟต์แวร์ สาหรับถ่ายโอนไฟล์ (File Transfer)
 ซอฟต์แวร์ ประเภทส่งข้ อความด่วน (Instant Messaging)
 ซอฟท์แวร์ สาหรับสนทนาบนอินเทอร์ เน็ต (Internet Relay Chat)
77
ซอฟต์ แวร์ สาหรับจัดการอีเมล์
(Electronic mail Software)
กลุม่ ของซอฟต์แวร์ ที่ใช้ สาหรับการส่ง
ข้ อความจดหมาย
 สามารถตรวจรับจดหมายเข้ า ส่ง
จดหมายออกหรื อสาเนาจดหมายได้
 นอกจากนันยั
้ งแทรกรูปภาพหรื อไฟล์
เพื่อส่งแนบไปกับจดหมายได้
 ตัวอย่างโปรแกรมเช่น Microsoft
Outlook

78
ซอฟต์ แวร์ สาหรับท่ องเว็บ (Web browser)
มักเรี ยกย่อว่า บราวเซอร์ (browser)
 เป็ นโปรแกรมหลักสาหรับการเรี ยกดูข้อมูล
บนเว็บไซท์ที่เผยแพร่อยูใ่ นอินเทอร์ เน็ต
 มีคณ
ุ สมบัติสาหรับการรับชมเว็บเพจได้ ดี
เช่น แสดงผลหลายภาษา ชมเว็บเพจแบบ
ออฟไลน์ ทางานร่วมกับโปรแกรมเสริมได้
 ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Microsoft Internet
Explorer, Nestcape Comunication,
Opera

79
ซอฟต์ แวร์ สาหรับจัดประชุมทางไกล
(Video Conference)
สาหรับการประชุมแบบทางไกลโดยเฉพาะ
 สามารถให้ ข้อมูลที่เป็ นทังภาพเคลื
้
่อนไหว
และเสียงที่ใช้ ในการประชุมและถ่ายทอด
ออกไปในระยะไกลได้
 อาจพบเห็นกับการนาเอาไปประยุกต์ใช้ ใน
การติดต่อสื่อสารระหว่างเพื่อนหรื อคนรู้จกั ที่
อยูต่ า่ งถิ่นได้
 ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Microsoft
Netmeeting

80
ซอฟต์ แวร์ สาหรับถ่ ายโอนไฟล์ (File
Transfer)
นามาใช้ ในการถ่ายโอนไฟล์ข้อมูล (file
transfer) บนอินเทอร์ เน็ต
 เหมาะสาหรับนักพัฒนาเว็บไซท์และผู้ดแู ล
เว็บไซท์เพื่อส่งข้ อมูลขึ ้นไปเก็บไว้ บน
อินเทอร์ เน็ต
 ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Cute_FTP,
WS_FTP

81
ซอฟต์ แวร์ ประเภทส่ งข้ อความด่ วน
(Instant Messaging)
ผู้รับและผู้สง่ สามารถที่จะเปิ ดการเชื่อมต่อ
โปรแกรมและส่งข้ อความถึงกันได้ โดยทันที
ผ่านเบอร์ อีเมล์หรื อหมายเลขที่ระบุ
 การพูดคุยผ่านข้ อความนี ้จะเป็ นแบบ
ส่วนตัวมากขึ ้น
 บางโปรแกรมอาจสนทนาแบบกลุม
่ ได้ ด้วย
 ตัวอย่างโปรแกรม เช่น ICQ , MSN
Messenger,Yahoo Messenger

82
ซอฟต์ แวร์ สาหรับสนทนาบนอินเทอร์ เน็ต
(Internet Relay Chat)
โปรแกรมสาหรับการสนทนาเฉพาะกลุม่
 เรี ยกสันๆว่
้ าโปรแกรม แชท (chat)
 ติดต่อกันโดยพิมพ์ข้อความโต้ ตอบกันไปมา
 ผู้สนทนาสามารถตังห้
้ องและพูดคุยกันในแชท
รูม (chat room) ได้
 ตัวอย่างโปรแกรม เช่น PIRCH, MIRC

83
ภาษาคอมพิวเตอร์
 เป็ นเสมือน “ล่ามแปลภาษา”
 แบ่งออกได้ หลายระดับ
 หากใกล้ เคียงกับคอมพิวเตอร์ จะอยูก
่ ลุม่ ระดับต่า
 หากใกล้ เคียงกับมนุษย์ จะอยูก
่ ลุม่ ระดับสูง
84
ยุคของภาษาคอมพิวเตอร์
 ภาษาคอมพิวเตอร์ ยค
ุ ที่ 1 (first generation language)
 ภาษาคอมพิวเตอร์ ยค
ุ ที่ 2 (second generation
language)
 ภาษาคอมพิวเตอร์ ยค
ุ ที่ 3 (third generation language)
 ภาษาคอมพิวเตอร์ ยค
ุ ที่ 4 (fourth generation language)
 ภาษาคอมพิวเตอร์ ยค
ุ ที่ 5 (fifth generation language)
85
ภาษาคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1
(first generation language)
 การทางานใช้ ภาษาระดับต่า (low-level language)
 เช่น ภาษาเครื ่อง (machine language)
ที่ประกอบด้ วย
ตัวเลขเฉพาะ 0 และ 1 เท่านัน้
 เครื่ องคอมพิวเตอร์ สามารถทาความเข้ าใจได้ ทน
ั ที
 การเขียนโปรแกรมค่อนข้ างยุง่ ยากและไม่สะดวก
86
ภาษาคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 2
(second generation language)
 เอาสัญลักษณ์ (symbol) มาแทนรู ปแบบของตัวเลขใน
ภาษาเครื่ อง
 ภาษาที่ใช้ คือ ภาษาแอสแซมบลี (assembly language) ซึง่ ได้
นาเอาคาย่อ รวมถึงสัญลักษณ์ตา่ งๆมาใช้ แทนตัวเลข 0 กับ 1
 เป็ นกลุม
่ ภาษาระดับต่าเช่นเดียวกับภาษาเครื่ อง เพราะการ
ทางานยังใกล้ เคียงกับภาษาของคอมพิวเตอร์
 มีตวั ช่วยแปลภาษาที่เรี ยกว่า แอสแซมเบลอร์ ( assembler) เพื่อ
เป็ นตัวกลางแปลภาษาให้ คอมพิวเตอร์ เข้ าใจ
87
ภาษาคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 3
(third generation language)
 พัฒนาให้ มีรูปแบบใกล้ เคียงกับภาษาของมนุษย์เรี ยกว่า ภาษา
ระดับสูง(high-level language)
 มีกลุม
่ คาภาษาอังกฤษที่เข้ าใจง่ายขึ ้น
 เป็ นภาษาเชิงกระบวนการหรื อ procedural language ทางาน
เป็ นขันตอน
้
เรี ยงตามลาดับคาสัง่ ที่เขียน
 เขียนโปรแกรมที่ซบ
ั ซ้ อนได้ มากขึ ้น แต่ก็ยงั ยุง่ ยากอยูบ่ ้ าง
 หากเป็ นโปรแกรมขนาดใหญ่ต้องอาศัยประสบการณ์และ
ความชานาญ
88
ภาษาคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 4
(fourth generation language)
 ช่วยเหลือการเขียนโปรแกรมได้ มาก โดยใช้
ภาษาระดับสูงมาก
(very-high level language)
 อาศัยหลักการแบบ nonprocedural language
 เขียนโปรแกรมได้ งา่ ยมากยิ่งขึ ้น
 ได้ โปรแกรมที่มีความสมบูรณ์และสวยงามมากขึ ้น
89
ภาษาคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 5
(fifth generation language)
 เป็ นภาษาที่ใกล้ เคียงกับภาษาของมนุษย์มากที่สด
ุ หรื อที่
เรี ยกว่าภาษาธรรมชาติ (natural language)
 ทางานโดยอาศัยระบบฐานความรู้ (knowledge base
system)เพื่อช่วยในการแปลความหมายของคาสัง่
 นิยมใช้ กบ
ั คอมพิวเตอร์ ที่เกี่ยวข้ องกับสาขาปั ญญาประดิษฐ์
(AI - Artificial Intelligence)
 ตัวอย่างเช่น การพัฒนาความรู้ และการจาในหุน
่ ยนต์ การ
สัง่ งานโปรแกรมด้ วยเสียง
90
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
 เป็ นตัวกลางในการแปลความหมายหรื อภาษาของชุดคาสัง่ ที่
มนุษย์
 เขียนให้ อยูใ่ นรู ปแบบของภาษาที่คอมพิวเตอร์ จะเข้ าใจได้
 แปลงซอร์ สโค้ ด (source code) ให้ เป็ น รหัสคาสัง่ (object code)
91
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
 แบ่งออกได้ เป็ น 3 ประเภทด้ วยกันคือ
แอสแซมเบลอร์
(Assemblers)
อินเตอร์ พรี เตอร์ (Interpreters)
คอมไพเลอร์ (Compilers)
92
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
 แอสแซมเบลอร์
(Assemblers)
 ตัวแปลภาษาของภาษาแอสแซมบลี
 แปลความหมายสัญลักษณ์ชด
ุ คาสัง่ ให้ เป็ นภาษาเครื่ อง
 ใช้ งานร่ วมกับการเขียนโปรแกรมของภาษาระดับต่า (low-level
language)
93
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
 อินเตอร์ พรี เตอร์
(Interpreters)
 สาหรับการเขียนโปรแกรมในภาษาระดับสูง (high-level
language)
 แปลความหมายของชุดคาสัง่ ทีละบรรทัดคาสัง่
 เหมาะสาหรับการเขียนโปรแกรมที่มีขนาดเล็ก
94
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
 คอมไพเลอร์
(Compilers)
 ใช้ กบ
ั การทางานในภาษาระดับสูง (high-level language)
 แปลความหมายของชุดคาสัง่ ที่เขียนทังหมดในคราวเดี
้
ยวกัน
 เป็ นชุดของรหัสคาสัง่ เก็บไว้ ใช้ เมื่อต้ องการ
 ไม่ต้องเสียเวลาไปแปลชุดคาสัง่ ซ ้าอีก
 เหมาะกับการการเขียนโปรแกรมขนาดใหญ่และซับซ้ อน
95
แบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ 3
ซอฟต์แวร์ ประยุกต์เกี่ยวข้ องกับระบบปฏิบตั ิการอย่างไรบ้ าง จงอธิบาย
 ระบบปฏิบต
ั ิการโดยทัว่ ไป มีกี่ประเภท จงยกตัวอย่างประกอบ
 Symbian OS คืออะไร นิยมใช้ กบ
ั อุปกรณ์ประเภทใด
 โปรแกรมป้องกันไวรัส มีความสาคัญอย่างไรกับการใช้ งานกับคอมพิวเตอร์
 นายอภิชาติต้องการเก็บข้ อมูลไฟล์หลายๆไฟล์ เป็ นอันเดียวกันและให้ มี
ขนาดที่เล็กลง ควรจะใช้ โปรแกรม
 ประเภทใด

96
แบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ 3
 ซอฟต์แวร์ กลุม
่ การใช้ งานด้ านธุรกิจประเภท Word Processing ที่
นักศึกษารู้จกั มีอะไรบ้ าง จงยกตัวอย่างประกอบ 3 โปรแกรม
 ซอฟต์แวร์ แบบกลุม
่ (Software Suite) คืออะไร
 นางสาวศิริพรต้ องการทารายงานการรับจ่ายเงินในแต่ละวันอย่าง
ง่าย ควรใช้ โปรแกรมประเภทใด
 Internet Ralay Chat คืออะไร แตกต่างต่าง Instant Messaging
อย่างไรบ้ าง
97
แบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ 3
 โปรแกรมประเภทการนาเสนองาน เหมาะสมกับกลุม
่ คน
ประเภทใด จงให้ เหตุผลประกอบ
 ในการเรี ยกค้ นข้ อมูลบนอินเทอร์ เน็ต โปรแกรมใดที่นิยมเอาใช้
มากที่สดุ และมีคณ
ุ สมบัติเด่นๆอะไรบ้ าง
 จงยกตัวอย่าง web application ที่นก
ั ศึกษารู้จกั หรื อใช้ บริ การ
อยูใ่ นปั จจุบนั มาอย่างน้ อย 3 รายการพร้ อมทังอธิ
้ บายหลักการ
ทางานด้ วย
98
แบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ 3
 ผู้ที่ทางานด้ านออกแบบและจัดการ website เช่น
webmaster ควรจะเลือกใช้ โปรแกรมอะไรบ้ างเพื่อช่วยเหลือ
และสนับสนุนในการทางาน
 ซอฟต์แวร์ ประเภท Open Source คืออะไร
 ภาษาระดับสูงมาก หรื อ very-high level language มี
หลักการทางานอย่างไรบ้ าง
 จงยกตัวอย่างของการนาเอาภาษาคอมพิวเตอร์ ยค
ุ ที่ 5 ไปใช้
งาน มาอย่างน้ อย 2 ตัวอย่างพร้ อมทังอธิ
้ บายประกอบ
99