ppt. - สำนักงานปฏิรูป

Download Report

Transcript ppt. - สำนักงานปฏิรูป

ข้ อเท็จจริงและแนวทาง
ปฏิรูปพลังงานเพือ่ ความยัง่ ยืน
16 สิ งหาคม 2557
1
ที่ผา่ นมา ประชาชนสับสนคิดว่า
ประเทศไทยมีแหล่งทรัพยากร
ปิ โตรเลียมจานวนมากมายมหาศาล !
เพือ่ สร้ างมโนภาพว่ า
ราคา....น้ ามัน ก๊าซ LPG และก๊าซ NGV
5/12/2014
ในประเทศควรต้อง
ร่ างที่ 9
ต่า
เข้าไว้ ???
2
มีการสร้ างความเกลียดชัง Hate Speech
การสร้ างความเกลียดชัง Hate Speech
มีการใส่ ร้ายป้ายสี
มีการใส่ ร้ายป้ายสี
สร้ างความเกลียดชัง + บ่ อนทำลำย คสช.
5/12/2014
ร่ างที่ 9
8
ชีน้ าความเชื่อ โดยอ้ างผู้ใญ่่
5/12/2014
ร่ างที่ 9
9
ชีน้ าความเกลียดชัง โดยอ้ างผู้ใญ่่
เป็ นการสร้ างกระแส
ที่ทาให้
ประชาชนเข้ าใจ ... ผิด ...
ข้ อเท็จจริ งก็คอื ......
11
การพัฒนาผลิตก๊ าซธรรมชาติในไทยในช่ วง 35 ปี ที่ผ่านมาประสบความสาเร็จอย่ าง
มาก จนในปัจจุบันก๊ าซธรรมชาติเป็ นแหล่ งพลังงานที่สาคัญที่สุดของไทย
(46% ของการใช้ พลังงานเชิงพาณิชย์ )
ทีม่ า: สนพ
ประเทศไทยเป็ นประเทศทีน่ าเข้ าสุ ทธิด้านพลังงาน
แม้ ว่าประเทศไทยได้ พฒ
ั นากิจการสารวจและผลิตปิ โตรเลียมมาตลอด 40 ปี
5/12/2014
ร่ างที่ 9
13
ประเทศไทยเป็ นผู้นำเข้ ำพลังงำนรำยใหญ่ ของอำเซียน
มูลค่ ำนำเข้ ำสุ ทธิกว่ ำ 1 ล้ ำนล้ ำนบำทต่ อปี
 ส่งออกน้ ามันดิบที่มีคุณภาพไม่เหมาะสมกับโรง
กลัน่ และความต้องการใช้ในประเทศ
 ส่งออกน้ ามันสาเร็ จรู ปจากกาลังการกลัน่ ส่วนเกิน
เป็ นการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจจากน้ ามันดิบ
5/12/2014
ร่ างที่ 9
14
การบิดเบือนข้ อมูลญรือจงใจใญ้ เข้ าใจผิด
ประเทศไทยมีนา้ มันมากกว่ าบรู ไน จริงญรือ!?!
ปริมาณการผลิตน้ามัน*
ปริมาณสารองน้ามัน
(*รวมน้ำมันดิบ คอนเดนเสท LPG และ NGL)
465,000
บาร์เรล/วัน
141,000
บาร์เรล/วัน
400 ล้านบาร์เรล
1,100 ล้านบาร์เรล
จานวนประชากร**
**มีผลตอปริ
มำณควำมตองกำรใช
่
้
้พลังงำนในประเทศ
นาเข้ า
*รวมน้ำมันดิบ คอนเดนเสท LPG และ NGL
5/12/2014
Sources: BP Statistical Review 2013 an EIA 2013
ร่ างที่ 9
16
ประเทศไทยมีปิโตรเลียมน้ อย เร่ งผลิตมาก และใช้ มากกว่ า
ทาใญ้ ต้องนาเข้ า
5/12/2014
ร่ างที่ 9
17
17
ประเทศไทยมีปิโตรเลียมน้ อย เร่ งผลิตมาก และใช้ มากกว่ า
ทาใญ้ ต้องนาเข้ า
18
ประเทศไทยมีญลุมนา้ มันจานวนมาก
แสดงว่ ามีนา้ มันมญาศาล จริงญรือ!?!
ข้ อเท็จจริง!
 แหล่งในประเทศไทยเป็ นกระเปาะเล็กๆกระจายตัว ดังนั้นจึงต้ องขุดเจาะหลุมเป็ นจานวนมากเพือ่ ตามเก็บก๊าซให้ ได้ มากทีส่ ุ ด
 แหล่งประเทศเพือ่ นบ้ านเป็ นแหล่งขนาดใหญ่ ใช้ หลุมจานวนน้ อยก็สามารถผลิตก๊าซได้ ทวั่ ถึง
5/12/2014
ร่ างที่ 9
19
ถ้ าไม่ ลงทุนเพิม่
เราจะมีก๊าซใช้
ในอัตรานี้ อีกแค่ 7 ปี
ในอนาคตจะต้ องนาเข้ า
ก๊าซธรรมชาติที่ราคาแพง (LNG)
มากขึน้ เรื่อยๆ
ทาให้ จะมีความ
เสี่ ยงในการจัดหา
ก๊าซธรรมชาติใน
อนาคต
5/12/2014
ปริมาณสารอง
ก๊าซธรรมชาติ
ในประเทศ...มีจากัด
และลดลงต่ อเนื่อง
ร่ างที่ 9
20
5/12/2014
ร่ างที่ 9
21
อนาคตจะต้ อง
นาเข้ า
ก๊ าซธรรมชาติที่
ราคาแพง (LNG)
มากขึน้ เรื่อยๆ
ปัจจุบัน
แพงกว่ าอ่ าวไทย
2 เท่ า
5/12/2014
ค่ าไฟฟ้าบ้ านอยู่อาศัยเฉลีย่ 25 ปี
(levelized)
คาดว่ าค่ าไฟฟ้า
อาจจะเพิม่ ขึน้ ถึง
30%
ใน 10 ปี ข้ างหน้ า
ปฏิรูปผิดทาง
จะยิง่ สู ง
กว่ านีม้ าก
22
การบิดเบือนข้ อมูลญรือจงใจใญ้ เข้ าใจผิด
ความสาเร็จของการพัฒนาปิ โตรเลียมเป็ นผลจากการออกพรบ.ปิ โตรเลียม 2514
ปั จจุบันมีผ้ ูรับสัมปทาน 22 แปลง
Thailand I
(บังคับใช้ ตามพ.ร.บ. ปิ โตรเลียม พ.ศ. 2514
ก่ อนการแก้ ไขเพิ่มเติมโดย
พ.ร.บ. ปิ โตรเลียมฉบับที่ 4 พ.ศ. 2532)
ปั จจุบันมี 2
ระบบ
ปั จจุบันมีผ้ ูรับสัมปทาน 54 แปลง
Thailand III
(บังคับใช้ ภายใต้
พ.ร.บ. ปิ โตรเลียมฉบับที่ 4 พ.ศ. 2532)
(1) ค่ าภาคญลวงอัตราคงที่ ร้ อยละ 12.5
(1) ค่ าภาคญลวงแบบขัน้ บันได (ร้ อยละ 5-15)
(2) ภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม จ่ ายเมื่อมีผลกาไรจาก
การประกอบกิจการปิ โตรเลียม ร้ อยละ 50
(2) ภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม จ่ ายเมื่อมีผลกาไรจาก
การประกอบกิจการปิ โตรเลียม ร้ อยละ 50
(3) ผลประโยชน์ ตอบแทนพิเศษรายปี แบบ
ขัน้ บันได ร้ อยละ 0-75 ขึน้ กับสัดส่ วนรายได้
กับความพยายามในการสารวจและลงทุน
เพิ่มเติมของผู้รับสัมปทานในปี นัน้
ผู้รับสัมปทานมาเดิมก่ อนปี 2532 ไม่ อยู่ภายใต้ ระบบ Thailand III เนื่องจากสิทธิขนั ้ มูลฐานในสัมปทานที่ใญ้ ไว้ แก่ ผ้ ูรับ
24
สัมปทาน และกฎญมาย Thailand III ไม่ มีผลบังคับใช้ ย้อนญลัง
ประเทศพัฒนาแล้ วทีม่ ีระดับธรรมาภิบาลสู งล้ วนใช้ ระบบสั มปทาน
25
รายได้ ของรัฐจากการพัฒนาปิ โตรเลียมขึน้ อยู่กบั ความอุดมสมบูรณ์ ของ
ทรัพยากรใต้ ดินเป็ นหลัก
26
รำยไดรั
้ ฐจำกกำรสำรวจและผลิตปิ โตรเลียม
รายได้รัฐรายปี (รวม MTJDA)
2550
2551
2552
2553
2554
2555
2556
ค่าภาคหลวงปิ โตรเลียม
35,116
49,092
36,533
43,555
49,700
60,234
65,198
้ ที่ JDA
รายได้จาก MTJA สาหร ับพืน
2,407
5,650
8,044
11,258
14,134
15,822
19,077
เงินผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ*
7,198
4,744
6,925
1,780
3,391
4,077
3,244
ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม*
65,541
74,252
87,220
67,681
81,240
81,778
116,000
รวม
110,262
133,738
138,722
124,275
148,465
161,911
203,519
* ปี ที่ได้รับชาระ
หน่วย: ล้านบาท (ปี ปฏิทิน)
จัดสรรให้ทอ้ งถิ่น 30,860 ล้านบาท
ั ปทาน
รายได ้รัฐจากแปลงสม
ิ้ ปี 2555 (ล ้านล ้านบาท)
ณ สน
มูลค่าปิ โตรเลียมรวม 3.937 (100%)
เงินลงทุนรวม
1.627 (41%)
กาไรหลังหักค่าใชจ่้ าย 2.310 (59%)(100%)
ั สวนการแบ่งกาไร หลังหักค่าใชจ่้ าย
สด
รายได ้รัฐ
1.330 (58%)
รายได ้เอกชนผู ้ประกอบการ 0.980 (42%)
รายได้ รัฐสะสม จากการผลิตปิ โตรเลียมในประเทศ รวมคิดเป็ น 58 %ของกาไรสุ ทธิของผู้ลงทุน
27
การบิดเบือนข้ อมูลญรือจงใจใญ้ เข้ าใจผิด
การบิดเบือนข้ อมูลญรือจงใจใญ้ เข้ าใจผิด
การบิดเบือนข้ อมูลญรือจงใจใญ้ เข้ าใจผิด
นา้ มันแพงเพราะภาษีและเงินกองทุนนา้ มัน
เบนซนิ
แก๊สโซฮอล 95 (E10)
แก๊สโซฮอล 91
แก๊สโซฮอล 95 (E20)
แก๊สโซฮอล 95 (E85)
ดีเซลหมุนเร็ว
โครงสร้างราคาขายปลีกไทย 7 กุมภาพันธ์ 2557 (บาท/ลิตร)
ราคา ณ ภาษี ภาษี กองทุน กองทุน ค่าการตลาด
โรงกลัน่ สรรพสามิต เทศบาล น้ามัน อนุรกั ษ์ฯ
24.8160 7.0000 0.7000 10.0000 0.2500 2.1405
25.2018 6.3000 0.6300 3.3000 0.2500 2.1967
24.9732 6.3000 0.6300 1.2000 0.2500 2.2356
25.4964 5.6000 0.5600 -1.3000 0.2500 2.6459
26.5109 1.0500 0.1050 -11.6000 0.2500 6.4691
26.7118 0.0050 0.0005 -0.5000 0.2500 1.5607
VAT
3.1435
2.6515
2.4912
2.3277
1.5950
1.9620
ราคา
ขายปลีก
48.05
40.53
38.08
35.58
24.38
29.99
ภาษี+
กองทุน
21.0935
13.1315
10.8712
7.4377
-8.6000
1.7175
• รัฐมีรายได้ จากภาษีทุกชนิด+กองทุนอนุรักษ์ พลังงาน 130,000 ล้ านบาทต่ อปี
• กองทุนนา้ มันชดเชยนา้ มันเดือนละ 3,500 ล้ านบาท
• ณ วันที่ 2 กพ 2557 กองทุนนา้ มันมีเงินสุ ทธิ -3,436 ล้ านบาท
ทีม่ า: สนพ
โครงสร้ างราคาเชื้อเพลิงมีความบิดเบือนสู งมากจากนโยบายของรัฐ
5/12/2014
ร่ างที่ 9
32
รัฐบาลมาเลเซียใช้ งบประมาณแผ่ นดิน
มาอุดหนุนราคาขายปลีกนา้ มัน
รวมกว่ า 500, 000 – 600,000 ล้านบาท/ปี
เปรียบเทียบราคาขายปลีกนา้ มันเบนซินในประเทศต่ างๆ
ที่มา: MyTravelCost.com
เปรียบเทียบราคาขายปลีกนา้ มันดีเซลในประเทศต่ างๆ
ที่มา: MyTravelCost.com
ราคาขายปลีกในประเทศที่เพิม่ ขึน้ มากในช่ วง 12 ปี ทีผ่ ่านมาเป็ นผลจากการเพิม่ ขึน้ ของ
ราคานา้ มันในตลาดโลกและภาษี+กองทุน
เปรียบเทียบโครงสร ้างราคาน้ามัน 1 กพ 2545 กับ 7 กพ 2557
1 กพ 2545
7 กพ 2557
ความแตกต่าง
7/2/57 กับ 1/2/45
เบนซนิ 95 ดีเซล เบนซนิ 95 ดีเซล เบนซนิ 95 ดีเซล
อัตราแลกเปลีย่ น (บาท/$)
44.068
44.068
32.808
32.808 -11.260 -11.260
ราคาน้ามันตลาดจรสงิ คโปร์
22.8
6.3192
21.2
5.8757
115.92
23.9189
121.65
25.1012
93.12
17.5997
100.45
19.2255
ราคาในไทย (บาท/ลิตร)
ราคา ณ โรงกลัน่
ภาษีสรรพสามิต
ภาษีเทศบาล
กองทุนน้ามัน
กองทุนอนุรกั ษ์
ค่าการตลาด
VAT
ราคาขายปลีก
6.3722
3.6850
0.3685
0.5000
0.0400
1.8287
0.8956
13.69
6.2024
2.3050
0.2305
0.5000
0.0400
1.6473
0.7648
11.69
24.8160
7.0000
0.7000
10.0000
0.2500
2.1405
3.1435
48.05
26.7118
0.0050
0.0005
-0.5000
0.2500
1.5607
1.9620
29.99
18.4438
3.3150
0.3315
9.5000
0.2100
0.3118
2.2479
34.36
20.5094
-2.3000
-0.2300
-1.0000
0.2100
-0.0866
1.1972
18.30
ภาษี+กองทุน
5.4891
3.8403
21.0935
1.7175
15.6044
-2.1228
(US$/บาร์เรล)
(บาท/ลิตร)
ทีม่ า: สนพ
โครงสร้ างราคาที่บิดเบือน
ทาให้ การใช้ LPG และ CNG ในยานพาหนะเพิม่ ขึน้ มาก
5/12/2014
ร่ างที่ 9
37
ื้ เพลิง
ใชเ้ ป็นเชอ
5/12/2014
ร่ างที่ 9
ใชเ้ ป็นว ัตถุดบ
ิ
38
ื้ เพลิง
ใชเ้ ป็นเชอ
5/12/2014
ใชเ้ ป็นว ัตถุดบ
ิ
ร่ างที่ 9
39
5/12/2014
ร่ างที่ 9
40
การยกเลิกกองทุนนา้ มันจะทาให้ ประชาชนจ่ ายค่ าเชื้อเพลิงเพิม่ ขึน้ เดือนละ
560 ล้ านบาท และอุตสาหกรรมเอทานอลและเกษตรกรได้ รับผลกระทบอย่ างรุ นแรง
(ยกเว้ นรัฐใช้ ภาษีสรรพสามิตและกองทุนอนุรักษ์ พลังงานบรรเทาผลกระทบ)
ร่ างที่ 9
41
กระแสบิดเบือนทาใญ้ ญลงประเด็น อาจละเลย
ปั ่ญาใญ่่ และปั ่ญาระยะยาว
- แญล่ งปิ โตรเลียมในประเทศจะมีน้อยลงและการ
นาเข้ าจะสูงขึน้ มาก จึงจาเป็ นต้ องพัฒนาพลังงาน
ญมุนเวียนและส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน
- เปิ ดโอกาสใญ้ นักการเมืองเข้ ามากอบโกย
ผลประโยชน์ ในกิจการพลังงานของรัฐได้ ง่ายขึน้
บวก กับ ปัญหาอืน่ ๆที่ หมักหมม มานาน
ราคาพลังงานบาง
ประเภทไม่ สะท้ อน
ต้ นทุนจริงทาให้ มกี ารใช้
อย่ างไม่ มีประสิทธิภาพ
....... และทาให้ ปชช.
เสพติด
นโยบายประชานิยม!!!
ขาดการกระจาย
แหล่งเชื้อเพลิงใน
การผลิตไฟฟ้า
อุปสรรคต่ อการ
สนับสนุน
พลังงาน
หมุนเวียนและการ
อนุรักษ์ พลังงาน
ผลประโยชน์ ทบั
ซ้ อนระหว่ างผู้
กาหนดนโยบาย ผู้
กากับดูแล และผู้ดูแล
ผลประโยชน์ ของรัฐ
ในฐานะผู้ถือหุ้น
การก่อสร้ าง
โครงข่ าย
พืน้ ฐานด้ าน
พลังงานถูก
ต่ อต้ าน
การแข่ งขันใน
ธุรกิจพลังงาน
บางส่ วนน้ อย
เกินไป
การเมือง
ครอบงา
ความไม่
ไว้ วางใจใน
ภาครัฐและ
ข้ อมูลของ
ภาครัฐ
องค์ กรกากับดูแลไม่
มีความเข้ มแข็ง
เพียงพอในการ
คุ้มครองผู้บริโภค
ความ
ซ้าซ้ อนของ
กฏหมาย
พืน้ ทีท่ บั ซ้ อน
ไทย-กัมพูชา ไม่
สามารถ
ดาเนินการ
เจรจาต่ อได้
พืน้ ทีใ่ นภาคเหนือ
บางส่ วนถูกสงวน
ไว้ อยู่ภายใต้ การ
จัดการของ
กระทรวงกลาโหม
43
3 แนวทาง + 6 ข้ อเสนอ
ปฏิรูปพลังงานอย่ างยัง่ ยืน
ปฏิรูป
ปตท.
1. เพิม่ การแข่ งขันในธุรกิจพลังงาน
2. ลดการแทรกแซงโดยมิชอบทางการเมือง
ขจัด
อุปสรรค
ลดความ
ซ้าซ้ อน
5/12/2014
3. เปิ ดกว้ างกระบวนการในการกาหนดนโยบาย การขออนุญาต
4. เร่ งรัดสารวจ พัฒนาและจัดหาแหล่ งพลังงานเชื้อเพลิงหลัก
5. ส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงานและพลังงานหมุนเวียน
ราคา
เป็ นธรรม
และสะท้ อน
ต้ นทุนจริง
ร่ างที่ 9
6. ปรับโครงสร้ างราคาพลังงาน
44
พรบ.การแข่ งขันทางการค้ า
คุม ปตท.- รัฐวิสาหกิจ
แยกท่ อก๊าซออกจาก ปตท.
เปิ ดให้ บุคคลทีส่ าม (TPA)
ปตท.ลดการถือหุ้น
ในโรงกลัน่
เพิม่ การแข่ งขัน
ยกเครื่อง Regulator/กกพ.
คณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน
กฟน. + กฟภ. + กฟผ.
=> สั งกัดเดียวกัน (พน)
เพือ่ ให้ มีประสิ ทธิภาพ
แยก กากับดูแล
กาหนดนโยบาย
ดูแลผลประโยชน์ ของรัฐ
Board และ CEO
โปร่ งใส + มาตรฐานสากล
สรรหา/ตอบแทน
(2) ลดการแทรกแซง
ป้ องกันผลประโยชน์ ขัดกัน
- ข้าราชการ - ไม่ซ้อนอานาจ, ตอบ
แทนเหมาะสม
แสวงประโยชน์
โดยมิชอบ
แยกท่ อ ปตท.แล้ว ลดการถือหุ้นรัฐ < 50%
=>พ้นสภาพรัฐวิสาหกิจ =>ลดการแทรกแซง
3 แนวทาง + 6 ข้ อเสนอ
ปฏิรูปพลังงานอย่ างยัง่ ยืน
ปฏิรูป
ปตท.
1. เพิม่ การแข่ งขันในธุรกิจพลังงาน
2. ลดการแทรกแซงโดยมิชอบทางการเมือง
ขจัด
อุปสรรค ลด
ความ
ซ้าซ้ อน
5/12/2014
3. เปิ ดกว้ างกระบวนการในการกาหนดนโยบาย การขออนุญาต
4. เร่ งรัดสารวจ พัฒนาและจัดหาแหล่ งพลังงานเชื้อเพลิงหลัก
5. ส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงานและพลังงานหมุนเวียน
ราคา
เป็ นธรรม
และสะท้ อน
ต้ นทุนจริง
ร่ างที่ 9
6. ปรับโครงสร้ างราคาพลังงาน
47
เพิม่ การมีส่วนร่ วมเสนอนโยบาย
+ มิตพิ ลังงานในด้ านอืน่ ๆ
ตั้ง สนง.สารสนเทศ
พลังงาน แหล่งข้ อมูลถูกต้อง
เป็ นทีย่ อมรับ
(3) กระบวนการ
กาหนดนโยบาย
ขออนุญาต
การขออนุญาต: แก้ไขกฏระเบียบ แก้ความล่าช้ า
=> ปิ ดทางหาผลประโยชน์
กม.ซ้าซ้ อน มาตรฐานประสิ ทธิภาพ
เข้ าเป็ นสมาชิก EITI
โครงการเพือ่ ความโปร่ งใส
ในการสกัดทรัพยากร
พืน้ ทีส่ งวนภาคเหนือ (กลาโหม)
=> พรบ.ปิ โตรเลียม
ลงทุนธุรกิจพลังงานใน ตปท.
เพิม่ ความมั่นคง อย่ างโปร่ งใส
ตั้ง คกก. : ผู้แทนจากทุกฝ่ าย พิจารณา
ปรับปรุ งระบบการสารวจ/ผลิตปิ โตรเลียม
ให้ ได้ ข้อยุติใน 3 เดือน
=>เดินหน้ าเปิ ดประมูลรอบใหม่ โดยเร็ว
(4) เร่ งรัดสารวจ พัฒนา
แหล่งเชื้อเพลิงหลัก
พืน้ ที่ทับซ้ อนไทย-กัมพูชา(อ่าวไทย)
วางแนวทางเจราจาร่ วมกัน :
กต.+พน+กมธ.ร่ วมของรัฐสภา
แหล่ งผลิตทีห่ มดสั ญญา พิจารณา
แนวทางพัฒนา =>ข้ อยุติอย่ างน้ อย 5
ปี ก่ อนสิ้นสั มปทาน
การอนุญาตSPP/VSPP พลังงาน
หมุนเวียน =>กระบวนการเปิ ด
กว้ าง โปร่ งใส ไม่ เลือกปฏิบัติ ไม่ มี
โควต้ า
เปลีย่ นขยะ
เป็ นพลังงาน
แก้ปัญหา
อิทธิพล
ส่ งเสริมพลังงานหมุนเวียนในระดับที่
เหมาะสม => ระยะยาวไม่ อุดหนุน
(5) อนุรักษ์ พลังงาน
+พลังงานหมุนเวียน
อุตสาหกรรมยานยนต์
แผนระยะสั้ น+ยาว +จัดหาพลังงาน
ปฏิรูประบบขนส่ งมวลชน
ระบบราง ระบบผังเมือง
ส่ งเสริมโครงการขนาดเล็ก
ในท้ องทีห่ ่ างไกล
+ โครงการพลังงานชุ มชน
เร่ งมาตรฐาน
ประสิ ทธิภาพการใช้
พลังงานขั้นต่าของ
เครื่องจักร อุปกรณ์ และ
อาคาร
3 แนวทาง + 6 ข้ อเสนอ
ปฏิรูปพลังงานอย่ างยัง่ ยืน
ปฏิรูป
ปตท.
1. เพิม่ การแข่ งขันในธุรกิจพลังงาน
2. ลดการแทรกแซงโดยมิชอบทางการเมือง
ขจัด
อุปสรรค ลด
ความ
ซ้าซ้ อน
5/12/2014
3. เปิ ดกว้ างกระบวนการในการกาหนดนโยบาย การขออนุญาต
4. เร่ งรัดสารวจ พัฒนาและจัดหาแหล่ งพลังงานเชื้อเพลิงหลัก
5. ส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงานและพลังงานหมุนเวียน
ราคา
เป็ นธรรม และ
สะท้ อนต้ นทุน
จริง
ร่ างที่ 9
6. ปรับโครงสร้ างราคาพลังงาน
51
นา้ มันเป็ น
สิ นค้ าโภคภัณฑ์
มีราคาตลาด
โรงกลัน่ สิ งคโปร์ ต้ ุนทุน
ต่าสุ ด ช่ วยผลักดัน
ประสิ ทธิภาพการผลิตใน
ไทย
เหมือนทอง
วาทกรรม
ต้ นทุนเทียม
ราคานา้ มันถูกๆอย่ าง
มาเลเซีย ต้ องแลกด้ วย
งบประมาณหรือภาษีที่
จากัดของประเทศ
โครงสร้ าง
ราคานา้ มัน
ปรับปรุ งโครงสร้ าง
การแข่ งขันให้ เข้ มข้ น
ขึน้ เพือ่ ให้ มั่นใจว่ า
ผู้บริโภคได้ ราคาทีเ่ ป็ น
ธรรม
ประเทศไทยเป็ นระบบ
กึง่ กลไกตลาด – มีการ
อุดหนุนบางอย่ าง
5/12/2014
ร่ างที่ 9
53
ผู้อุดหนุน
ประชานิยมด้ านพลังงาน
ผู้ใช้ นา้ มัน
กลุ่มเบนซิน
แก๊สโซฮอล
รัฐ
330,000 ล้านบาท
ลดอัตรา-รายได้จาก
ภาษีสรรพสามิต
ผูใ้ ช้ก๊าซหุ งต้ม
ผู้รับการอุดหนุน
5/12/2014
ผูใ้ ช้ก๊าซ
NGV
ผูใ้ ช้น้ ามัน
ดีเซล
วงจรอบุ าทว์ ใช้ ผดิ ประเภท โกงเงินอุดหนุน ลักลอบขายทากาไรในประเทศเพือ่ นบ้าน
่9
ต้ องนาเข้ าเพิม่ ในราคาแพง ต้ร่าองทีงก็
บเงินมาอุดหนุนมากขึน้ ไปอีก
54
5/12/2014
ร่ างที่ 9
55
การอุดหนุนราคาพลังงาน
แบบทุกลิตรทุกคน – หน้ ากระดาน – ครอบจักรวาล - Universal
• ใครใช้ มาก ก็ได้ รับเงินอุดหนุนมาก
• คนมีรายได้ สูงใช้ นา้ มันมากกว่ าคนจนมากมายหลายเท่ า
จากการอุดหนุน LPG และดีเซล คนจนกลุ่มทีร่ ายได้ น้อยทีส่ ุ ด
20% ได้ ประโยชน์ จากเม็ดเงินเหล่ านีเ้ พียง 5-6%
• ราคาตามตลาด => คนจะปรับการใช้ => ประหยัด
มีประสิ ทธิภาพ => ลดนาเข้ า => ยืดเวลาการใช้ ทรัพยากรให้
ลูกหลาน => ลดมลภาวะ ลดโลกร้ อน => เศรษฐกิจพอเพียง
ราคาสะท้ อนกลไกตลาด
=> สร้ างความเป็ นธรรม 2 ต่ อ
1. ลดความเหลือ่ มลา้ ญากเลิกอุดญนุนแบบ “ทุกลิตรทุกคน”
เพราะภาษีญรือเงินกองทุนที่เก็บจากประชาชนทั่วไป ถูกจัดสรร
ใญ้ คนรวยมากกว่ าช่ วยคนจน
2. นาเงินทีป
่ ระหยัดได้ มาใช้ กับคนจน
1. เงินอุดญนุนโดยตรง ใญ้ เฉพาะกลุ่มคนจน
2. จัดสวัสดิการ+สร้ างโอกาสเพิ่มเติม ใญ้ ผ้ ูมีรายได้ น้อย
3. ลงทุนในโครงสร้ างพืน้ ฐาน = ใญ้ ทุกคน
โดยเฉพาะระบบรางและขนส่ งมวลชน => เศรษฐกิจเข้ มแข็ง
=>ประชาชนสะดวกสบาย ปลอดภัย สุขอนามัยดีขนึ ้
3 แนวทาง + 6 ข้ อเสนอ
ปฏิรูปพลังงานอย่ างยัง่ ยืน
ปฏิรูป
ปตท.
1. เพิม่ การแข่ งขันในธุรกิจพลังงาน
2. ลดการแทรกแซงโดยมิชอบทางการเมือง
ขจัด
อุปสรรค
ลดความ
ซ้าซ้ อน
5/12/2014
3. เปิ ดกว้ างกระบวนการในการกาหนดนโยบาย การขออนุญาต
4. เร่ งรัดสารวจ พัฒนาและจัดหาแหล่ งพลังงานเชื้อเพลิงหลัก
5. ส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงานและพลังงานหมุนเวียน
ราคา
เป็ นธรรม
และสะท้ อน
ต้ นทุนจริง ร่างที่ 9
6. ปรับโครงสร้ างราคาพลังงาน
58
กระบวนการสู่ ภาคปฏิบัติ
การปฏิรูปพลังงานต้ องอย่บู นพืน้ ฐานของ ข้ อมูลจริ ง
หากข้ อมลู พืน้ ฐานไม่ ถูกต้ องหรือบิดเบือน ข้ อเสนอการปฏิรูปพลังงานก็จะไม่
เหมาะสมและสร้ างความเสียหายต่ อประเทศ ในระยะยาว
เป็ นข้ อเสนอเพือ่ ให้ นาไปพิจารณา
สิ่งที่รัฐบาลจะต้ องทา ก่ อนการนาข้ อเสนอนี้ไปปฏิบัติ คือ
เปิ ดรั บฟังความเห็น
จากทุกภาคส่ วน ที่เกีย่ วข้ อง
5/12/2014
ร่ างที่ 9
59
www.energyreform.in.th
ขอบคณ
ุ สำหรับกำรเปิ ดใจรับฟั ง
60
...จบ...
BACK UP !
5/12/2014
ร่ างที่ 9
61
แหล่ งก๊ าซธรรมชาติในไทยส่ วนใหญ่ เป็ นก๊ าซ “เปี ยก”
จึงมีคอนเดนเสทออกมาด้ วย
ทีม่ า: สนพ
การขุดเจาะสารวจปิ โตรเลียมทาให้ มีการค้ นพบนา้ มันดิบจากหลายแหล่ง
ทั้งบนบกและในทะเล
ทีม่ า: สนพ
แม้ ว่าการผลิตพลังงานเพิม่ ขึน้ มาก แต่ การใช้ พลังงานก็เพิม่ ขึน้ มาก
ทาให้ ยงั ต้ องนาเข้ าพลังงานในระดับสู ง
้ ลังงานเชงิ พาณิชย์ปี 2556
การผลิต การใชพ
บาร์เรล/วัน นา้ มันดิบ การผลิต
การใช ้
นา้ มันและคอนเดนเสท
232,845
928,187
ก๊าซธรรมชาติ
729,470
911,712
ถ่านหินและลิกไนท์
93,900
310,624
พลังนา้
24,025
45,540
รวม
1,080,240 2,196,063
หมายเหตุ: การใชร้ วม non-energy use
ทีม่ า: สนพ
64
มีการใส่ ร้ายป้ายสี
มีการใส่ ร้ายป้ายสี
การสร้ างความแตกแยก
การสร้ างความเกลียดชังแตกแยก
การบิดเบือนข้ อมูลญรื อจงใจใญ้ เข้ าใจผิด
กระทรวงพลังงานบอกไทยผลิตนา้ มันได้ วนั ละ 250,000 บาร์ เรล
แต่ “ภาคประชาชน” บอกไทยผลิตได้ 400,000 บาร์ เรล
ความจริง: นิยามการผลิตนา้ มันของกระทรวงพลังงานไทยกับ US EIA แตกต่ างกัน
โดยข้ อมูล US EIA รวมของเญลวจากการผลิตก๊ าซธรรมชาติ
ทีม่ า: US EIA
มีการสร้ างกระแสความเชื่อว่ า ถ้ าเปลีย่ นระบบการบริหารทรัพยากรเป็ นระบบ
แบ่ งปันผลผลิต (PSC) แล้วจะทาให้ รายได้ รัฐสู งขึน้ มากและราคานา้ มันจะลดลง และ
ประเทศไทยเป็ นประเทศเดียวในอาเซียนทีใ่ ช้ ระบบสั มปทาน
5/12/2014
ร่ างที่ 9
74
5/12/2014
ร่ างที่ 9
75
5/12/2014
ร่ างที่ 9
76
3 แนวทาง + 6 ข้ อเสนอ
ปฏิรูปพลังงานอย่ างยัง่ ยืน
ปฏิรูป
ปตท.
1. เพิม่ การแข่ งขันในธุรกิจพลังงาน
2. ลดการแทรกแซงโดยมิชอบทางการเมือง
ขจัด
อุปสรรค
ลดความ
ซ้าซ้ อน
5/12/2014
3. เปิ ดกว้ างกระบวนการในการกาหนดนโยบาย
4. เร่ งรัดสารวจ พัฒนาและจัดหาแหล่ งพลังงานเชื้อเพลิงหลัก
5. ส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงานและพลังงานหมุนเวียน
ราคา
เป็ นธรรม
และสะท้ อน
ต้ นทุนจริง
ร่ างที่ 9
6. ปรับโครงสร้ างราคาพลังงาน
77
(1) การปรับโครงสร้ างราคาพลังงาน
ให้ สะท้ อนต้ นทุนทีแ่ ท้ จริ ง เพือ่ ให้ การใช้ มีประสิทธิภาพ และเกิดความเป็ นธรรม
1.1 ปรับโครงสร้ างราคา ภาษีและเงินกองทุนฯเพือ่ ให้ ราคาพลังงานสะท้ อนต้ นทุนทีแ่ ท้ จริง
• ปรับเพิ่มราคาขายปลีกน้ ามันดีเซล และลดราคาน้ ามันเบนซินและแก๊สโซฮอลให้ใกล้เคียงกันมากขึ้น
• ปรับราคา LPG ที่ใช้ในภาคขนส่งและก๊าซ NGV ให้สะท้อนต้นทุนจริ ง เก็บภาษีสรรพสามิต และราคาเปลี่ยนแปลง
ขึ้นลงได้ รวมทั้งขจัดการอุดหนุน LPG ระหว่างกลุ่มผูใ้ ช้
• ปรับราคา LPG หน้าโรงแยกให้เป็ นธรรมต่อทั้งผูผ้ ลิตและผูใ้ ช้ และทบทวนราคา LPG สาหรับภาคปิ โตรเคมี
1.2 สวัสดิการสั งคมเป็ นสิ่ งทีด่ ี แต่ ควรหลีกเลีย่ งการใช้ ราคาพลังงานเป็ นเครื่องมือ
•
•
หากจาเป็ น ต้องอุดหนุนเฉพาะบางกลุ่ม โดยไม่ให้กระทบต่อกลไกตลาด และให้ ใช้ งบประมาณแผ่นดิน
กาหนดกรอบการใช้งบประมาณที่ชดั เจน เพื่อความโปร่ งใส เป็ นธรรม และรักษาวินยั ทางการคลัง
หรื อให้เป็ นส่วนหนึ่งของกฎหมาย Pro Poor Law
1.3 ใช้ กองทุนนา้ มัน เฉพาะในการรักษาเสถียรภาพราคาในช่วงสั้นเท่าที่จาเป็ นจริ งๆ และ
เพื่อส่ งเสริ มน้ ามันสะอาดและพลังงานหมุนเวียน เท่ านั้น
5/12/2014
ร่ างที่ 9
78
(2) เพิม่ การแข่ งขันในธุรกิจพลังงาน
ปรับโครงสร้ าง + กากับดูแลอย่ างเข้ มงวด เพือ่ มิให้ มีการเอาเปรี ยบผ้ บู ริ โภค
โดยให้ ราคาพลังงานสะท้ อนอปุ ทานและอปุ สงค์ ของตลาดทีม่ ีการแข่ งขันอย่ างแท้ จริ ง
2.1 ให้กิจการที่มีการแข่งขันของรัฐวิสาหกิจเข้ามาอยูใ่ นบังคับของ พรบ.การแข่ งขันทางการค้ า
2.2 ให้ บมจ.ปตท.ขายหุ้นทั้งหมดในโรงกลัน่ บางจาก และ SPRC
2.3 แยกกิจการท่ อส่ งก๊าซธรรมชาติออกจาก บมจ.ปตท. และเปิ ดให้มีการให้บริ การใช้ท่อก๊าซ
ธรรมชาติแก่บุคคลที่สาม (Third Party Access)
2.4 ปรับปรุ งบทบาทคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน (กกพ.) ให้มีความเข้มแข็ง ในการ
คุม้ ครองผูบ้ ริ โภค และปรับปรุ งระบบการคัดเลือกและแต่งตั้งกรรมการ กกพ.
2.5 โอน กฟน. และ กฟภ. มาอยูใ่ นสังกัดของกระทรวงพลังงาน เพื่อให้มีประสิ ทธิภาพในการ
บริ หารจัดการกิจการไฟฟ้ าและลงทุนโครงสร้างพื้นฐานพลังงาน เช่น สายส่ ง & Smart Grid
5/12/2014
ร่ างที่ 9
79
(3) ลดการแทรกแซงโดยมิชอบ การแสวงหาประโยชน์ ในกิจการพลังงานที่
รัฐถือหุ้น ป้องกันผลประโยชน์ ทบั ซ้ อนของเจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐ
ดึงบทบาทรั ฐในฐานะผ้ ถู อื ห้ ุน ออกจากการครอบงาและแทรกแซงภายนอก
ลดช่ องทางแสวงหาผลประโยชน์ + เพิม่ ความโปร่ งใสและธรรมาภิบาล
3.1 แยกการกากับดูแล การกาหนดนโยบาย และการดูแลผลประโยชน์ ของรัฐ ออกจากกัน
3.2 เพิม่ ความโปร่ งใสในการสรรหา Board และ CEO ให้เป็ นไปตามมาตรฐานสากล
ผูบ้ ริ หารรัฐวิสาหกิจที่เป็ นกรรมการบริ ษทั ในเครื อ ควรได้รับผลตอบแทนตามวิธีปฏิบตั ิของบริ ษทั ชั้นนา
3.3 ป้ องกันปั ญหา ผลประโยชน์ขดั กัน เช่น
• ห้ามข้าราชการที่กากับดูแล-มีอานาจกาหนดนโยบาย เป็ นกรรมการในบริ ษทั มหาชนที่รัฐถือหุน้ ในตลาดหลักทรัพย์
• ข้าราชการที่เป็ นกรรมการรัฐวิสาหกิจ ถือว่าเป็ นส่วนหนึ่งของหน้าที่
จึงควรได้รับผลตอบแทนในระดับที่เหมาะสม ผลตอบแทนส่วนเกินให้นาส่งคลัง
3.4 เมือ่ แยกกิจการท่ อส่ งก๊ าซธรรมชาติออกไปจาก บมจ.ปตท.แล้ว ให้ลดการถือหุ้นของรัฐ
ใน บมจ.ปตท.ให้ ต่ากว่ า 50% เพื่อให้พน้ สภาพรัฐวิสาหกิจ ซึ่ งจะลดการแทรกแซงจากปั จจัย
ภายนอก ...ศึกษาความเหมาะสมของการลดการถือหุ้นของรัฐให้ ต่าลงอีก
80
(4) กระบวนการในการกาหนดนโยบายและการขออนุญาต
4.1 ให้ ผ้ แู ทนจากภาคส่ วนต่ างๆทีห่ ลากหลาย มีส่วนร่ วมในการเสนอนโยบายพลังงานมาก
ยิง่ ขึ้น ...ขณะเดียวกันรัฐควรคานึ งถึงมิติทางด้านพลังงานในการกาหนดนโยบายด้านอื่นๆ
4.2 ตั้งสานักงานสารสนเทศด้ านพลังงาน (แบบ EIA ของสหรัฐฯ) เพื่อเป็ นแหล่งข้อมูลที่ถูกต้อง
เป็ นที่ยอมรั บ และทาหน้าที่ในการเผยแพร่ ที่สมบูรณ์
4.3 แก้ไขกระบวนการ กฎระเบียบ และกฎหมาย เพื่อแก้ปัญหาความล่าช้าในการขออนุญาต
ในกิจกรรมที่เกี่ยวกับพลังงาน และเป็ นแหล่งแสวงหาผลประโยชน์ที่มิชอบทางการเมือง
โดยเฉพาะการแก้ไข
• ความซ้ าซ้อนของ พรบ.โรงงาน กับ พรบ.การประกอบกิจการพลังงาน และ พรบ.
ควบคุมน้ ามันเชื้อเพลิง
• ปั ญหาความล่าช้าในการกาหนดมาตรฐานประสิ ทธิ ภาพการใช้พลังงานของ
เครื่ องจักร อุปกรณ์ และอาคาร โดยการแก้ไข พรบ.การส่ งเสริ มการอนุรักษ์พลัง81งาน
(5) การสารวจ พัฒนาและจัดหาแหล่ งพลังงานเชื้อเพลิงหลัก
ความไม่ ไว้ วางใจภาครั ฐ ความไม่ เข้ าใจข้ อมูล/ลักษณะเฉพาะ ของการสารวจ-ผลิตปิ โตรเลียม
เป็ นอปุ สรรคสาคัญ ซึ่งเริ่ มส่ งผลต่ อการจัดหาปิ โตรเลียมในประเทศ
5.1 ให้ประเทศไทยสมัครเป็ นสมาชิกของ Extractive Industries Transparency Initiative (EITI)
5.2 ตั้งคณะกรรมการที่มีผู้แทนจากทุกฝ่ ายเพื่อพิจารณาปรับปรุงระบบการสารวจและผลิตปิ โตรเลียมใน
ปัจจุบนั ให้ได้ขอ้ ยุติใน 3 เดือน และเดินหน้ าเปิ ดประมูลพืน้ ทีส่ ารวจและพัฒนาปิ โตรเลียมโดยเร็ว
5.3 นาพื้นที่สงวนในภาคเหนือของกระทรวงกลาโหม เข้ามาอยูภ่ ายใต้พระราชบัญญัติปิโตรเลียม
5.4 เร่ งพิจารณาแนวทางในการพัฒนาแหล่ งผลิตปิ โตรเลียม ทีไ่ ม่ สามารถต่ อระยะเวลาได้ อกี ตามกฏหมาย
เพื่อให้ได้ขอ้ ยุติอย่ างน้ อย 5 ปี ก่อนการสิ้ นสัมปทาน
5.5 ให้กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพลังงาน และคณะกรรมาธิการวิสามัญของรัฐสภา ร่ วมกันวาง
แนวทางและมอบหมายให้ มคี ณะเจรจาที่มีความรู ้และความเป็ นมืออาชีพ เพื่อเจรจาหาข้อยุติกบั กัมพูชา ใน
เรื่ องพืน้ ทีไ่ หล่ ทวีปทับซ้ อนไทย-กัมพูชาในทะเลอ่าวไทย
5.6 ส่ งเสริ มให้มีการขยายการลงทุนธุรกิจพลังงานไปในต่างประเทศมากยิง่ ขึ้นเพื่อเพิ่มความมัน่ คงด้าน
พลังงาน
82
(6) ส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน พลังงานหมุนเวียนและพลังงานสะอาด
6.1 ขจัดอุปสรรคการขออนุญาตจากภาครัฐ ในการพัฒนาโครงการ SPP/VSPP พลังงานหมุนเวียน โดยสร้าง
กระบวนการที่เปิ ดกว้าง โปร่ งใส และขจัดการเลือกปฏิบตั ิ
โดยเฉพาะแก้ไขกฎกระทรวงเพื่อมิให้การผลิตไฟฟ้ าต้องขออนุญาตตามพรบ.โรงงาน เพราะต้องขออนุญาตจาก กกพ. อยูแ่ ล้ว ยุบ
เลิกคณะกรรมการบริ หารมาตรการส่งเสริ มการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานหมุนเวียน และแก้ปัญหาโครงการด้านพลังงานแสงอาทิตย์ ที่ยงั
ค้างการพิจารณาโดยเจรจาปรับเงื่อนไขและราคารับซื้อให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีและสถานการณ์ตลาดในปัจจุบนั
6.2 มาตรการส่ งเสริ มพลังงานหมุนเวียนควรอยูใ่ นระดับที่เหมาะสม โดยมีเป้าหมายระยะยาวให้ ไม่ มกี าร
อุดหนุนหรืออุดหนุนน้ อยทีส่ ุ ด
6.3 กาหนดมาตรการส่ งเสริ มสาหรับโครงการขนาดเล็กในท้ องที่ห่างไกลและโครงการพลังงานชุ มชน
6.4 แก้ไขปัญหาอิทธิพลที่เป็ นอุปสรรคหลักต่อโครงการพัฒนาเพื่อเปลีย่ นขยะเป็ นพลังงาน
6.5 เร่ งกาหนดมาตรฐานประสิ ทธิภาพการใช้ พลังงานขั้นต่าของเครื่ องจักร อุปกรณ์ และอาคาร ให้มีความ
เข้มข้นมากขึ้น และกาหนดเป้ าหมายในการประหยัดพลังงานในระยะยาวที่ชดั เจน
6.6 จัดทาแผนระยะสั้นและระยะยาวในการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ และแผนการจัดหาพลังงานเพื่อใช้ใน
ยานยนต์อย่างเป็ นระบบ
83
6.7 ปฏิรูประบบขนส่ งมวลชน ระบบราง และระบบผังเมือง
(6) ส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน พลังงานหมุนเวียนและพลังงานสะอาด
6.1 ขจัดอุปสรรคการขออนุญาตจากภาครัฐ ในการพัฒนาโครงการ SPP/VSPP พลังงานหมุนเวียน โดยสร้าง
กระบวนการที่เปิ ดกว้าง โปร่ งใส และขจัดการเลือกปฏิบตั ิ
โดยเฉพาะแก้ไขกฎกระทรวงเพื่อมิให้การผลิตไฟฟ้ าต้องขออนุญาตตามพรบ.โรงงาน เพราะต้องขออนุญาตจาก กกพ. อยูแ่ ล้ว ยุบ
เลิกคณะกรรมการบริ หารมาตรการส่งเสริ มการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานหมุนเวียน และแก้ปัญหาโครงการด้านพลังงานแสงอาทิตย์ ที่ยงั
ค้างการพิจารณาโดยเจรจาปรับเงื่อนไขและราคารับซื้อให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีและสถานการณ์ตลาดในปัจจุบนั
6.2 มาตรการส่ งเสริ มพลังงานหมุนเวียนควรอยูใ่ นระดับที่เหมาะสม โดยมีเป้าหมายระยะยาวให้ ไม่ มกี าร
อุดหนุนหรืออุดหนุนน้ อยทีส่ ุ ด
6.3 กาหนดมาตรการส่ งเสริ มสาหรับโครงการขนาดเล็กในท้ องที่ห่างไกลและโครงการพลังงานชุ มชน
6.4 แก้ไขปัญหาอิทธิพลที่เป็ นอุปสรรคหลักต่อโครงการพัฒนาเพื่อเปลีย่ นขยะเป็ นพลังงาน
6.5 เร่ งกาหนดมาตรฐานประสิ ทธิภาพการใช้ พลังงานขั้นต่าของเครื่ องจักร อุปกรณ์ และอาคาร ให้มีความ
เข้มข้นมากขึ้น และกาหนดเป้ าหมายในการประหยัดพลังงานในระยะยาวที่ชดั เจน
6.6 จัดทาแผนระยะสั้นและระยะยาวในการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ และแผนการจัดหาพลังงานเพื่อใช้ใน
ยานยนต์อย่างเป็ นระบบ
84
6.7 ปฏิรูประบบขนส่ งมวลชน ระบบราง และระบบผังเมือง
ประชานิยมด้ านพลังงาน
• รัฐบาลหลายชุดที่ผา่ นมาดาเนินนโยบายประชานิยมด้านพลังงาน
• โดยใช้ภาษีสรรพสามิตและกองทุนน้ ามันฯเป็ นเครื่ องมือในการตรึ งราคาพลังงาน
บางประเภทให้ต่ากว่าต้นทุนที่แท้จริ ง
• โดยใช้เงินมากกว่า 5 แสนล้านบาทในช่วงระยะเวลา 6 ปี (2551-2557)
- 200,000 ล้านบาทจากกองทุนน้ ามันฯ ในการตรึ งราคาแอลพีจี
- 330,000 ล้านบาทจากภาษีสรรพสามิต ในการตรึ งราคาน้ ามันดีเซล
• ไม่ต่างอะไรกับนโยบายจานาข้าวที่ขาดทุน 400,000 ล้านบาทภายในสองปี
• ทั้งหมดนี้ยงั ไม่นบั ในส่ วนที่ภาคเอกชนต้องแบกรับภาระเองอีก 350,000 ล้านบาท
- โดยไม่ได้รับความช่วยเหลือใดๆจากรัฐบาลทั้งสิ้ น
การอุดญนุนราคาใช้ แต่ เงินของประชาชนจริงญรือ?
• นอกจากใช้เงินจากกองทุนน้ ามันแล้ว
• ยังใช้เงินภาษีสรรพสามิตที่เป็ นรายได้ของรัฐ
• จากโรงกลัน่ น้ ามันที่ตอ้ งขายแอลพีจี 24% ในราคา 333 $/ตัน
- ประมาณ 61,650 ล้านบาท นับจากปี 2547-2556
• จากโรงแยกก๊าซที่ตอ้ งขายก๊าซหน้าโรงแยกก๊าซมากกว่า 50% ของกาลังการผลิต
- ในราคา 333 $/ตัน ซึ่งเป็ นราคาที่ต่ากว่าต้นทุนการผลิตที่ 555 $/ตัน
- รวมเป็ นเงิน 190,750 ล้านบาทนับจากปี 2547-2556
• จากปตท.ที่ตอ้ งแบกรับภาระการขาดทุนจากการขาย NGV ที่ 10.50 บาท/ก.ก.
- ปี 2556 = 24,785 ล้านบาท สะสมรวม 95,283 ล้านบาท
• รวมทั้งสิ้ นประมาณ 350,000 ล้านบาทที่เป็ นส่ วนของเอกชน
5/12/2014
ร่ างที่ 9
88
การประนีประนอมยอมความเรื่องพลังงาน
จากการที่ นายปิ ยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ ถูกใส่ ร้ายป้ ายสี ในเรื่ องที่เกี่ยวกับพลังงานทาให้เสื่ อมเสี ยชื่อเสี ยงนั้น นายปิ ยสวัสดิ์ฯ ได้ฟ้องร้อง ผูด้ ูแลหน้าเว็บ
ไซท์ จานวน 8 ราย ต่อศาลอาญาในคดีเผยแพร่ ขอ้ ความอันเป็ นเท็จตาม พรบ.คอมพิวเตอร์ฯ โดยพาดพิงถึงผลงานในฐานะอดีต รมต.
ผลประโยชน์ทบั ซ้อน การแก้กฎหมายสัมปทาน ฯลฯ บัดนี้ มีความคืบหน้าในการพิสูจน์ความบริ สุทธิ์ จึงขอนาข้อมูลมาเรี ยนต่อสาธารณะ
กล่าวคือ ได้มีการประนีประนอมยอมความแล้ว 2 คดี โดยจาเลยยอมขออภัยและลบโพสต์ที่เกี่ยวข้องออกทั้งหมด รายแรกคือ go6TV และราย
ที่ 2 คือ ม.ล.กรกสิ วฒ
ั น์ เกษมศรี
ในกรณี แรก นายพลรักษ์ รักษาพล ผู้ดูแลหน้ าเว็บไซท์ / Facebook ชื่อ “go6TV Community Page” และ Twitter ชื่อ
“go6TV” ได้ยอมรับว่าข้อความดังกล่าว เป็ นข้อความที่ไม่เป็ นจริ งและก่อให้เกิดความเข้าใจผิดและเป็ นที่วพิ ากษ์วจิ ารณ์อย่างรุ นแรง อัน
ก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่นายปิ ยสวัสดิ์ฯ จะลบการพาดพิงทั้งหมด และได้ขอโทษในการกระทาดังกล่าวแล้ว ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2557 ดังนี้
“ตามที่ ข้าพเจ้ า ได้ เผยแพร่ หรื อยินยอมให้ มีการเผยแพร่ ข้ อความบางส่ วนที่ มีความคลาดเคลื่อน และ พาดพิงถึงนายปิ ยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ ในประเด็น
ดังต่ อไปนี ้
1 เรื่ องการกล่ าวหาว่ า นายปิ ยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ และนางอานิก อัมระนันทน์ เป็ นผู้ฉ้อฉลพลังงานชาติ และเป็ นผู้ต่ออายุสัมปทานให้ เชฟร่ อน
โดยประเทศไทยไม่ ได้ ประโยชน์ ใดๆ
2.เรื่ องการกล่ าวหาว่ านายปิ ยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ เป็ นผู้มีผลประโยชน์ แอบแฝงกับธุ รกิจพลังงานของประเทศ
ทั้งนี ้ ข้ อความในลักษณะดังกล่ าว ข้ าพเจ้ าได้ ทาการลบและนาออกจากระบบของ Facebook go6TV Community Page และ
Twitter go6TV หมดแล้ ว
ข้ อความลักษณะดังกล่ าว เป็ นข้ อความที่ไม่ เป็ นจริ งและก่ อให้ เกิดความเข้ าใจผิดและเป็ นที่วิพากษ์ วิจารณ์ อย่ างรุ นแรง อั นก่ อให้ เกิดความเสี ยหาย
แก่ นายปิ ยสวัสดิ์ฯ
ทั้งนีก้ ารต่ ออายุสัมปทานให้ เชฟรอนนั้น เป็ นไปตามบทบัญญัติของพระราชบัญญัติปิโตรเลียมฯ และได้ มีการเจรจาให้ รัฐบาลได้ รับผลประโยชน์ ตอบแทนพิเศษ
เพิ่มเติมจากค่ าภาคหลวงและภาษีเงินได้ ปิโตรเลียมในระดับ 50 % ตามที่ ระบุในกฏหมาย ดังนั้น ข้ อความกล่ าวหาว่ าประเทศไทยไม่ ได้ รับประโยชน์ ใดๆ จึ งไม่ เป็ น
ความจริ ง ซึ่ งข้ าพเจ้ าขอแสดงความเสี ยใจและขออภัยมา ณ ที่ นี”
้
สาหรับในกรณี ที่ 2 นั้น ม.ล.กรกสิวฒ
ั น์ เกษมศรี ได้ยอมรับว่าข้อความดังกล่าวก่อให้เกิดความเข้าใจผิดและความเสื่ อมเสี ยต่อ ดร.ปิ ยสวัสดิ์ จะลบการพาดพิงทั้งหมด และได้
ขอโทษในการกระทาดังกล่าวแล้ว ในวันที่ 16 กรกฎาคม 2557 ดังนี้
“ตามที่ ได้ มีการโพสต์ ข้อความแสดงความคิดเห็นพาดพิงนายปิ ยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ อันอาจทาให้ เกิดความเข้ าใจผิดและเสื่ อมเสี ยชื่ อเสี ยงได้ นั้น ซึ่ งข้ าพเจ้ าไม่ ได้ มีเจตนาหรื อ
สนับสนุนเห็นด้ วยกับข้ อความดังกล่ าว จึ งขออภัยในสิ่ งที่เกิดขึน้ ด้ วย จึ งขอแจ้ งให้ ผ้ ูที่เข้ ามาโพสต์ ข้อความทุกท่ านโปรดแสดงความคิดเห็นโดยใช้ ข้อความที่ สุภาพ งด
เว้ นการใช้ ข้อความที่ พาดพิงกล่ าวหาต่ อบุคคลอื่น ทั้งนี ้ เพื่อให้ เกิดการแสดงความคิดเห็นอันดี เพื่อประโยชน์ ต่อประเทศอันเป็ นที่ รักยิ่งของทุกคน”
5/12/2014
ร่ างที่ 9
89
วิเคราะญ์ คายอมความของ ม.ล.กรกสิวัฒน์
• เนื่องจากมีการตีความต่างๆนานา ผูอ้ ่านจึงควรพินิจพิเคราะห์ให้ละเอียด...ประโยค
แรกที่วา่ "ได้มีการโพสต์ขอ้ ความ..พาดพิง...." นั้นหมายรวมถึง สิ่ งที่เขาโพสต์เอง
โดยตรงและที่เอาข้อมูลของผูอ้ ื่นมาแชร์ ต้ งั กระทูด้ ว้ ย ไม่ใช่เฉพาะที่คนอื่นเข้ามา
คอมเม้นท์เท่านั้น ...ถึงได้มีคาว่า "ไม่มีเจตนา" แล้วจึงตามว่า "(ไม่)สนับสนุนเห็น
ด้วย" (กับส่ วนที่คนอื่นเข้ามาคอมเม้นท์) ทั้งนี้ การยอมรับว่ามีขอ้ ความเป็ นเท็จนั้น
อยูใ่ นนัยของถ้อยคาที่เป็ นผลกระทบต่อ ดร.ปิ ยสวัสดิ์ ซึ่ งมีองค์ประกอบ ๒ อย่าง
ได้แก่ ความเข้าใจผิด (คือผิดจากความเป็ นจริ ง) และความเสื่ อมเสี ย (จากการ
เผยแพร่ ขอ้ มูลที่ไม่ตรงต่อความเป็ นจริ ง) ไม่ง้ นั ก็คงไม่เรี ยกว่าการประนอมยอม
ความ
5/12/2014
ร่ างที่ 9
90