อ.สุดถน

Download Report

Transcript อ.สุดถน

จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
1
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
2
บทเรียนออนไลน์ วิชาพลังงานและสิ่ งแวดล้ อม
จุดประสงค์ รายวิชา
• เพือ่ ให้ มีความรู้ ความเข้ าใจเรื่องพลังงานและสิ่ งแวดล้ อม มี
ความเข้ าใจในหลักการอนุรักษ์ พลังงานและการจัดการสิ่ งแวดล้ อม
• เพือ่ ให้ สามารถดาเนินกิจกรรมอนุรักษ์ พลังงานและจัดการ
สิ่ งแวดล้ อมตามหลักการและกระบวนการได้
• มีเจตคติที่ดแี ละเกิดความคิดรวบยอดเกีย่ วกับพลังงานและ
สิ่ งแวดล้ อม
• สามารถนาความรู้ ไปใช้ ในการปฏิบัตงิ านอาชีพและดารงชีวติ ได้
อย่ างมีคุณภาพ
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
3
มาตรฐานสมรรถนะ
1. มีความรู้ ความเข้ าใจสามารถอธิบายเกีย่ วกับพลังงานและสิ่ งแวดล้ อมได้
2. มีความรู้ ความข้ าใจสามารถบอกแหล่ งกาเนิดพลังงานและสิ่ งแวดล้ อมได้
3. สามารถบอกความสั มพันธ์ ของพลังงานและสิ่ งแวดล้อมกับการดารงชีวติ อย่ างมีคุณภาพ
4. สามารถบอกหลักการวิธีการอนุรักษ์ พลังงานและการจัดการสิ่ งแวดล้ อมได้
5. สามารถบอกผลกระทบ การป้องกัน และแก้ไขปัญหาด้ านพลังงานและสิ่ งแวดล้อมได้
6. สามารถบอกบทบาทของกฎหมายสิ่ งแวดล้อมได้
7. สามารถบอกบทบาทของกฎหมายในการควบคุมและจัดระเบียบสิ่ งแวดล้ อมได้
8. สามารถแยกประเภทและขนาดของกิจกรรมที่ต้องทาการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่ งแวดล้อม
9. สามารถวิเคราะห์ และสั งเคราะห์ ถึงผลกระทบ การป้ องกัน การแก้ไขปัญหา และการ
อนุรักษ์ ด้ านพลังงานและสิ่ งแวดล้ อมได้
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
4
คาแนะนา
แบบฝึ กหัด
ออก
หน่ วยที่ 1 สิ่ งแวดล้อมและพลังงาน
หน่ วยที่ 7 พลังงานลม
หน่ วยที่ 2 พลังงานถ่ านหิน
หน่ วยที่ 8 พลังงานแสงอาทิตย์
หน่ วยที่ 3 พลังงานจากปิ โตรเลีย่ ม
หน่ วยที่ 9 พลังงานความร้ อนใต้ พภิ พ
หน่ วยที่ 4 พลังงานก๊าซธรรมชาติ
หน่ วยที่ 10 พลังงานขยะ
หน่ วยที่ 5 พลังงานนิวเคลียร์
หน่ วยที่ 11 พลังงานชีวมวล
หน่ วยที่ 6 พลังงานนา้
หน่ วยที่ 12 การอนุรักษ์ พลังงาน
หน่ วยที่ 13 การแก้ไขปัญหาด้ านพลังงานและสิ่ งแวดล้ อม
บทเรียนออนไลน์ วิชาพลังงานและสิ่ งแวดล้ อม
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
5
จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. เพือ่ ให้ ผ้ เู รียนมีความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับความหมายของสิ่ งแวดล้อมประเภทของ
สิ่ งแวดล้อม ความสาคัญของสิ่ งแวดล้ อม
2. เพือ่ ให้ ผ้ เู รียนมีความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับความหมายของพลังงาน ประโยชน์ ของ
พลังงาน
3. เพือ่ ให้ ผ้ เู รียนสามารถวิเคราะห์ สถานการณ์ ด้านพลังงานของโลกและสถานการณ์ ด้าน
พลังงานของประเทศไทยได้
4. เพือ่ ให้ ผ้ เู รียนสามารถนาความรู้ และทักษะทีไ่ ด้ จากการศึกษาเรื่อง สิ่งแวดล้อมและ
พลังงานไปใช้ ประโยชน์ ในชีวิตประจาวันได้
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
6
MENU
สิ่ งแวดล้อม หมำยถึง สิ่ งต่ำงๆที่อยูร่ อบตัวเรำทั้งที่มีชีวติ และไม่มี
ชีวติ เกิดขึ้นเองตำมธรรมชำติและทั้งที่มนุษย์สร้ำงขึ้น เป็ นได้ท้ งั
รู ปธรรมและนำมธรรม
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
7
สิ่ งแวดล้ อมแบ่ งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1.สิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นเองตำมธรรมชำติ (Natural environment)
ทั้งที่มีชีวติ และไม่มีชีวติ เช่น พืช สัตว์ มนุษย์ ดิน น้ ำ อำกำศ ฯลฯ
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
8
2.สิ่ งแวดล้อมที่มนุษย์สร้ำงขึ้น (Man-made environment)
แบ่งเป็ น 2 ชนิด คือ
2.1 สิ่ งแวดล้อมทำงด้ำนกำยภำพ (Physical environment)เป็ นสิ่ ง
ที่มนุษย์สร้ำงขึ้นและสำมำรถมองเห็นได้ เช่น อำคำรบ้ำนเรื อน ถนน รถ
ฯลฯ
2.2 สิ่ งแวดล้อมทำงด้ำนสังคม (Social environment) เป็ นสิ่ งที่
เป็ นนำมธรรม เช่น จำรี ตประเพณี ศำสนำ กฎหมำย กำรศึกษำ เป็ นต้น
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
9
สิ่ งแวดล้อมรอบๆตัวมนุษย์มีอิทธิ พลต่อควำมเป็ นอยูก่ ำรอยูร่ อดและมี
ควำมสัมพันธ์กบั สิ่ งมีชีวติ สรุ ปได้ดงั นี้
1. อิทธิพลของสิ่ งแวดล้อมต่อกำรกระจำยตัวของมนุษย์
2. อิทธิพลของสิ่ งแวดล้อมต่อควำมเป็ นอยูข่ องมนุษย์
3. อิทธิพลของสิ่ งแวดล้อมต่อกำรประกอบอำชีพของมนุษย์
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
10
ความหมายของพลังงาน
พลังงำน หมำยถึง ควำมสำมำรถในกำรทำงำนซึ่งมีอยูใ่ นตัวของสิ่ งที่
อำจให้งำนได้ ได้แก่ พลังงำนหมุนเวียน และพลังงำนสิ้ นเปลือง และให้
ควำมหมำยรวมถึงสิ่ งที่อำจให้งำนได้ เช่น เชื้อเพลิง ควำมร้อนและ
ไฟฟ้ ำ เป็ นต้น
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
11
พลังงำนที่ใช้ในกำรดำรงชีวติ ประจำวันมีอยู่ 2 รู ปแบบ คือ
1.พลังงำนหมุนเวียน (Renewable Energy) เป็ นพลังงำนที่เกิดขึ้นจำก
ธรรมชำติเป็ นส่ วนใหญ่ เช่น แสงอำทิตย์ ลม น้ ำ รวมไปถึงชีวมวลที่ได้
จำกกำรเกษตร เช่น ชำนอ้อย แกลบ มูลสัตว์ และรวมถึงพลังงำนจำก
นิวเคลียร์
2.พลังงำนสิ้ นเปลือง(Modern
Energy) เป็ นพลังงำนฟอสซิ ล
ที่เกิดจำกกำรทับถมของอินทรี ย ์
สำร เช่น น้ ำมัน ก๊ำซธรรมชำติ
ถ่ำนหิ น
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
12
สิ่ งมีชีวติ ต้องอำศัยพลังงำนเพื่อให้เกิดกระบวนกำรและปฏิกิริยำ
ต่ำงๆเพื่อดำรงชีวติ ซึ่ งประโยชน์ของพลังงำนมีดงั ต่อไปนี้
1. พลังงำนในอำหำร ทำให้เจริ ญเติบโต
2. พลังงำนในระบบนิเวศ
3. กำรสำธำรณูปโภค
4. กำรค้ำพลังงำนรู ปแบบต่ำงๆ
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
13
5. กำรผลิตพลังงำน เป็ นปัจจัยสำคัญในกำรผลิตทำงกำรเกษตรกรรม
6. กำรขนส่ งและกำรสื่ อสำร
7. กำรแพทย์ ใช้พลังงำนรังสี เอกซ์เรย์จำกแสงเลเซอร์
8. อำนวยควำมสะดวกในชีวิตประจำวัน
9. ผลิตพลังงำนเพื่อนำมำใช้ประโยชน์ในทำงกำรทหำร
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
14
จุดประสงค์ การเรียนรู้
1.เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับความหมายของพลังงานถ่ านหิน
2.เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ทวั่ ไปเกีย่ วกับพลังงานถ่ านหิน การกาเนิดถ่ านหิน
ประเภทของถ่ านหิน แหล่งถ่ านหินในประเทศไทย
3.เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับประโยชน์ ของพลังงานถ่ านหิน
เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด
4.เพือ่ ให้ ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ ผลกระทบจากการใช้ พลังงานถ่ านหินได้
5.เพือ่ ให้ ผู้เรียนสามารถนาความรู้และทักษะทีไ่ ด้ จากการศึกษาเรื่องพลังงาน
ถ่ านหินไปใช้ ประโยชน์ ในชีวติ ประจาวันได้
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
15
ถ่ำนหิ น เป็ นตะกอนที่ติดไฟได้ชนิดหนึ่ง มีสีน้ ำตำลถึงดำ มี
สถำนะเป็ นของแข็ง มีควำมเปรำะ ถ่ำนหิ นเป็ นฟอสซิ ลที่เกิดจำกกำร
ทับถมของซำกสิ่ งมีชีวติ จำพวกพืชเป็ นเวลำประมำณ 225-350 ล้ำนปี
ซำกเหล่ำนี้จะถูกแรงอัดและทับถม ควำมร้อนและเวลำผ่ำนไปจึง
กลำยเป็ นถ่ำนหิ น
ธำตุองค์ประกอบหลักของถ่ำนหิ น
คือ คำร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน
ไนโตรเจน กำมะถันผสมอยู่
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
16
ลาดับที1่ ถ่ำนหิ นเกิดบริ เวณที่เป็ น บึง ริ มแม่น้ ำ ริ มทะเล
ลาดับที่2 มีพืชเกิดขึ้นและมีวงจรชีวติ หลำยครั้ง ซำกต่ำงๆ
จะสะสมทับถมกันเป็ นจำนวนมำก
ลาดับที3่ ซำกต่ำงๆ ที่สะสมอยูไ่ ด้รับแรงกดดันและได้รับ
ควำมร้อนจำกภำยในโลก ซำกจึงแปรสภำพไปเป็ นถ่ำนพีช
ลาดับที่4 ถ่ำนพีชถูกอัดตัวกลำยเป็ นถ่ำนหิน
ลาดับที่5 ต่อมำมีช้ นั ดิน หิ นมำทับถมคลุมชั้นถ่ำนหิ นจน
อยูใ่ นสภำพปัจจุบนั
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
17
ถ่ำนหิ นแยกประเภทตำมลำดับชั้น แยกได้เป็ น 5 ประเภท คือ
1. พีชเป็ นถ่ำนหิ นชั้นแรก มีคุณภำพต่ำสุ ด
2. ลิกไนต์ เป็ นถ่ำนหิ นที่คุณภำพดีกว่ำพีช
3. ซับบิทูมินสั มีสีดำ
4. บิทูมินสั ให้พลังงำนสูงกว่ำลิกไนต์
5. แอนทรำไซด์ เป็ นถ่ำนหิ นคุณภำพดีที่สุด
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
18
แหล่งถ่ำนหิ นลิกไนต์ใหญ่ๆในไทย มีอยู่ 7 แหล่ง ได้แก่
1. แหล่งลิกไนต์แม่เมำะ อ.แม่เมำะ จ.ลำปำง
2. แหล่งลิกไนต์แม่ตีบ อ.งำว จ.ลำปำง
3. แหล่งลิกไนต์บำ้ นป่ ำคำ อ.ลี้ จ.ลำพูน
4. แหล่งลิกไนต์บำ้ นปู ะ อ.ลี้ จ.ลำพูน
5. แหล่งลิกไนต์เวียงแหง อ.เวียงแหง จ.เชียงใหม่
6. แหล่งลิกไนต์กระบี่ อ.เหนือคลอง จ.กระบี่
7. แหล่งลิกไนต์สะบ้ำย้อย อ.สะบ้ำย้อย จ.สงขลำ
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
19
1. ใช้เป็ นเชื้อเพลิงในกำรผลิตกระแสไฟฟ้ ำ
2. ใช้เป็ นเชื้อเพลิงในอุตสำหกรรมปูนซี เมนต์
3. ใช้เป็ นเชื้อเพลิงในกิจกำรอื่นๆ
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
20
เทคโนโลยีถ่ำนหิ นสะอำด คือ เทคโนโลยีที่เพิม่ ประสิ ทธิภำพในกำรทำ
เหมืองกำรจัดกำรถ่ำนหิ นก่อนนำมำใช้ และกำรใช้ประโยชน์ถ่ำนหิ น
โดยมีผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมน้อยที่สุด แบ่งเป็ น 4 ลักษณะ คือ
1. เทคโนโลยีถ่ำนหิ นสะอำดก่อนกำรเผำไหม้
2. เทคโนโลยีถ่ำนหิ นสะอำดระหว่ำงกำรไหม้
3. เทคโนโลยีถ่ำนหิ นสะอำดหลังกำรไหม้
4. เทคโนโลยีสะอำดด้วยกำรแปรสภำพถ่ำนหิ น
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
21
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
22
1. เกิดน้ ำเสี ยจำกบ่อเหมือง น้ ำกระด้ำง มีสำรแขวนลอยและซัลเฟตสู งมำก
2. ทำให้ฝนละออง
ุ่
ทั้งของแขวนลอยและหนัก ลอยอยูท่ วั่ ไปรอบๆ เหมือง
3. เกิดปัญหำต่อระบบนิเวศ คือ ทำให้สิ่งมีชีวิตเสี ยสมดุล
4. ต้องอพยพรำษฎร เพรำะต้องใช้บริ เวณกว้ำงในกำรเปิ ดหน้ำเหมือง
5. เกิดก๊ำซจำกกำรเผำไหม้ เช่นไฮโดรเจนซัลไฟด์และสำรไฮโดรคำร์บอน
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
23
จุดประสงค์ การเรียนรู้
1.เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้ าใจ เกีย่ วกับความหมายของปิ โตรเลียม
2.เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ทวั่ ไปเกีย่ วกับปิ โตรเลียม กาเนิดของปิ โตรเลียม การ
สารวจหาแหล่งปิ โตรเลียม ประโยชน์ ของปิ โตรเลียม
3.เพือ่ ให้ ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ ผลกระทบจากการใช้ พลังงานปิ โตรเลียมได้
4.เพือ่ ให้ ผู้เรียนสามารถนาความรู้และทักษะทีไ่ ด้ จากการเรียนรู้เรื่องพลังงาน
จากปิ โตรเลียมไปใช้ ประโยชน์ ในชีวติ ประจาวัน
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
24
ปิ โตรเลียม(Petroleum) คือ สำรที่เกิดขึ้นตำมธรรมชำติเป็ นของ
ผสมของไฮโดรคำร์ บอนชนิดต่ำงๆ ที่ยงุ่ ยำกและซับซ้อน ทั้งที่อยูใ่ น
สภำพของแข็ง ของเหลว และแก๊ส หรื อทั้งสำมสภำพปะปนกัน แยก
ประเภทเป็ นน้ ำมันดิบ ก๊ำซธรรมชำติ และก๊ำซธรรมชำติเหลว
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
25
ปิ โตรเลียมมีตน้ กำเนิดมำจำกสำรประกอบอินทรี ยท์ ้งั ของพืชและ
สัตว์ ซึ่ งตกตะกอนสะสมตัวอยูภ่ ำยใต้สภำพแวดล้อมที่มีพลังงำนต่ำ และ
ขำดแคลนออกซิ เจน ตำมบริ เวณแอ่งบนพื้นผิวโลกทั้งบนบกและ ใน
ทะเล ตะกอนสะสมตัวและทับถมเป็ นเวลำนำนหลำยล้ำนปี
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
26
ขั้นตอนในการสารวจหาแหล่ งปิ โตรเลียมมี 3 ขั้นตอน คือ
1. กำรสำรวจทำงธรณี วิทยำ
2. กำรสำรวจทำงธรณี ฟิสิ กส์
3. กำรเจำะสำรวจ
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
27
1.ใช้เป็ นเชื้อเพลิงในกำรขนส่ ง
2.ใช้เป็ นเชื้อเพลิงสำหรับน้ ำมันเตำ และก๊ำซธรรมชำติในโรงงำน
อุตสำหกรรม
3.ใช้ในเครื่ องกำเนิดควำมร้อนและให้แสงสว่ำง
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
28
4.ใช้เป็ นวัสดุหล่อลื่น กันซึ ม ขัดมัน
5.สำรสังเครำะห์ชนิดต่ำงๆ ที่สงั เครำะห์จำกสำรประกอบ
ไฮโดรคำร์บอนที่ได้จำกกำรกลัน่ ปิ โตรเลียม เช่น พลำสติก เส้นใย
สังเครำะห์ ยำงสังเครำะห์
6.ใช้ในกำรก่อสร้ำง
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
29
กำรเผำไหม้ปิโตรเลียมทำให้เกิดมลภำวะทำงอำกำศ ทำให้เกิดก๊ำซ
คำร์บอนมอนนอกไซด์ ก๊ำซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊ำซไนโตรเจน
ออกไซด์ ฝุ่ น ละออง เขม่ำ ควันต่ำงๆ โดยส่ งผลต่อสุ ขภำพอนำมัยของ
ประชำชน รวมทั้งส่ งผลต่อ สัตว์ พืช และสภำพแวดล้อม
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
30
จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีควำมรู ้ ควำมเข้ำใจ เกี่ยวกับควำมหมำยของก๊ำซธรรมชำติ
2. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีควำมรู ้ทวั่ ไป เกี่ยวกับก๊ำซธรรมชำติ องค์ประกอบของก๊ำซ
ธรรมชำติ สถำนกำรณ์ของก๊ำซธรรมชำติ
3. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีควำมรู ้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับกำรนำก๊ำซธรรมชำติมำใช้ใน
ประเทศไทย และประโยชน์ของก๊ำซธรรมชำติ
4. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนสำมำรถวิเครำะห์ผลดีและผลเสี ยในกำรใช้ก๊ำซธรรมชำติได้
5. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนสำมำรถนำควำมรู ้และทักษะที่ได้จำกกำรเรี ยนรู ้เรื่ องพลังงำน
จำกก๊ำซธรรมชำติไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
31
ก๊ำซธรรมชำติ เป็ นพลังงำนปิ โตรเลียมชนิดหนึ่ง เกิดจำกซำกพืช
ซำกสัตว์ที่ทบั ถมกันมำนำนหลำยแสนหลำยล้ำนปี เปลี่ยนรู ปเป็ น
ฟอสซิล ระหว่ำงนั้นก็มีกำรเปลี่ยนแปลงตำมธรรมชำติ กลำยเป็ น
น้ ำมันดิบ ก๊ำซธรรมชำติ และถ่ำนหิ น ซึ่งเรี ยกว่ำ เชื้อเพลิง ฟอสซิล
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
32
ก๊ำซธรรมชำติมีก๊ำซหลำยอย่ำงประกอบเข้ำด้วยกัน เช่น มีเทน อีเทน
โพรเพน ฯลฯ แต่โดยทัว่ ไปจะประกอบด้วยก๊ำซมีเทนเป็ นส่ วนใหญ่
คือ ร้อยละ 70 ขึ้นไป ก๊ำซพวกนี้เป็ นสำรไฮโดรคำร์บอนทั้งสิ้ น เมื่อ
จะนำมำใช้ตอ้ งแยกก๊ำซออกจำกกันเสี ยก่อน
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
33
สถานะของก๊ าซธรรมชาติมี 3 สถานะ คือ
1. Pipe Natural Gas หรื อก๊ำซธรรมชำติที่ขนส่ งโดยทำงท่อ
ชื่อทำงกำรตลำดว่ำ Sale Gas ถูกขนส่ งด้วยระบบท่อไปยัง
ลูกค้ำ นำไปเป็ นเชื้อเพลิงในกำรผลิตกระแสไฟฟ้ ำหรื อในโรงงำน
อุตสำหกรรม
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
34
หรื อ Natural Gas for Vehicles คือ รู ปแบบของ
กำรใช้ก๊ำซธรรมชำติเป็ นเชื้อเพลิงสำหรับยำนยนต์
3. LNG หรื อ Liquefied Natural Gas ถ้ำระยะทำงไกลเกิน
กว่ำ 2,000 กิโลเมตร ใช้กำรขนส่ งด้วยเรื อที่ถูกออกแบบมำเฉพำะ
โดยกำรทำก๊ำซธรรมชำติให้กลำยสภำพเป็ นของเหลว
2. NGV
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
35
ประเทศไทยมีกำรสำรวจพบแหล่งก๊ำซธรรมชำติในอ่ำวไทย และมี
กำรนำขึ้นมำใช้ต้ งั แต่ปี พ.ศ.2524 และสร้ำงโรงงำนแยกก๊ำธรรมชำติ ซึ่ง
มีท้ งั หมด 4 หน่วยด้วยกัน คือ ที่โรงแยกก๊ำซธรรมชำติ ต.มำบตำพุด
อำเภอเมือง จังหวัดระยอง ทั้งหมด 3 หน่วย และหน่วยที่ 4 ต.ท้องเนียน
อำเภอขนอม จังหวัดนครศรี ธรรมรำช
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
36
•มีเทน ใช้เป็ นเชื้อเพลิงในกำรผลิตกระแสไฟฟ้ ำ เชื้อเพลิง
ยำนพำหนะ เป็ นวัตถุดิบในกำรทำปุ๋ ยเคมี
•อีเทน ใช้ผลิตเอทีลีน ซึ่งใช้ทำถุงพลำสติก
•โพรเพน ใช้ผลิตโพรพิลีน ซึ่งเป็ นสำรตั้งต้นในอุต
สำหกรรมผลิตเม็ดพลำสติก
•โพลีโพรพิลีน ใช้เป็ นเชื้อเพลิงในโรงงำนอุตสำหกรรม
•บิวเทน ใช้เป็ นวัตถุดิบสำหรับอุตสำหกรรมปิ โตรเคมี
นำมำผสมกับโพรเพนเป็ นก๊ำซปิ โตรเลียมเหลว(ก๊ำซหุงต้ม)
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
37
• มีกำรเผำไหม้สมบูรณ์
• ลดกำรสร้ำงก๊ำซเรื อนกระจก
• มีควำมปลอดภัยในกำรใช้งำน
• มีรำคำถูกกว่ำเชื้อเพลิงปิ โตรเลียมอื่นๆ
• ขับเคลื่อนกำรเจริ ญเติบโตทำงเศรษฐกิจ
ของประเทศ
• ลดกำรนำเข้ำพลังงำนเชื้อเพลิงอื่นๆ
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
38
• ก๊ำซธรรมชำติโดยทัว่ ไปจะไม่เป็ นพิษต่อร่ ำงกำย แต่
ในกรณี ที่ก๊ำซธรรมชำติมีก๊ำซไฮโดรเจนซัลไฟด์เจือปน
อยูม่ ำกอำจก่อให้เกิดอันตรำยต่อผูท้ ี่สมั ผัสหรื อสูด
หำยใจเอำก๊ำซนั้นได้
• ก๊ำซธรรมชำติเป็ นก๊ำซติดไฟ ถ้ำก๊ำซรั่วไหลผสมกับ
อำกำศ อำจก่อให้เกิดกำรลุกไหม้หรื อระเบิดได้
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
39
จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้ าใจ เกีย่ วกับความหมายและปฏิกริ ิยานิวเคลียร์
2. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับ ประโยชน์ ของพลังงานนิวเคลียร์
การนาพลังงานนิวเคลียร์ มาใช้ ในประเทศไทยและรูปแบบของโรงไฟฟ้าพลังงาน
นิวเคลียร์
3. เพือ่ ให้ ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ ผลกระทบทีเ่ กิดจากการใช้ พลังงานนิวเคลียร์
ได้
4. เพือ่ ให้ ผู้เรียนสามารถนาความรู้และทักษะทีไ่ ด้ จากการเรียนรู้ เรื่องพลังงาน
นิวเคลียร์ ไปใช้ ประโยชน์ ในชีวติ ประจาวันได้
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
40
พลังงำนนิวเคลียร์ หรื อพลังงำนปรมำณู หมำยถึง พลังงำนที่ถูก
ปลดปล่อยออกมำ เมื่อมีกำรแยก หรื อมีกำรรวมหรื อเปลี่ยนแปลงของ
นิวเคลียร์ภำยในอะตอม ซึ่งเรำเรี ยกกำรเปลี่ยนแปลงว่ำ “ปฏิกิริยำ
นิวเคลียร์ ”
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
41
ปฏิกิริยำนิวเคลียร์เกิดขึ้นได้ 3 ลักษณะ ได้แก่
1. เกิดจำกกำรแตกตัวของนิวเคลียสหรื อกำรแยกตัวของธำตุหนัก
เรี ยกว่ำ “ปฏิกิริยำฟิ ชชัน”
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
42
MENU
2.พลังงำนที่เกิดจำกกำรรวมตัวของอะตอมเรี ยกว่ำ
“ปฏิกิริยำฟิ วชัน่ ”
3.พลังงำนที่เกิดจำกกำรสลำยตัวของสำรกัมมันตรังสี
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
43
ประโยชน์ ของพลังงานนิวเคลียร์ ในกิจการต่ างๆ ได้ แก่
• กิจการด้ านอุตสาหกรรม
• ด้ านการแพทย์ และอนามัย
• ด้ านการเกษตร ชีววิทยา และอาหาร
• ด้ านสิ่ งแวดล้ อม
• ด้ านการศึกษาและวิจัย
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
44
ประเทศไทยนำพลังงำนนิวเคลียร์มำใช้ในทำงสันติโดยตั้ง สำนักงำน
พลังงำนปรมำณูเพื่อสันติข้ ึนเมื่อปี พ.ศ.2504 มีหน้ำที่ควบคุมดูแลกำร
นำพลังงำนนิวเคลียร์มำใช้ในประเทศและก่อสร้ำงเครื่ องปฏิกรณ์
นิวเคลียร์วจิ ยั เครื่ องแรกขึ้นในพ.ศ.2505 ปัจจุบนั มีศูนย์วิจยั พลังงำน
นิวเคลียร์ต้ งั อยูท่ ี่ อ.องครักษ์ จ.นครนำยก
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
45
รู ปแบบของโรงไฟฟ้ ำพลังงำนนิวเคลียร์มี3รู ปแบบ คือ
1. โรงไฟฟ้ ำพลังงำนนิวเคลียร์แบบควำมดันสู ง
2. โรงไฟฟ้ ำพลังงำนนิวเคลียร์แบบน้ ำเดือด
3. โรงไฟฟ้ ำพลังงำนนิวเคลียร์แบบเฮฟวีว่ อเตอร์
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
46
1. รังสี ที่เกิดจำกปฏิกิริยำนิวเคลียร์อำจเกิดกำรรั่วไหล ซึ่งจะเป็ น
อันตรำยต่อประชำชนและสิ่ งแวดล้อม
2. ถ้ำเกิดมีกำรระเบิดขึ้น ฝุ่ นรังสี จะฟุ้ งกระจำย สิ่ งมีชีวิตจะได้รับ
ผลกระทบในทันทีทนั ใด
3. กำรปล่อยน้ ำเสี ยจำกกำรระบำยควำมร้อน จะส่ งผลกระทบต่อระบบ
นิเวศ
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
47
จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้ าใจ เกีย่ วกับพลังงานนา้ การใช้
ประโยชน์ จากพลังงานนา้
2. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้ าใจ เกีย่ วกับวิธีการผลิตกระแสไฟฟ้า
จากพลังงานนา้ ในประเทศไทย ประเภทของโรงไฟฟ้าพลังงานนา้
3. เพือ่ ให้ ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ ข้อดีของโรงไฟฟ้าพลังงานนา้ และ
ผลกระทบทีเ่ กิดจากการใช้ พลังงานนา้ ผลิตกระแสไฟฟ้าได้
4. เพือ่ ให้ ผู้เรียนสามารถนาความรู้ และทักษะทีไ่ ด้ จากการเรียนรู้ เรื่อง
พลังงานนา้ ไปใช้ ประโยชน์ ในชีวติ ประจาวันได้
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
48
พลังงำนน้ ำเป็ นพลังงำนที่ได้มำกจำกแรงอัดดันของน้ ำที่ปล่อย
จำกอ่ำงเก็บน้ ำเหนือเขื่อนน้ ำที่ปล่อยไปนี้จะได้รับกำรทดแทนทุก
ปี โดยฝนหรื อกำรละลำยของหิ มะ
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
49
ขั้นตอนในการทางานของโรงไฟฟ้าพลังนา้ มีดงั นี้
1. เก็บน้ ำไว้ในอ่ำง โดยกำรก่อสร้ำงเขื่อน
เพื่อให้ระดับน้ ำที่เก็บสู งกว่ำโรงงำนไฟฟ้ ำ
2. ปล่อยน้ ำลงมำตำมท่อไปยังโรงงำนไฟฟ้ ำ
ควบคุมปริ มำณตำมต้องกำร
3. น้ ำถูกส่ งเข้ำเครื่ องกังหัน ผลักดันใบพัด
ทำให้กงั หันหมุนด้วยควำมเร็ วสูง
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
50
4. เพลำของเครื่ องกังหันที่ต่อเข้ำกับเพลำของเครื่ องกำเนิดไฟฟ้ ำจะ
หมุนทำให้เครื่ องกำเนิดไฟฟ้ ำหมุนตำมไปด้วย เกิดกำรเหนี่ยวนำใน
เครื่ องกำเนิดไฟฟ้ ำ ได้พลังงำนไฟฟ้ ำออกมำใช้
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
51
ประเทศไทยมีแหล่งพลังงำนน้ ำที่สำมำรถผลิตกระแสไฟฟ้ ำ
อยู่ 31 แห่ง สำมำรถผลิตพลังงำนไฟฟ้ ำในประเทศไทยได้
ทั้งสิ้ น 25,500 เมกะวัตต์
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
52
แบ่งตำมลักษณะกำรใช้น้ ำเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้ ำ มี 4 แบบ คือ
1. โรงไฟฟ้ ำแบบมีน้ ำไหลผ่ำนตลอดปี เช่น โรงไฟฟ้ ำเขื่อนผัน
น้ ำวชิรำลงกรณ์ จังหวัดกำญจนบุรี
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
53
2. โรงไฟฟ้ ำแบบมีอ่ำงเก็บน้ ำขนำดเล็ก เช่น โรงไฟฟ้ ำเขื่อน
ท่ำทุ่งนำ จังหวัดกำญจนบุรี โรงไฟฟ้ ำบ้ำนสันติ จังหวัดยะลำ
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
54
3. โรงไฟฟ้ ำแบบมีอ่ำงเก็บน้ ำขนำดใหญ่ เช่น โรงไฟฟ้ ำเขื่อนภูมิพล
จังหวัดตำก โรงไฟฟ้ ำเขื่อนอุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
55
4. โรงไฟฟ้ ำแบบสู บน้ ำกลับ เช่น โรงไฟฟ้ ำเขื่อนลำตะคอง จังหวัด
นครรำชสี มำ โรงไฟฟ้ ำเขื่อนศรี นคริ นทร์ จังหวัดกำญจนบุรี
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
56
1. มีอำยุกำรใช้งำนประมำณ 50 ปี ขึ้นไป
2. มีประสิ ทธิภำพในกำรเดินเครื่ องสูงสุ ด สำมำรถหยุดและ
เดินเครื่ องได้อย่ำงฉับพลัน
3. ต้นทุนในกำรผลิตต่ำ เพรำะใช้น้ ำธรรมชำติเป็ นแหล่งพลังงำนใน
กำรเดินเครื่ อง
4. น้ ำเป็ นแหล่งพลังงำนภำยในประเทศที่เกิดจำกฝน ซึ่งมีกำร
หมุนเวียนตำมธรรมชำติไม่มีวนั หมดสิ้ น
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
57
5. เป็ นแหล่งพลังงำนบริ สุทธิ์ไม่มีมลพิษต่อสิ่ งแวดล้อม
6. เป็ นโครงกำรอเนกประสงค์ โดยน้ ำที่เก็บกักไว้ในอ่ำงเก็บน้ ำ
นอกจำกจะใช้ผลิตกระแสไฟฟ้ ำแล้ว ยังใช้ในกำรชลประทำน กำร
บรรเทำอุทกภัย กำรคมนำคมทำงน้ ำ กำรประมง-น้ ำจืด กำรประปำ
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
58
กำรใช้พลังงำนน้ ำในกำรผลิตกระแสไฟฟ้ ำจะไม่ก่อให้เกิด
ผลกระทบกับสิ่ งแวดล้อม แต่ในกำรสร้ำงเขื่อนเพื่อเก็บกักน้ ำจะมี
ปัญหำสิ่ งแวดล้อมที่ควรคำนึงถือ คือกำรสูญเสี ยพื้นที่ป่ำอย่ำงมหำศำล
กำรอพยพรำษฎรออกจำกพื้นที่ สัตว์ป่ำสูญเสี ยที่อยูอ่ ำศัย หรื ออำจต้อง
สูญพันธุ์ไป แร่ ธำตุต่ำงๆ ที่มีอยูใ่ นพื้นที่จะต้องจมอยูใ่ ต้น้ ำไม่สำมำรถ
นำมำใช้ประโยชน์ได้
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
59
จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้ าใจ เกีย่ วกับความหมายของพลังงานลม
2. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ทวั่ ไป เกีย่ วกับลม ประวัติการใช้ ประโยชน์ จากพลังงาน
ลม เทคโนโลยีกงั หันลม ส่ วนประกอบของกังหันลม การใช้ พลังงานลมในการ
ผลิตกระแสไฟฟ้า
3. เพือ่ ให้ ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ ผลดีผลเสี ยจากการใช้ พลังงานลมได้
4. เพือ่ ให้ ผู้เรียนสามารถนาความรู้และทักษะทีไ่ ด้ จากการเรียนรู้ เรื่องพลังงานลม
ไปใช้ ประโยชน์ ในชีวติ ประจาวันได้
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
60
พลังงำนลม เป็ นพลังงำนธรรมชำติที่สะอำดและบริ สุทธิ์ ใน
ขณะเดียวกันกังหันลมก็เป็ นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งสำมำรถนำพลังงำนลม
มำใช้ให้เป็ นประโยชน์ได้โดยเฉพำะในกำรผลิตกระแสไฟฟ้ ำ และสูบ
น้ ำซึ่งมีกำรใช้งำนกันมำแล้วอย่ำงแพร่ หลำยในอดีตที่ผำ่ นมำ
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
61
ศตวรรษที่ 12 ได้เริ่ มใช้กงั หันลมในทวีปยุโรป โดยประเทศที่ได้
ชื่อว่ำ ดินแดนแห่งกังหันลม คือ เนเธอร์แลนด์ หรื อฮอลแลนด์ ส่ วน
ใหญ่ใช้ในกำรสูบน้ ำทะเลออกไป ในพ.ศ.2430-2431 ชำร์ลส เอฟ
บรัช เป็ นผูบ้ ุกเบิก อุตสำหกรรมผลิตกระแสไฟฟ้ ำในสหรัฐอเมริ กำ
ด้วยกังหันลมเป็ นครั้งแรก ที่เมืองคลีฟแลนด์ จัดเป็ นกังหันลมที่ใหญ่
ที่สุดในโลก
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
62
กังหันลมคือ เครื่ องจักรกลอย่ำงหนึ่งที่สำมำรถรับพลังงำน
จลน์จำกกำรเคลื่อนที่ของลม ให้เป็ นพลังงำนกลได้ จำกนั้นนำ
พลังงำนกลมำใช้ประโยชน์โดยตรง เช่น กำรบดสี เมล็ดพืช กำร
สู บน้ ำ ใช้ผลิตเป็ นพลังงำนไฟฟ้ ำ กำรออกแบบกังหันลมจะต้อง
อำศัยควำมรู้ทำง ด้ำนพลศำสตร์ของลม และหลักวิศวกรรมศำสตร์
ในแขนงต่ำงๆ เพื่อให้ได้งำน พลังงำนและประสิ ทธิภำพสู งสุ ด
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
63
ส่ วนประกอบสาคัญๆของระบบกังหันลมทั่วๆไป แบ่ งได้ ดังนี้
1. ใบกังหัน เป็ นส่ วนที่สำคัญที่สุด ทำให้เกิดพลังงำนกลที่เพลำ
2. ระบบควบคุม ควบคุมกังหันลมหันหน้ำเข้ำหำทิศทำงลม
3. ระบบส่ งกำลัง ส่ งกำลังจำกกังหันลม เพื่อไปใช้งำน
4. หอคอย ทำหน้ำที่ยดึ ตัวกังหันลมให้อยูใ่ นระดับสู งเพื่อรับ
กระแสลมได้มำกขึ้นทุกทิศทำง
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
64
ในปี พ.ศ. 2526 กำรไฟฟ้ ำฝ่ ำยผลิตแห่งประเทศไทย ได้
เลือกบริ เวณแหลมพรหมเทพ จังหวัดภูเก็ต ซึ่งมีขอ้ มูลบ่งชี้วำ่ มี
ควำมเร็ วลมเฉลี่ยตลอดปี ประมำณ 5 เมตรต่อวินำที เป็ นสถำน
ที่ต้ งั สถำนีทดลองผลิตไฟฟ้ ำจำกกังหันลม ใช้ชื่อว่ำสถำนี
พลังงำนทดแทนพรหมเทพ
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
65
ผลกระทบจากการใช้ พลังงานลมมีดังนี้
1. ผลต่อทัศนียภำพ เนื่องจำกต้องใช้กงั หันขนำดใหญ่อำจบดบัง
ส่ วนต่ำงๆ ของพื้นที่ไป
2. กำรเกิดมลภำวะทำงเสี ยง เมื่อใบพัดขนำดใหญ่ทำงำน รบกวน
ผูอ้ ยูใ่ กล้เคียง
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
66
3. กำรรบกวนคลื่นวิทยุ ซึ่ งเกิดจำกใบพัดส่ วนใหญ่ทำจำกโลหะ
เมื่อหมุนจะทำให้เกิดกำรรบกวนคลื่นวิทยุและโทรทัศน์ในระยะ 12 กิโลเมตร
4. ผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ เมื่อติดตั้งกังหันลมขนำดใหญ่ อำจ
ทำให้สิ่งมีชีวติ ใกล้เคียงอพยพไปอยูท่ ี่อื่น
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
67
จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้ าใจ เกีย่ วกับพลังงานแสงอาทิตย์
2. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ทวั่ ไปเกีย่ วกับเซลล์ แสงอาทิตย์
3. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้ าใจ เกีย่ วกับการผลิตไฟฟ้าจาก
พลังงานแสงอาทิตย์
4. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับข้ อดีจากการผลิต
กระแสไฟฟ้าจากเซลล์ แสงอาทิตย์
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
68
แสงจำกดวงอำทิตย์ประกอบด้วยคลื่นของพลังงำนที่เรี ยกว่ำ “รังสี
แสงอำทิตย์” รังสี น้ ีจะแพร่ กระจำยไปทุกทิศทุกทำง มนุษย์นำพลังงำน
จำกดวงอำทิตย์มำใช้ประโยชน์หลำกหลำยประกำร และยังใช้
แสงอำทิตย์ผลิตไฟฟ้ ำโดยใช้อุปกรณ์ที่เรี ยกว่ำ “เซลล์แสงอำทิตย์”
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
69
อุปกรณ์สำคัญของระบบกำรผลิตกระแสไฟฟ้ ำจำกเซลล์แสงอำทิตย์
• เครื่ องควบคุมกำรประจุกระแสไฟฟ้ ำ
• แบตเตอรี่ ทำหน้ำที่เก็บพลังงำนไฟฟ้ ำที่ผลิตได้
• เครื่ องแปลงกระแสไฟฟ้ ำจำกตรงให้เป็ นกระแสสลับ
• ระบบป้ องกันฟ้ ำผ่ำ ป้ องกันควำมเสี ยหำย
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
70
• ไม่มีเสี ยงรบกวน
•ไม่มีกำรเผำไหม้ ทำให้เกิดมลภำวะของอำกำศ
•ประสิ ทธิ ภำพค่อนข้ำงคงที่ ค่ำบำรุ งรักษำไม่มำก
•ไม่สิ้นเปลืองค่ำเชื้อเพลิง
•ผลิตไฟฟ้ ำได้เกือบทุกมุมโลก
•ให้พลังงำนไฟฟ้ ำโดยตรงและเปลี่ยนรู ปเป็ นพลังงำนอื่นได้ง่ำย
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
71
ไฟฟ้ ำจำกเซลล์แสงอำทิตย์เป็ นไฟฟ้ ำกระแสตรง ถูกแปลงด้วย
อุปกรณ์เครื่ องแปลงกระแสไฟฟ้ ำ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้ ำกระแสสลับ
ผลิตนำร้อน ใช้ในกำรอบแห้ง และกำรสูบน้ ำ
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
72
เมื่อ พ.ศ.2519 ประเทศไทยได้นำเซลล์แสงอำทิตย์มำผลิตพลังงำน
ไฟฟ้ ำ เพื่อใช้งำนในด้ำนแสงสว่ำง ระบบโทรคมนำคม และเครื่ องสูบ
น้ ำ ปัจจุบนั เซลล์แสงอำทิตย์นำไปใช้งำนมำกที่สุด คือ ระบบผลิต
ไฟฟ้ ำด้วยเซลล์แสงอำทิตย์รองลงมำเป็ นระบบประจุแบตเตอรี่ ดว้ ย
เซลล์แสงอำทิตย์ ระบบสื่ อสำรโทรคมนำคม ระบบสู บน้ ำ ระบบ
ผสมผสำนกับสำยส่ งไฟฟ้ ำ พลังงำนน้ ำ พลังงำนลม
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
73
จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้ าใจ เกีย่ วกับความหมายของพลังงานความ
ร้ อนใต้ พภิ พ
2. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ทวั่ ไปเกีย่ วกับพลังงานความร้ อนใต้พภิ พ
3. เพือ่ ให้ ผู้เรียนสามารถจาแนกระบบของพลังงานความร้ อนใต้ พภิ พ
4. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้ าใจ เกีย่ วกับระบบพลังงานความร้ อนใต้ พภิ พ
5. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้ าใจ เกีย่ วกับการใช้ ประโยชน์จากพลังงาน
ความร้ อนใต้ พภิ พ
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
74
พลังงำนควำมร้อนใต้พิภพ เป็ นกำรนำน้ ำร้อนที่มีอยูใ่ ต้พ้นื ดิน มำใช้
ให้เกิดประโยชน์ กลุ่มประเทศที่มีกำรพัฒนำพลังงำนควำมร้อนใต้พิภพ
มำใช้ประโยชน์มกั เป็ นกลุ่มประเทศที่มีสภำพทำงธรณี
วิทยำเอื้ออำนวยต่อศักยภำพทำง
พลังงำนควำมร้อนใต้พิภพซึ่งได้แก่
บริ เวณที่เปลือกโลกมีกำรเคลื่อนไหว
และมีแนวภูเขำไฟอย่ำงต่อเนื่อง
เช่น ประเทศอิตำลี่ สหรัฐอเมริ กำ
เม็กซิโก ญี่ปุ่น เป็ นต้น
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
75
แหล่งพลังงำนควำมร้อนใต้พิภพ สำมำรถแบ่งตำมลักษณะของ
กรรมวิธีทำงเทคนิคในกำรนำควำมร้อนมำใช้ได้ 3 ระบบ ได้แก่
1. ระบบไอน้ ำ
2. ระบบควำมร้อน
3. ระบบหิ นร้อนแห้ง
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
76
ที่สำคัญและใช้มำกที่สุดคือ กำรนำเอำน้ ำร้อนหรื อไอน้ ำร้อนมำผลิต
กระแสไฟฟ้ ำ กำรละลำยน้ ำแข็งและหิ มะ ให้ควำมอบอุ่นแก่บำ้ นเรื อน
โรงเลี้ยงสัตว์และเรื อนต้นไม้ ใช้ในกำรอบแห้ง พืชผัก และผลผลิต
อื่นๆ ในโรงงำนอุตสำหกรรม ใช้เป็ นพลังงำนในกำรกลัน่ แยก
ของเหลวที่มีจุดเดือดไม่มำกนัก
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
77
การใช้ ประโยชน์ สามารถแบ่ งได้ 2 ประเภท คือ
1.กลุ่มที่มีอุณหภูมิแหล่งกักเก็บน้ ำอยูร่ ะหว่ำง 175-200 °C
นำมำใช้ผลิตกระแสไฟฟ้ ำและกำรอบพืชผัก ได้แก่ น้ ำพุร้อนฝำง
น้ ำพุร้อนป่ ำแป๋ น้ ำพุร้อนโป่ งฮ่อมและโป่ งนก น้ ำพุร้อนเทพพนม
น้ ำพุร้อนแม่จนั
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
78
2. กลุ่มที่มีอุณหภูมิแหล่งกักเก็บน้ ำอยูร่ ะหว่ำง 110-170๐C
นำมำใช้ทำงเกษตรกรรมและอุตสำหกรรมขนำดย่อม ได้แก่ น้ ำพุ
ร้อนบ้ำนโป่ ง น้ ำพุร้อนบ้ำนโป่ งไหม้ น้ ำพุร้อนบ้ำนโป่ งเหม็น
น้ ำพุร้อนบ้ำนแจ้ซอ้ น น้ ำพุร้อนโป่ งสัก เป็ นต้น
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
79
•ใช้ในกำรผลิตกระแสไฟฟ้ ำ โดยตั้งโรงไฟฟ้ ำพลังงำนควำม
ร้อนใต้พิภพฝำงเป็ นแห่งแรกของประเทศไทย
•ใช้กบั อุตสำหกรรมและเกษตรกรรม เช่น กำรอบแห้ง และ
ห้องทำควำมเย็นเพื่อรักษำผลผลิตทำงกำรเกษตร
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
80
•สำรเคมีอนั ตรำยที่ละลำยปนอยู่ อำจปนเปื้ อนระบบน้ ำบำดำล
หรื อน้ ำผิวดิน เช่น สำรหนู ปรอท เป็ นต้น
•มีก๊ำซอันตรำย เช่น ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และก๊ำซอื่นๆ ระเหย
ออกมำด้วย ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบหำยใจ
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
81
•ไอน้ ำร้อนที่ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้ ำจำนวนมำก จะทำให้เกิดควำมร้อน
ตกค้ำงในอำกำศส่ งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ที่อยูใ่ กล้เคียง
•หำกเป็ นกำรตั้งโรงไฟฟ้ ำขนำดใหญ่ อำจก่อให้เกิดปัญหำกำรทรุ ด
ตัวของแผ่นดินได้
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
82
จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้ าใจ เกีย่ วกับความรู้ทวั่ ไปของพลังงานขยะ
2. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้ าใจ เกีย่ วกับการแปรรูปขยะมูลฝอย การ
ผลิตเชื้อเพลิงขยะ
3. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้ าใจ เกีย่ วกับกระบวนการผลิตก๊าซเชื้อเพลิง
4. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้ าใจ เกีย่ วกับวิธีการใช้ ประโยชน์ จากขยะ
เชื้อเพลิง
5. เพือ่ ให้ ผู้เรียนสามารถนาความรู้และทักษะทีไ่ ด้ จากการเรียนรู้เรื่อง
พลังงานขยะไปใช้ ประโยชน์ ในชีวติ ประจาวันได้
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
83
ปัญหำขยะมูลฝอยของประเทศไทยได้ทวีควำมรุ นแรงขึ้น
อย่ำงรวดเร็ ว ก่อให้เกิดปัญหำผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมและ
สุ ขอนำมัย ในภำวะที่พลังงำนขำดแคลน ขยะสำมำรถนำมำผลิต
พลังงำนขยะได้
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
84
สำมำรถกระทำได้ 3 แบบ ดังนี้
1. กำรใช้เตำเผำ
2. กำรย่อยสลำยแบบไม่ใช้ออกซิเจน
3. กำรใช้หลุมผังกลบแบบถูกหลักสุ ขำภิบำล
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
85
เชื้อเพลิงขยะเป็ นกำรนำขยะมูลฝอยที่ผำ่ นกระบวนกำรจัดกำร
ต่ำงๆ เช่น กำรคัดแยกวัสดุที่เผำไหม้ได้ออกมำ กำรฉี กหรื อตัดขยะ
มูลฝอยออกเป็ นชิ้นเล็ก ๆ ขยะเชื้อเพลิงที่ได้จะมีค่ำควำมร้อนสู งกว่ำ
กำรนำขยะมูลฝอยที่เก็บรวบรวมมำใช้โดยตรง
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
86
การผลิตก๊ าซเชื้อเพลิง(Gasification)กำรผลิต
ก๊ำซเชื้อเพลิงจำกขยะชุมชนเป็ นกระบวนกำรทำให้ขยะ
กลำยเป็ นก๊ำซโดยทำปฏิกิริยำสันดำปแบบไม่สมบูรณ์ ทำให้
เกิดก๊ำซซึ่ งมีองค์ประกอบหลักคือคำร์บอนมอนอกไซค์
ไฮโดรเจนและมีเทน
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
87
กระบวนกำรผลิตก๊ำซเชื้อเพลิงจำกเชื้อเพลิงแข็งประกอบไปด้วย
กระบวนกำรสลำยตัว และกระบวนกำรกลัน่ สลำยของโมเลกุล
สำรอินทรี ยใ์ นขยะ ที่อุณหภูมิสูงประมำณ 1,200-1,400 ๐C
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
88
•กำรใช้ขยะเชื้อเพลิงเพื่อผลิตเป็ นพลังงำนไฟฟ้ ำและ
ควำมร้อน
•นำไปใช้เผำร่ วมกับถ่ำนหิ น เพื่อลดปริ มำณกำรใช้ถ่ำน
หิ นลง
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
89
จุดประสงค์ การเรียนรู้
1 เพือ่ ให้ ผ้ ูเรียนมีความรู้ ความเข้ าใจ เกีย่ วกับพลังงานชีวมวล
2. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้ าใจ เกีย่ วกับเอทานอล กระบวนการ
ผลิตเอทานอล ศักยภาพการผลิตเอทานอลในประเทศไทย
3. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้ าใจ เกีย่ วกับแก๊ สโซฮอล์ รู้ ความ
เป็ นมาของแก๊ สโซฮอล์ ข้ อดีของการใช้ แก๊ สโซฮอล์
4. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้ าใจและสามารถวิเคราะห์
แนวนโยบายพลังงานทดแทนด้ านเชื้อเพลิงเอทานอลได้
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
90
พลังงำนชีวมวลเป็ นอินทรี ยส์ ำรที่ได้จำกพืชและสัตว์ต่ำงๆ เช่น เศษ
ไม้ ขยะ วัสดุเหลือใช้ทำงกำรเกษตร ซึ่งเป็ นแหล่งพลังงำนที่สำคัญที่
หำได้ในประเทศ อำทิ แกลบ ฟำงข้ำว ชำนอ้อย กะลำปำล์ม เหง้ำมัน
สำปะหลัง เป็ นต้น ซึ่งชีวมวลเหล่ำนี้สำมำรถนำมำเผำไหม้เพื่อนำ
พลังงำนควำมร้อนที่ได้ไปใช้ในกระบวนกำรผลิตไฟฟ้ ำ
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
91
1. ไม้
2. ผลผลิตที่เหลือจำกกำรเกษตร เช่น ชำนอ้อย แกลบ ฯลฯ
3. ก๊ำซชีวภำพ
4. แอลกอฮอล์
5. น้ ำมันพืช
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
92
เอทำนอล (Ethanal) หรื อ เอทิลแอลกอฮอล์ (Ethyl
Alcohol) เป็ นแอลกอฮอล์ชนิดหนึ่งที่เกิดจำกกำรนำผลผลิตทำงกำร
เกษตรมำหมัก เช่น อ้อย มันสำปะหลัง ธัญพืชต่ำงๆ เพื่อเปลี่ยนแป้ งจำก
พืชเป็ นน้ ำตำล แล้วเปลี่ยนจำกน้ ำตำลเป็ นแอลกอฮอล์ เมื่อทำให้เป็ น
แอลกอฮอล์บริ สุทธิ์ 95 % โดยกำรกลัน่ จะเรี ยกว่ำ เอทำนอล
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
93
กระบวนการผลิตเอทานอลมีข้นั ตอนการผลิต ดังนี้
ย่อยสลำยเส้นใย
ย่อย
หมัก
กลัน่
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
94
น้ ำมันแก๊สโซฮอล์ คือ น้ ำมันเชื้อเพลิงสำหรับรถยนต์ ที่ใช้สำหรับ
ทดแทนน้ ำมันเบนซิน ที่มีส่วนผสมระหว่ำงเอทำนอลหรื อ
เอทิลแอลกอฮอล์ มีควำมบริ สุทธิ์ 99.5% ผสมกับน้ ำมันเบนซิน
ในอัตรำส่ วน น้ ำมัน 9 ส่ วน เอทำนอล 1 ส่ วน สำมำรถใช้ทดแทน
น้ ำมันเบนซิน 95 ธรรมดำได้
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
95
ผลดีต่อเครื่ องยนต์
1.ไม่มีผลกระทบต่อสมรรถนะเครื่ องยนต์และอัตรำกำรเร่ งไม่
แตกต่ำงจำกน้ ำมัน เบนซิ น 95
2.สำมำรถเติมผสมกับน้ ำมันที่เหลืออยูใ่ นถังได้เลยโดยไม่ตอ้ งรอให้
น้ ำมันที่มีอยูใ่ นถังหมด
3.ไม่ตอ้ งเสี ยค่ำใช้จ่ำยในกำรดำเนินกำรปรับแต่งเครื่ องยนต์
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
96
1.ช่วยลดกำรนำเข้ำน้ ำมันเชื้อเพลิงจำกต่ำงประเทศ
2.ช่วยประหยัดเงินตรำต่ำงประเทศในกำรนำเข้ำสำร MTBE ถึงปี ละ
3,000 ล้ำนบำท
3.ใช้ประโยชน์จำกพืชผลทำงกำรเกษตรสู งสุ ดและยกระดับรำคำ
พืชผลทำงกำรเกษตร สร้ำงรำยได้ให้เกษตรกร
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
97
4.เครื่ องยนต์มีกำรเผำไหม้ที่ดีข้ ึน ทำให้ช่วยลดมลพิษทำงอำกำศ และ
แก้ไขปัญหำสิ่ งแวดล้อมโดยสำมำรถลดปริ มำณไฮโดรคำร์ บอนและ
คำร์บอนมอนอกไซด์ลง 20 - 25 % ทำให้ลดค่ำใช้จ่ำยเกี่ยวกับสุ ขภำพ
ของประชำชน
5.ทำให้เกิดกำรลงทุนที่หลำกหลำยทั้งด้ำนเกษตรและอุตสำหกรรม
6.เป็ นพลังงำนหมุนเวียนจึงถือเป็ นกำรอนุรักษ์ทรัพยำกรของโลก ซึ่ง
เป็ นแนวทำงพัฒนำประเทศที่ยงั่ ยืน
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
98
ไบโอดีเซล คือน้ ำมันเชื้อเพลิงที่ผลิตมำจำกน้ ำมันพืชหรื อไขมันสัตว์
โดยผ่ำนขบวนกำรที่ทำให้โมเลกุลเล็กลงให้อยูใ่ นรู ปของ เอทิลเอสเตอร์
(Ethyl esters) หรื อ เมทิลเอสเตอร์ (Methyl esters) ซึ่ งมี
คุณสมบัติใกล้เคียงกับน้ ำมันดีเซลมำก สำมำรถใช้ทดแทนน้ ำมันดีเซล
ได้โดยตรง
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
99
วัตถุดิบที่นำมำใช้ผลิตไบโอดีเซล ได้แก่ น้ ำมันพืชใช้แล้วและน้ ำมัน
พืชสกัดใหม่อีก 8 ชนิด คือ น้ ำมันปำล์ม น้ ำมันมะพร้ำว น้ ำมันถัว่
เหลือง น้ ำมันถัว่ ลิสง น้ ำมันละหุ่ง น้ ำมันงำ น้ ำมันเมล็ดทำนตะวัน
น้ ำมันสบู่ดำ
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
100
ปาล์ มนา้ มัน (Oil palm) ในประเทศไทยมีกำรปลูกทั้งทำง
ภำคใต้และภำคตะวันออก สำมำรถนำมำแปรรู ปทำเป็ นน้ ำมันปำล์ม
ประกอบอำหำร เนย รวมถึงเป็ นส่ วนผสมในไบโอดีเซลด้วย ใบบด
เป็ นอำหำรสัตว์ กะลำปำล์มเป็ นวัตถุดิบเชื้อเพลิง
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
101
ดีเซลปำล์มบริ สุทธิ์เป็ นน้ ำมันเชื้อเพลิงที่ได้จำกกำรนำ
น้ ำมันปำล์มบริ สุทธิ์ผสมกับน้ ำมันดีเซลในสัดส่ วนน้ ำมัน
ปำล์มบริ สุทธิ์ ไม่เกินร้อยละ 10 โดยปริ มำตร สำมำรถใช้
เป็ นเชื้อเพลิงทดแทนน้ ำมันดีเซลได้
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
102
1. สำมำรถช่วยลดปริ มำณมลพิษจำกท่อไอเสี ย
2.น้ ำมันพืชเป็ นเชื้อเพลิงสะอำด มีปริ มำณกำมะถันน้อยมำก เมื่อ
เทียบกับน้ ำมันดีเซล เมื่อนำมำเป็ นเชื้อเพลิงในเมืองใหญ่และพื้นที่ที่
มีปัญหำด้ำนสิ่ งแวดล้อม จะช่วยลดผลกระทบที่มีต่อสิ่ งแวดล้อมได้
3. ผูท้ ี่ใช้ดีเซลปำล์มบริ สุทธิ์ เติมในรถยนต์ไม่ตอ้ งเสี ยค่ำใช้จ่ำยใน
กำรปรับแต่งเครื่ องยนต์
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
103
ผลดีกบั เศรษฐกิจของประเทศ คือ
1.ช่วยประหยัดเงินตรำต่ำงประเทศในกำรลดกำรนำเข้ำน้ ำมันดีเซล
2.สร้ำงควำมพึงพอใจด้ำนรำคำให้กบั เกษตรกร
3.รัฐไม่ตอ้ งใช้งบประมำณแผ่นดินในกำรแทรกแซงรำคำน้ ำมันปำล์ม
4.กำรช่วยลดมลพิษทำงอำกำศส่ งผลดีต่อสุ ขภำพโดยรวมของ
ประชำชน
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
104
สบู่ดำ เป็ นพืชน้ ำมันชนิดหนึ่ง สำมำรถใช้กบั เครื่ องยนต์ดีเซลที่
เกษตรกรใช้อยูไ่ ด้ โดยไม่ตอ้ งใช้น้ ำมันชนิดอื่นผสมอีก ใช้เป็ น
สมุนไพรรักษำโรค ใช้ปลูกเป็ นแนวรั้ว สบู่ดำมีปลูกอยูท่ วั่ ทุกภำคของ
ประเทศไทย
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
105
1.ยำงจำกก้ำนใบ ใช้ป้ำยรักษำโรคปำกนกกระจอก ห้ำมเลือด แก้
ปวดฟัน แก้ลิ้นเป็ นฝ้ ำขำว โดยผสมกับน้ ำนมมำรดำป้ ำยลิ้น
2.ลำต้น ตัดเป็ นท่อนต้มน้ ำให้เด็กกินแก้ซำงตำลขโมย ตัดเป็ นท่อน
แช่น้ ำอำบแก้โรคพุพอง ใช้เป็ นแนวรั้วป้ องกันสัตว์เลี้ยง
3.เมล็ดใช้หีบเป็ นน้ ำมัน ใช้ทดแทนน้ ำมันดีเซล ใช้บำรุ งรำกผม ใช้
เป็ นปุ๋ ยอินทรี ย ์ และยังมีสำรพิษ Curcin มีฤทธิ์เหมือนสลอด เมื่อกิน
เข้ำไปแล้วจะทำให้ทอ้ งเดิน
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
106
1.กำรสกัดในห้องปฏิบตั ิกำรโดยใช้วธิ ีบดให้ละเอียด แล้วสกัดด้วย
ตัวทำละลำย ปิ โตรเลี่ยมอีเทอร์ จะได้น้ ำมัน 34.96 % จำกเมล็ดรวม
เปลือก และ 54.68 % จำกเนื้อเมล็ด
2.กำรสกัดด้วยระบบไฮดรอริ ค จะได้น้ ำมันประมำณ 25-30 % มี
น้ ำมันตกค้ำงในกำก 10-15 %
3.กำรสกัดด้วยระบบอัดเกลียว จะได้น้ ำมันประมำณ 25-30 % มีน้ ำมัน
ตกค้ำงในกำก 10-15 %
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
107
ประโยชน์ดำ้ นสิ่ งแวดล้อม
•สำมำรถลดพิษทำงอำกำศ
•สำมำรถลดกำรปล่อยแก๊สเรื อนกระจก เพรำะผลิตจำกพืช
•กำรผลิตไบโอดีเซลจำกน้ ำมันพืชที่ใช้แล้ว ช่วยลดกำรนำน้ ำมันที่ใช้
แล้วไปประกอบอำหำรซ้ ำ ช่วยป้ องกันมิให้นำน้ ำมันที่ใช้แลัว (ซึ่งมีสำร
ไดออกซินที่เป็ นสำรก่อมะเร็ ง) ไปผลิตเป็ นอำหำรสัตว์
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
108
ประโยชน์ ด้านสมรรถนะเครื่องยนต์
•สำมำรถช่วยเพิ่มดัชนีกำรหล่อลื่นให้กบั น้ ำมันดีเซล
•ประสิ ทธิ ภำพกำรเผำไหม้ดีข้ ึน
•ค่ำควำมร้อนของไบโอดีเซลจะต่ำกว่ำน้ ำมันดีเซลแต่กไ็ ม่
ทำให้กำลังเครื่ องลดลง
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
109
ประโยชน์ ด้านเศรษฐศาสตร์
•กำรใช้ไบโอดีเซลช่วยสร้ำงงำนในชนบท
•กำรใช้ไบโอดีเซลสำมำรถช่วยลดกำรนำเข้ำ
น้ ำมันดิบจำกต่ำงประเทศ
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
110
จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. เพือ่ ให้ ผ้ เู รียนมีความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับเรื่องการอนุรักษ์ พลังงาน
2. เพือ่ ให้ ผ้ เู รียนมีความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับสาเหตุที่ต้องมีการอนุรักษ์ พลังงาน
3. เพือ่ ให้ ผ้ เู รียนมีความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับวิธีการเบือ้ งต้ นในการดาเนินการ
อนุรักษ์ พลังงาน
4. เพือ่ ให้ ผ้ เู รียนมีความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับการอนุรักษ์ พลังงานตาม
พระราชบัญญัตสิ ่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ.2535
5. เพือ่ ให้ ผ้ เู รียนมีความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับสาระสาคัญของพระราชบัญญัติ
ส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ.2535 และการอนุรักษ์ พลังงานอย่ างยัง่ ยืน
6. เพือ่ ให้ ผ้ เู รียนสามารถนาความรู้ และทักษะทีไ่ ด้ จากการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์
พลังงานไปใช้ ประโยชน์ ในชีวิตประจาวันได้
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
111
กำรอนุรักษ์พลังงำน หมำยถึง กำรผลิตและใช้พลังงำนอย่ำงมี
ประสิ ทธิภำพและประหยัด กำรสำรวจและพัฒนำแหล่งพลังงำน
ใหม่ๆ ในประเทศต้องใช้เงินลงทุนสูงมำก และยังทำให้เกิดกำร
สูญเสี ยทรัพยำกรธรรมชำติมหำศำล ซึ่งก่อให้เกิด ผลกระทบ
ต่อสิ่ งแวดล้อมระยะยำวอีกด้วย
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
112
ประชำกรมีจำนวนเพิม่ ขึ้น ทำให้ควำมต้องใช้พลังงำน
สู งขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง พลังงำนภำยในประเทศที่ผลิตได้มีไม่
เพียงพอ ต้องนำเข้ำจำกต่ำงประเทศทำให้ประเทศสู ญเสี ย
เงินตรำจำนวนมำก จึงจำเป็ นที่ทุกคนต้องร่ วมมือกันอนุรักษ์
พลังงำน เพื่อลดค่ำใช้จ่ำยด้ำนพลังงำนและลดมลพิษ อีกทั้ง
ประหยัดพลังงำนให้เหลือเผือ่ ลูกหลำนในอนำคต
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
113
1. กำรกำหนดนโยบำยและเป้ ำหมำย
2. กำรจัดตั้งองค์กรด้ำนกำรอนุรักษ์พลังงำนและกำหนดหน้ำที่ควำม
รับผิดชอบ
3. กำรวิเครำะห์กำรใช้พลังงำนเพื่อหำศักยภำพในกำรอนุรักษ์
พลังงำน
4. กำรหำมำตรกำรกำรอนุรักษ์พลังงำน มี 3 วิธี ได้แก่ วิธีกำรใช้งำน
และบำรุ งรักษำอย่ำงถูกต้อง วิธีกำรปรับปรุ งประสิ ทธิภำพอุปกรณ์
และวิธีกำรปรับปรุ งหรื อเปลี่ยนแปลงระบบ
5. กำรติดตำมผลตำมแผนดำเนินงำน
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
114
กรมพัฒนำพลังงำนทดแทนและอนุรักษ์พลังงำนได้ยกร่ ำงกฎหมำย
ส่ งเสริ มกำรอนุรักษ์พลังงำนขึ้นมำ และได้มีพระบรมรำชโองกำรฯ ให้
ประกำศใช้ในพระรำชกิจจำนุเบกษำเมื่อวันที่ 2 เมษำยน พ.ศ.2535 ทำ
ให้พระรำชบัญญัติกำรส่ งเสริ มกำรอนุรักษ์พลังงำน พ.ศ.2535 มีผล
บังคับใช้ต้ งั แต่วนั ที่ 3 เมษำยน พ.ศ.2535 เป็ นต้นมำ
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
115
1. กำกับ ดูแล ส่ งเสริ ม และสนับสนุน ให้ผทู้ ี่อยูใ่ ต้บงั คับของ
กฎหมำย (อำคำรควบคุม และโรงงำนควบคุม) มีกำรอนุรักษ์พลังงำน
ด้วยกำรผลิต และกำรใช้พลังงำนอย่ำงมีประสิ ทธิ ภำพและประหยัด
2. ส่ งเสริ มและสนับสนุน ให้เกิดกำรผลิตเครื่ องจักรอุปกรณ์ที่มี
ประสิ ทธิภำพ และวัสดุที่ใช้ในกำรอนุรักษ์พลังงำนขึ้นมำ
ภำยในประเทศ และมีกำรใช้อย่ำงแพร่ หลำย
3. ส่ งเสริ ม และสนับสนุน ให้กำรอนุรักษ์พลังงำนเป็ นรู ปธรรม ด้วย
กำรจัดตั้ง “กองทุนอนุรักษ์พลังงำน” เพื่อใช้เป็ นกลไกในกำรให้กำร
อุดหนุนช่วยเหลือทำงกำรเงินในกำรอนุรักษ์พลังงำน
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
116
กำรอนุรักษ์พลังงำนอย่ำงยัง่ ยืน มี 2 รู ปแบบ ดังนี้
1. แบบที่เน้นกำรจัดกำรด้ำนพลังงำนเป็ นหลัก เรี ยกว่ำ ระบบ
กำรจัดกำรด้ำนพลังงำน
2. แบบที่เน้นกำรจัดกำรด้ำนพลังงำนแบบมีส่วนร่ วม และ
ดำเนินกำรให้เกิดประสิ ทธิผลตำมเป้ ำหมำยที่กำหนดไว้
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
117
มีข้นั ตอนสำคัญอยู่ 6 ขั้นตอน ดังนี้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
นโยบำยพลังงำน
โครงสร้ำงหน้ำที่ควำมรับผิดชอบ
กำรวำงแผนอนุรักษ์พลังงำน
กำรนำไปปฏิบตั ิและกำรควบคุม
กำรตรวจสอบและปฏิบตั ิกำรแก้ไข
กำรทบทวนโดยฝ่ ำยบริ หำร
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
118
มีข้ นั ตอนสำคัญอยู่ 6 ขั้นตอน ดังนี้
1.การปรับความคิด
ผู้บริหาร
6.การประเมินผล
2.การสร้ างความ
ต้ องการ
5.การดาเนินการ
อนุรักษ์ พลังงาน
3.การตั้งทีมอนุรักษ์
พลังงาน
MENU
4.การตรวจวิเคราะห์
กาหนดเป้ าหมาย
จัดทำโดย
อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
และมาตรการ
119
จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้ าใจ เกีย่ วกับการแก้ไขปัญหาด้ านพลังงาน
2. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้ าใจ เกีย่ วกับการแก้ไขปัญหาด้ าน
สิ่ งแวดล้อม
3. เพือ่ ให้ ผู้เรียนสามารถนาความรู้และทักษะทีไ่ ด้ จากการเรียนรู้เรื่องการ
แก้ไขปัญหาด้ านพลังงานและสิ่ งแวดล้อมไปใช้ ประโยชน์ ในชีวติ ประจาวันได้
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
120
แนวทำงในกำรแก้ไขปัญหำด้ำนพลังงำน รัฐบำลได้รณรงค์ 2
ประเด็นคือ
1. กำรประหยัดพลังงำน โดยวิธีกำรประหยัดน้ ำมัน วิธีกำร
ประหยัดไฟฟ้ ำ และวิธีกำรประหยัดน้ ำ
2. กำรสำรวจหำแหล่งพลังงำนทดแทน
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
121
• ดับเครื่ องยนต์ทุกครั้งเมื่อต้องจอดรถนำน
• สับเปลี่ยนยำง ตรวจตั้งศูนย์ลอ้ ตำมกำหนด
• ตรวจตรำลมยำงเป็ นประจำ เพรำะยำงที่อ่อนเกินไปทำให้
สิ้ นเปลืองน้ ำมัน
• ไม่เร่ งเครื่ องยนต์ตอนเกียร์วำ่ งไม่ออกรถกระชำกดังเอี๊ยด
• ไม่ควรบรรทุกน้ ำหนักเกินพิกดั
• ใช้ระบบกำรใช้รถร่ วมกัน ที่หมำยเดียวกัน ทำงผ่ำนหรื อ
ใกล้เคียงกัน ควรใช้รถคันเดียวกัน
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
122
•ใช้หลอดไฟที่มีวตั ต์ต่ำ สำหรับบริ เวณที่จำเป็ นต้องเปิ ดทิ้งไว้ท้ งั คืน
•ใช้หลอดไฟประหยัดพลังงำน ใช้หลอดผอมแทนหลอดอ้วน
•ซักผ้ำด้วยเครื่ อง ควรใส่ ผำ้ ให้เต็มกำลังของเครื่ อง
•อย่ำเปิ ดตูเ้ ย็นบ่อย อย่ำนำของร้อนเข้ำแช่ในตูเ้ ย็น
•ปิ ดโทรทัศน์ทนั ทีเมื่อไม่มีคนดู
•ปิ ดเครื่ องปรับอำกำศทุกครั้งที่จะไม่อยูใ่ นห้องเกิน 1 ชัว่ โมง
•ตั้งอุณหภูมิเครื่ องปรับอำกำศที่ 25 องศำเซลเซียส
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
123
•ใช้น้ ำอย่ำงประหยัดหมัน่ ตรวจสอบกำรรั่วไหลของน้ ำ
•ไม่ควรปล่อยให้น้ ำไหลตลอดเวลำตอนล้ำงหน้ำ แปรงฟัน
•ซักผ้ำด้วยมือ ควรกรองน้ ำใส่ กะละมังแค่พอใช้
•ใช้ SPRINKLER หรื อฝักบัวลดน้ ำต้นไม้แทนกำรฉี ดน้ ำด้วยสำยยำง
•ไม่ควรล้ำงรถบ่อยครั้งจนเกินไป
•ควรล้ำงพืชผักและผลไม้ในอ่ำงหรื อภำชนะที่มีกำรกักเก็บน้ ำไว้
เพียงพอ
•ล้ำงจำนในภำชนะที่ขงั น้ ำไว้จะประหยัดน้ ำได้มำกกว่ำ
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
124
•
•
•
•
กำรควบคุมกำรเพิ่มประชำกร
กำรฟื้ นฟูสภำพแวดล้อม
กำรป้ องกันกำจัดสำรพิษ
กำรวำงแผนกำรใช้ที่ดินและน้ ำ
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
125
•
•
•
•
•
MENU
กำรประหยัดกำรใช้ทรัพยำกรทุกชนิด
กำรพัฒนำเทคโนโลยีที่เหมำะสม
ค่ำนิยมและวัฒนะธรรมที่เหมำะสม
กำรให้กำรศึกษำแก่ประชำชน
นโยบำยของรัฐ
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
126
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
127
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
128
คาแนะนา
• ใช้เม้ำส์คลิกเลือก หน่วยกำรเรี ยนรู ้ที่ตอ้ งกำรศึกษำ
• ใช้เม้ำส์คลิกที่ ปุ่ ม
เพื่อย้อนกลับสู่ หน้ำหลักสำรบัญ
MENU
• ใช้เม้ำส์คลิกที่ ปุ่ ม
เพื่อย้อนกลับสู่ หน้ำก่อนหน้ำนี้
• ใช้เม้ำส์คลิกที่ ปุ่ ม
เพื่อไปยังหน้ำถัดไป
• ใช้เม้ำส์คลิกที่ ปุ่ ม แบบฝึ กหัด เพื่อประเมินผลหลังกำรเรี ยนรู้
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
129
แบบฝึ กหัด บทที่ 1
จงเลือกคาตอบทีถ่ ูกทีส่ ุ ดเพียงข้ อเดียว
1. Environment หมายถึงอะไร (ก)
ก. สิ่ งทีเ่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติและทีม่ นุษย์ สร้ างขึน้ ข. เป็ นความสามารถในการทางาน
ค. การสะสมตัวของซากพืชซากสั ตว์
ง. ถูกทั้ง ข้ อ ก และ ข
(ง)
2. ข้ อใดไม่ ใช่ สิ่งแวดล้ อมทีม่ นุษย์ สร้ างขึน้
ก. ถนน
ข. เรือ
ค. สะพาน
ง. แร่ ธาตุ
3. ข้ อใดจัดเป็ นสิ่ งแวดล้ อมทีเ่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติ (ค)
ก. รถ
ข. สะพาน
ค. แสงแดด
ง. กฎหมาย
4. อาชีพปฐมภูมไิ ด้ แก่
(ค)
ก. ทาเหมืองแร่ ข. บริการ ค. เพาะปลูก
ง. ค้ าขาย
5. แหล่ งพลังงานต้ นกาเนิดเรียกว่ า (ก)
ก. แหล่ งพลังงานปฐมภูมิ
ข. แหล่ งพลังงานทุติยภูมิ
ค. แหล่ างพลังงานตติยภูมิ
ง. แหล่ งพลังงานทดแทน
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
130
6. ข้ อใดไม่ ใช่ ทรัพยากรธรรมชาติ (ง)
ก. ดิน
ข. มนุษย์
ค. อากาศ
(ก)
7. ข้ อใดไม่ ใช่ ปัจจัยสี่ เพือ่ การดารงชีวติ
ก. แสงอาทิตย์
ข. ทีอ่ ยู่อาศัย
ค. อาหาร
8. ข้ อใดเป็ นแหล่ งพลังงานปฐมภูมิ (ง)
ก. แสงอาทิตย์
ข. นา้
ค. ลม
9. พลังงานกลุ่มใดที่พบในประเทศไทยมากทีส่ ุ ด (ข)
ก. นา้ มัน
ข. ก๊าซธรรมชาติ ค. ถ่ านหิน
10. ENERGY หมายถึงข้ อใด (ก)
ก. พลังงาน
ข. สิ่ งแวดล้อม ค. อาหาร
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
ง. โบราณสถาน
ง. ยารักษาโรค
ง. ทุกข้ อคือคาตอบ
ง. หินนา้ มัน
ง. แสงอาทิตย์
131
แบบฝึ กหัด บทที่ 2
จงเลือกคาตอบทีถ่ ูกทีส่ ุ ดเพียงข้ อเดียว
1. ถ่ านหินชนิดใดทีม่ คี ุณภาพตา่ ทีส่ ุ ด (ก)
ก. พีช
ข. ลิกไนต์
ค. แอนทราไซด์
ง. บิทูมมิ สั
2. ผลกระทบจากการใช้ พลังงานถ่ านหินคือ (ง)
ก. สารพิษจากการเผาไหม้
ข. เกิดนา้ เสี ย , นา้ กระด้ าง
ค. เกิดสารซัลเฟอร์
ง. ถูกทุกข้ อ
3. ข้ อใดไม่ ใช่ ธาตุทเี่ ป็ นองค์ ประกอบหลักของถ่ านหิน (ง)
ก. ออกซิเจน ข. ไฮโดรเจน
ค. คาร์ บอน
ง. เหล็ก
4. ถ่ านหินในข้ อใดให้ ความร้ อนสู งสุ ด (ค)
ก. พีช
ข. ลิกไนต์
ค. แอนทราไซต์ ง. บิทูมนิ ัส
5. ถ่ านหินในข้ อใดมีปริมาณคาร์ บอนน้ อยทีส่ ุ ด (ก)
ก. พีช
ข. ลิกไนต์
ค. แอนทราไซต์ ง. บิทูมนิ ัส
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
132
6. ราคาของถ่ านหินขึน้ อยู่กบั ธาตุในข้ อใด (ข)
ก. ออกซิเจน
ข. คาร์ บอน
ค. ไนโตรเจน ง. แอนทราไซด์
7. ถ่ านหินทีพ่ บมากทีส่ ุ ดในประเทศไทย (ค)
ก. พีช
ข. ซับบิทูมนิ ัส ค. ลิกไนต์
ง. แอนทราไซด์
8. ประเทศไทยได้ นาถ่ านหินมาใช้ ประโยชน์ เป็ นครั้งแรกในกิจกรรมใด (ข)
ก. การเดินเรือ
ข. กิจการรถไฟ ค. กิจการรถทัวร์ ง. ผลิตกระแสไฟฟ้า
9. Clean Coal Technology คือข้ อใด (ข)
ก. กระบวนบกาจัดของเสี ย
ข. เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด
ค. ขบวนการผลิต
ง. ยิปซั่มสั งเคราะห์
10. การเผาไหม้ ถ่านหินจะปล่ อยก๊ าซใดสู่ บรรยากาศ (ค)
ก. คาร์ บอนไดออกไซด์
ข. คาร์ บอนมอนอกไซด์
ค. ซัลเฟอร์ ไดออกไซด์
ง. ไนโตรเจน
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
133
แบบฝึ กหัด บทที่ 3
จงเลือกคาตอบทีถ่ ูกทีส่ ุ ดเพียงข้ อเดียว
1. Petroleum หมายถึง (ข)
ก. ตะกอนทีม่ ขี นาดเล็ก
ข. นา้ มันจากหิน ค. นา้ มันจากพืช ง. ก๊ าซจากการทดลอง
2. ปิ โตรเลียม เป็ นสารประกอบเรียกสั้ นๆ ว่ าอะไร (ข)
ก. ไฮโดรเจน
ข. ไฮโดรคาร์ บอน ค. ไฮดรอลิก
ง. ออกซิเจน
3. ออยล์ วนิ โดว์ หมายถึง (ค)
ก. นา้ มันเบา
ข. ก๊ าซแห้ ง
ค. นา้ มันดิบ
ง. ก๊ าซเปี ยก
4. ขั้นตอนการสารวจ ปิ โตรเลียม มีข้นั ตอนหลักกีข่ ้นั ตอน (ค)
ก. 1 ขั้นตอน
ข. 2 ขั้นตอน
ค. 3 ขั้นตอน
ง. 4 ขั้นตอน
5. บุคคลแรกทีข่ ุดพบนา้ มันคือ (ค)
ก. เจ้ าหลวงเชียงใหม่
ข. เอ็นวิน แอล เดรก
ค. ซามูเอล เอ็ม เกียร์
ง. กรมพระกาแพงเพชรอัครโยธิน
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
134
6. สารประกอบไฮโดรคาร์ บอนทีเ่ ป็ นของแข็งเรียกว่ าอะไร (ข)
ก. มีเทน ข. มาริช
ค. ก๊ าซเปี ยก
ง. ก๊ าซเทอร์ มอล
7. อุณหภูมทิ เี่ หมาะกับการเกิดนา้ มันดิบได้ ดที สี่ ุ ดคือข้ อใด (ค)
ก. 120 องศาฟาเรนไฮต์
ข. 150 องศาฟาเรนไฮต์
ค. 190 องศาฟาเรนไฮต์
ง. 220 องศาฟาเรนไฮต์
8. ข้ อใดไม่ ใช่ ผลกระทบที่เกิดจากการใช้ ปิโตรเลียม (ก)
ก. พืชเจริญงอกงาม
ข. มีเขม่ าควัน
ค. มีก๊าซคาร์ บอนมอนอกไซด์
ง. มีสารตะกัว่
9. สารประกอบไฮโดรคาร์ บอนหมายถึงข้ อใด (ก)
ก. ปิ โตรเลียม
ข. ก๊ าซ
ค. ของเหลว
ง. สารอนินทรีย์
10. การเผาไหม้ ปิโตรเลียมทาให้ เกิดก๊ าซชนิดใด (ง)
ก. ก๊ าซคาร์ บอนมอนอกไซด์
ข. ก๊ าซซัลเฟอร์ ไดออกไซด์
ค. ก๊ าซไนโตรเจนออกไซด์
ง. ถูกทุกข้ อ
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
135
แบบฝึ กหัด บทที่ 4
จงเลือกคาตอบทีถ่ ูกทีส่ ุ ดเพียงข้ อเดียว
1. Natural Gas for Vehicles มีสัญลักษณ์ คอื (ค)
ก. LNG
ข. LPG
ค. NGV
ง. NGL
(ก)
2. ข้ อใดไม่ ใช่ คุณสมบัติของก๊ าซธรรมชาติ
ก. เป็ นของเหลว ข. เบากว่ าอากาศ ค. ติดไฟได้
ง. ไม่ มสี ี ไม่ มกี ลิน่
3. ใช้ ผลิตเอทีลนี เป็ นสารตั้งต้ นทาเม็ดพลาสติก (ค)
ก. มีเทน
ข. บิวเทน
ค. อีเทน
ง. ถูกทุกข้ อ
4. ก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว เรียกอีกอย่ างหนึ่งว่ าอะไร (ก)
ก. ก๊ าซหุงต้ ม ข. ก๊ าซธรรมชาติ ค. ก๊ าซไฮโดรคาร์ บอน
ง. ก๊ าซไฮโดรเจน
5. ข้ อใดคือประโยชน์ ของมีเทน (ง)
ก. ใช้ เป็ นเชื้อเพลิงหรือก๊ าซหุงต้ มในครัวเรือน
ข. ผสมกับโพรเทนเป็ นก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว
ค. สารตั้งต้ นเม็ดพลาสติก
ง. ให้ ความร้ อนในโรงงานอุตสาหกรรมต่ างๆ
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
136
6. ก๊ าซ LPG หมายถึงข้ อใด (ข)
ก. ก๊ าซธรรมชาติ
ข. ก๊ าซหุงต้ ม
ค. ก๊ าซไนโตรเจน
ง. ก๊ าซไฮโดรเจน
7. ก๊ าซ NGV เป็ นก๊ าซเชื้อเพลิงสาหรับอะไร (ง)
ก. ผลิตกระแสไฟฟ้ า
ข. ผลิตนา้ มัน
ค. โรงงานอุตสาหกรรม
ง. ยานยนต์
8. ข้ อใดคือความหมายของ NGV (ค)
ก. ก๊ าซโซลีนธรรมชาติ
ข. ก๊ าซหุงต้ ม
ค. ก๊ าซมีเทน
ง. Sale Gas
9. ก๊ าซปิ โตรเลียมเหลวประกอบด้ วยไฮโดรคาร์ บอน 2 ชนิด (ข)
ก. มีเทนและบิวเทน
ข. โพนเพนและบิวเทน
ค. โพนเพนและมีเทน
ง. มีเทนและอีเทน
10. ผลดีในการใช้ ก๊าซธรรมชาติคอื ข้ อใด (ก)
ก. ไม่ เกิดมลพิษ
ข. ราคาแพง
ค. ระเบิดง่ าย
ง. ทาลายโอโซน
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
137
แบบฝึ กหัด บทที่ 5
จงเลือกคาตอบทีถ่ ูกทีส่ ุ ดเพียงข้ อเดียว
1. พลังงาน นิวเคลียร์ หมายถึง (ก)
ก. พลังงานที่ถูกปลดปล่ อยออกมาเมื่อมีการเปลีย่ นแปลงภายในอะตอม ข. เป็ นพลังงานที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา
ค. เป็ นพลังงานจากศูนย์ กลางของแม่ เหล็ก
ง. ถูกทั้ง ข้ อ ก และ ข
2. ระเบิดไฮโดรเจน จัดเป็ นพลังงานแบบใด (ข)
ก. พลังงานที่ควบคุมได้
ข. พลังงานที่ถูกปลดปล่ อยในลักษณะเฉียบพลัน
ค. พลังงานจากสารกัมมันตรังสี
ง. ครึ่งชีวติ ของธาตุ
3. การแตกตัวของนิวเคลียร์ เรียกว่ าปฏิกิริยา (ค)
ก. ฟิ วชัน
ข. รีดวิ
ค. ฟิ ชชัน
ง. รีเดชั่น
4. ทอง -195 ใช้ ในการตรวจหาอะไร (ข)
ก. การทางานของหัวใจ
ข. การไหลเวียนของเลือด
ค. มะเร็ง
ง. ตรวจทางเดินนา้ ดี
5. ข้ าวขาวมะลิ 105 กลายพันธุ์มาเป็ นข้ าวเหนียว ด้ วยวิธีการใด (ค)
ก. ใช้ เทคนิควิเคราะห์ ดนิ
ข. อาบรังสี
ค. ฉายรังสี ปรมาณู
ง. สะกดรอยด้ วยรังสี
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
138
6. ปฏิกริ ิยานิวเคลียร์ ฟิชชันเป็ นการแตกของธาตุใด (ก)
ก. ยูเรเนียม
ข. ไฮโดรเจน
ค. ไนโตรเจน
ง. ออกซิเจน
7. ปฏิกริ ิยาการรวมตัวของอะตอมเรียกว่ าอะไร (ข)
ก. ปฏิกริ ิยานิวเคลียร์ ฟิชชัน
ข. ปฏิกริ ิยานิวเคลียร์ ฟิวชัน
ค. ปฏิกริ ิยาการสลายตัวของกัมมันตรังสี ง. ปฏิกริ ิยาพลังงานปรมาณู
8. อัตราการสลายตัวด้ วยค่ าคงทีเ่ รียกว่ าอะไร (ค)
ก. พลังงานปรมาณู
ข. นิวเคลียร์
ค. ครึ่งชีวติ
ง. เตาปฏิกรณ์
9. รังสี ในข้ อใดใช้ รักษาโรคมะเร็ง (ง)
ก. ทองคา
ข. แทลเลียม
ค. ไอโอดีน
ง. โคบอลต์ -60
10. ปฏิกริ ิยานิวเคลียร์ ในข้ อใดทีส่ ามารถนามาผลิตกระแสไฟฟ้ าได้ (ก)
ก. ปฏิกริ ิยานิวเคลียร์ ฟิชชัน
ข. ปฏิกริ ิยานิวเคลียร์ ฟิวชัน
ค. ปฏิกริ ิยาการสลายตัวของกัมมันตรังสี ง. ปฏิกริ ิยาพลังงานปรมาณู
MENU
จัดทำโดย อำจำรย์ สุดถนอม กิตติสำมเสน
139