********* PowerPoint - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Download
Report
Transcript ********* PowerPoint - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงร่างการทาวิจยั เพื่อการค้นคว้าแบบอิสรร
การจัดการความรู้ของผู้ดแู ล
ในการฝึ กการสื่อสารด้ วยภาพแก่เด็กออทิสติก
Knowledge management for caregiver to train
Picture Exchange Communication System for
autistic child’s
นางสาวประภัสสร คาเมือง
ความเป็ นมาแล ความสราคัญของปัญหา
ภาวะออทิสซึม (Autism) เป็ นโรคหรื อกลุม่ อาการที่เกิดขึ ้นใน
เนื่องจากสมองผิดปกติ(อุมาพร ตรังคสมบัติ:2545 ,3) ปั จจุบนั ยังไม่มี
ข้ อสรุปที่ชดั เจนเกี่ยวกับสาเหตุในการเกิด
ดังนันวิ
้ ธีการช่วยเหลือเด็กออทิสติกจึงมีหลายวิธีการ ซึง่ ส่วนใหญ่
จะรักษาตามอาการ จึงเป็ นอุปสรรคในการดูแลเด็กออทิสติก ไม่วา่ จะเป็ น
ผู้ดแู ลการขาดความรู้และทักษะเพราะต้ องฝึ กทุกอย่าง ทุกเรื่ อง ให้ เหมาะ
กับความแตกต่างของแต่งแต่ละคน
ความต้ องการของผู้ดแู ลคือ ต้ องการความรู้เรื่ องโรค การดูแล และ
การฝึ กพัฒนาการเด็ก ตลอดจนการประคับประคองจิตใจของผู้ดแู ล เพื่อ
ส่งเสริ มให้ ผ้ ดู แู ลสามารถดูแลตนเอง และดูแลเด็กออทิสติกได้ อย่างมี
ประสิทธิภาพ (ภัทราภรณ์ ทุง่ ปั นคา และคนึงนิจ ไชยลังการณ์:2548)
สอดคล้องกับปญั หาอุปสรรคในองค์กรทีน่ ่าสนใจคือถึงแม้วา่
หลายๆครอบครัวได้พาเด็กออทิสติกเข้ารับการรักษาและได้รบั
คาแนะนาจากนักวิชาชีพต่างๆแล้วก็ตามแต่กย็ งั ไม่มคี วามรูท้ ช่ี ดั แจ้ง
ไม่เข้าใจและไม่สามารถทีจ่ ะฝึกเด็กออทิสติกได้ดว้ ยตนเองอย่างมี
ประสิทธิภาพ
เด็กออทิสติกทีเ่ ข้ามารับบริการทีห่ อผูป้ ว่ ยจิตเวชส่วนใหญ่มา
ขอรับบริการการกระตุน้ พัฒนาการด้านการสือ่ สาร อาการของเด็กมี
ตัง้ แต่พดู ได้บา้ งจนกระทัง้ พูดไม่ได้เลย จึงมีเทคนิคการฝึกเด็กด้วย
ภาพเพือ่ การสือ่ สารเข้ามาเป็ นการสือ่ สารเสริมหรือทางเลือกอื่น
(AAC: Augmentative Alternative
communication)
แต่เจ้าหน้าทีท่ ใ่ี ห้บริการสามารถให้การบริการได้แบบบาง
ช่วงเวลา ผูด้ แู ล/ผูป้ กครอง “ครอบครัวเป็ นตัวหาร” หมายถึง
ครอบครัวมีบทบาทสาคัญทีส่ ดุ ในการดูแล(ทวีศกั ดิ ์ :ระบบออนไลน์)
แต่ปัญหาที่พบคือผูป้ กครอง/ผูด้ ูแล ไม่ได้ไปต่อยอดการเรี ยนรู้ให้
เนื่องจากหลายสาเหตุ คือ ความไม่รู้วธิ ีการฝึ กที่มีประสิ ทธิ ภาพ ไม่
สามารถนาความรู้ที่มีมาบูรณาการฝึ กเด็กออทิสติกได้เองใน
สถานการณ์จริ ง ส่ งผลให้เด็กมีพฒั นาการด้านการสื่ อสารด้วยภาพไม่
เป็ นไปตามหลักการของ PECSที่วางไว้อย่างสมบูรณ์ คือ ไม่สามารถ
นาไปใช้ในสถานการณ์จริ งด้วยตัวเอง
ดังทีแ่ นวคิดของการจัดการความรูก้ ค็ อื การรวบรวม สร้าง จัด
ระเบียบ แลกเปลีย่ น และประยุกต์ใช้ความรู้ โดยพัฒนาระบบจาก ข้อมูล
ไปสู่ สารสนเทศ เพือ่ ให้เกิด ความรู้ และ ปญั ญา ในทีส่ ดุ (สือ่ ออนไลน์
:25พย. 2554) ผูศ้ กึ ษาจึงมีความสนใจทีจ่ ะพัฒนาประสิทธิภาพของ
ผูด้ แู ลให้สามารถฝึกพัฒนาการการสือ่ สารด้วยภาพเด็กออทิสติกได้ดว้ ย
ตนเองอย่างมีประสิทธิภาพโดยทาการจัดการความรูอ้ ย่างเป็ นระบบ
โดยได้แนวคิดสืบเนื่องมาจากงานวิจยั ของ พฤกษ์ ไชยลังการณ์
(2552)ทีศ่ กึ ษาแล้วพบว่า จากพฤติกรรมการแสวงหา และแลกเปลีย่ น
ข้อมูลของผูป้ กครองเพียงด้านเดียวอาจไม่ได้สง่ ผลต่อพัฒนาการเด็ก
แต่แนวโน้มการใช้ขอ้ มูลทีไ่ ด้มาร่วมกับโปรแกรมการพัฒนาเด็กมีผลต่อ
พัฒนาการเด็กในระดับหนึ่ง ผลการวิจยั พบว่าหากผูป้ กครองนาข้อมูล
ทีไ่ ด้รบั มาปฏิบตั กิ บั เด็กอย่างสม่าเสมอนัน้ เด็กจะมีพฒ
ั นาการทีด่ ขี น้ึ
ดังนัน้ การจัดการความรูท้ เ่ี ป็ นระบบแก่ผดู้ แู ล พร้อมกับ
โปรแกรมการฝึกการสือ่ สารทีม่ ปี ระสิทธิภาพนัน้ จะสามารถทาให้เด็กมี
พัฒนาการด้านการสือ่ สารทีน่ าไปใช้ในชีวติ ได้จริง
วัตถุปร สรงค์การวิจยั
1. เพือ่ เพิม่ ความสามารถของผูด้ แู ลในการฝึกการสือ่ สารให้เด็ก
ออทิสติกด้วยเทคนิคของ PECS
2. เพือ่ จัดเก็บองค์ความรูผ้ เู้ ชีย่ วชาญอย่างเป็ นระบบ
กรอบแนวคิดแล ทฤษฏี
1. แนวคิดและทฤษฏีทเ่ี กีย่ วข้องกับออทิสติก
ความหมายของออทิสติก
สาเหตุของโรค
ลักษณะอาการ
วิธกี ารสอน/ช่วยเหลือ
2. แนวคิดและทฤษฏีทเ่ี กีย่ วข้องกับการใช้ภาพเพือ่ การสื่อสาร
(PECS)
ความหมาย
ประโยชน์ของเพ็คส์
แนวการสอนด้วย PECS
ขัน้ ตอนการฝึกด้วย PECS มี 6 ขัน้ ตอน
3. แนวคิดและทฤษฏีทเ่ี กีย่ วข้องกับการจัดการความรู้
ความหมายของการจัดการความรู้
วงจรความรู้ (Knowledge Spiral หรือ SECI Model)
กระบวนการจัดการความรู้
ประโยชน์ของการจัดการความรูค้ อื
ความต้องการในการช่วยเหลือของผูท้ ด่ี แู ลเด็กออทิสติกมีหลายด้านไม่วา่
จะเป็ นข้อมูลการบาบัดรักษา การดูแลประคับประคอง ดังเช่นงานวิจยั ของภัทรา
ภรณ์ ทุง่ ปนั คา และคนึงนิจ ไชยลังการณ์ (2546) ทีไ่ ด้ศกึ ษาถึงอุปสรรค และ
ความต้องการการช่วยเหลือในการดูแลเด็กออทิสติกโดยศึกษาในกลุ่มผูด้ แู ลเด็ก
ออทิสติกทีเ่ ป็ น บิดา มารดา ญาติ หรือ พีเ่ ลีย้ ง พบว่าเจ้าหน้าทีท่ างสุขภาพต้อง
ให้การช่วยเหลือ โดยเฉพาะ ด้าน ความรูเ้ รือ่ งโรค การดูแล และ การฝึก
พัฒนาการเด็ก ตลอดจนการประคับประคองจิตใจของผูด้ แู ล เพือ่ ส่งเสริมให้ผดู้ แู ล
สามารถดูแลตนเอง และดูแลเด็กออทิสติกได้อย่างมีประสิทธิภาพ
อุปสรรคในการดูแลเด็กออทิสติก นัน้ เกีย่ วข้องกับภาวะโรคทีเ่ ด็กเป็ นอยู่
การขาดความรูแ้ ละทักษะทีจ่ าเป็ นในการดูแล สถานบริการมีไม่ทวถึ
ั ่ ง ตลอดจน
การขาดความเข้าใจ จากเจ้าหน้าที่ และ บุคคลในสังคม นอกจากนี้ผดู้ แู ลยังแสดง
ความจานงถึงความต้องการอยากให้มสี ถานบริการทีด่ แู ลเด็กตลอดชีวติ การ
รักษาทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ตลอดจน ความเข้าใจ และกาลังใจจากสังคม
ดังนัน้ ข้อมูล และความรูต้ ่างๆทีจ่ าเป็ นต่อการบาบัดเด็กออทิสติก
จึงมีมากมายหลากหลายรูปแบบแต่สงิ่ หนึ่งคือการใช้รปู ภาพเพือ่
การสือ่ สารหรือPECS :Picture Exchange
Communication System นัน้ เป็ นวิธกี ารหนึ่งทีช่ ว่ ยใน
การพัฒนาทักษะด้านการสือ่ สารของเด็กออทิสติกได้เป็ นอย่างดี
ดังเช่นงานวิจยั ของหลายท่านทีไ่ ด้ศกึ ษา
วิลาสินี แก้ววรา(2550) ได้ศกึ ษาเรือ่ งการใช้เพ็คส์เพือ่ ส่งเสริม
ความรูด้ า้ นคาศัพท์ภาษาอังกฤษและความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษ
ของเด็กออทิสติกวัตถุประสงค์เพือ่ เปรียบเทียบความรูด้ า้ นคาศัพท์
ภาษาอังกฤษและความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษโดยใช้เพ็คส์
(PECS: ) ซึง่ สอดแทรกการใช้การยุทธ์การสอนโดยเน้นการมองเห็น
(Visual Strategies) และทาการประเมิน2 ช่วง คือประเมินก่อนการ
จากนัน้ เข้าสูก่ ระบวนการส่งเสริมด้านคาศัพท์และความสามารถด้านการพูด
ภาษาอังกฤษ แล้วประเมินผลหลังการสอน วิเคราะห์ผลโดยใช้คา่ ร้อยละ
ผลการวิจยั ทีไ่ ด้คอื กรณีศกึ ษามีความรูด้ า้ นคาศัพท์ภาษาอังกฤษเพิม่ สูงขึน้
อยูใ่ นระดับดีมาก มีความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษแบบคาสูงขึน้
อยูใ่ นระดับดีมาก และมีความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษแบบ
ประโยคสูงขึน้ อยูใ่ นระดับดีมากเช่นกัน
ส่วน นุชนาถ แก้วมาตร(2547) ได้ศกึ ษา เรือ่ งการใช้ภาพเพือ่ พัฒนา
ความสามารถด้านการสื่อสารของเด็กออทิสติก โดยศึกษาแบบรายกรณี ซึง่ เป็ น
เด็กออทิสติกระดับปานกลาง อายุ 10 ปี มีวตั ถุประสงค์ในการศึกษาเพื่อใช้สอ่ื
ภาพต่อความสามารถด้านการสือ่ สารและเพือ่ สร้างเครือ่ งมือพัฒนาความสามารถ
ด้านการสือ่ สารของเด็กออทิสติก นุชนาถ แก้วมาตรได้ทาการสร้างสื่อภาพเพือ่
นามาใช้พฒ
ั นาและทาการประเมินเป็ น 3 ช่วง คือ ประเมินผลก่อนการฝึกใช้สอ่ื
ภาพ จากนัน้ เข้าสูข่ ยวนการพัฒนาความสามารถด้านการสือ่ สารเป็ นเวลา 10
สัปดาห์แล้วประเมินผลหลังการฝึกใช้สอ่ื ภาพภายหลังจากการฝึก 2 สัปดาห์
ผลการวิจยั พบว่า กรณีศกึ ษามีความสามารถด้านการสือ่ สารดีขน้ึ ทุกด้าน ทัง้
ด้านการเข้าใจความหมายในการสือ่ สาร การใช้คาพูดในการสือ่ สาร และสามารถ
เป็ นผูร้ เิ ริม่ การสือ่ สารได้ หลังจากการฝึก 2 สัปดาห์ยงั พบว่ากรณีศกึ ษายังคง
ความสามารถนัน้
และวันทนีย์ เรียงไรสวัสดิ ์ (2552:ระบบออนไลน์) ได้ทาการศึกษาเรือ่ ง
ผลการใช้ระบบการแลกเปลีย่ นภาพเพือ่ การสือ่ สารในการพัฒนาทักษะการสื่อสาร
สาหรับนักเรียนออทิสติกระดับปฐมวัย โรงเรียนกาวิละอนุกลู จ.เชียงใหม่ ได้มี
วัตถุประสงค์เพือ่ ศึกษาผลการพัฒนาทักษะการสือ่ สารของนักเรียน
ผลการศึกษาทีไ่ ด้คอื
นักเรียนคนที่ 1 สามารถฝึกจนถึงขัน้ ตอนที่ เปล่งเสียงพูดทุกครัง้ ทีฝ่ ึกตัง้ แต่
ขัน้ ตอนที่ 4
นักเรียนคนที2่ สามารถฝึกได้ถงึ ขัน้ ที่ 2 คือการเพิม่ ระยะห่างในการ
แลกเปลีย่ นภาพ มีคาพูดทีเ่ กิดขึน้ ดังนัน้ ระบบระบบการแลกเปลี่ยนภาพเพือ่ การ
สือ่ สารสามารถช่วยให้กรณีศกึ ษาทัง้ สองสามารถมีทกั ษะในการสือ่ สารเพิม่ ขึน้ แต่
ทัง้ นี้เนื่องจากความสามารถเด็กทีแ่ ตกต่างกันจึงทาให้ผลการศึกษาแตกต่างกัน
นันเอง
่
ทัง้ 3 ท่านได้ศกึ ษากับกลุม่ ตัวอย่างด้วยเทคนิคการ
สือ่ สารด้วยภาพทัง้ หมด 6 ขัน้ ตอน ทาให้เด็กมีความสามารถ
ในการสือ่ สารเป็ นประโยคได้ดว้ ยตัวเอง และมีคาศัพท์เพิม่ มาก
ขึน้ ทุกรายตามความสามารถเด็กแต่ละคน
ในขณะที่ ทิพวรรณ ปิ โยปกรณ์ (2549) ได้ศกึ ษาเรือ่ ง การใช้
ระบบแลกเปลีย่ นภาพเพือ่ การสือ่ สารในการพัฒนาการสือ่ สารของเด็ก
ออทิสติก ศูนย์การศึกษาพิเศษประจา จังหวัดจันทบุร ี มีวตั ถุประสงค์
เพือ่ ศึกษาทดลองใช้ระบบการแลกเปลีย่ นภาพเพือ่ การสือ่ สาร
(PECS) เพือ่ พัฒนาการสือ่ สารของเด็กออทิสติก โดยเฉพาะการบอก
ความต้องการและลดพฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์อนั เนื่องมาจากการสื่อสาร
ทาการประเมิน 3 ช่วง คือก่อนการฝึก ระหว่างกระบวนการ และหลัง
การฝึก เป็ นเวลา 27 วัน และการประเมินผลหลังการฝึกให้สอ่ื ภาพ 60
วันผลการศึกษาพบว่ากรณีศกึ ษามีทกั ษะในการสือ่ สารแสดงความ
ต้องการโดยพูดขอขนม สิง่ ของทีต่ อ้ งการจากผูอ้ ่นื ได้ ทาให้พฤติกรรม
ไม่พงึ ประสงค์ลดลง
และ จงจิต ไชยวงค์ (2550)ได้นาระบบการแลกเปลีย่ นรูปภาพเพือ่ การ
สือ่ สารมาใช้ศกึ ษากับนักเรียนทีม่ คี วามบกพร่องทางสติปญั ญา โดยศึกษาเรือ่ ง
การพัฒนาทักษะการสือ่ สารของนักเรียนทีม่ คี วามบกพร่องทางสติปญั ญาโดย
ระบบแลกเปลีย่ นรูปภาพเพือ่ การสือ่ สาร มีวตั ถุประสงค์เพือ่ สร้างชุดภาพในการ
พัฒนาทักษะการสือ่ สารของเด็กทีม่ คี วามบกพร่องทางสติปญั ญา และเพือ่ ศึกษา
การพัฒนาทักษะการสือ่ สารของเด็กทีม่ คี วามบกพร่องทางสติปญั ญาระดับรุนแรง
กรณีศกึ ษาเป็ นเด็กนักเรียนชายอายุ9 ปีจานวน 1คน ทีเ่ ข้ามารับการฟื้ นฟูทศ่ี นู ย์
การศึกษาพิเศษเขตการศึกษา 8 เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการศึกษามี ชุดภาพจานวน 7
ภาพ แบบแผนการจัดการเรียนรู้ แบบประเมินและบันทึกการฝึกใช้สอ่ื ภาพ
ขัน้ ตอนที่ 1-2 การสังเกตพฤติกรรมการฝึก บันทึกหลังการฝึก บันทึกภาพวีดทิ ศั น์
ใช้เวลาฝึก 28 วัน วันละ 30 ครัง้ นาข้อมูลมาวิเคราะห์หาค่าความถี่ ค่าเฉลีย่ และ
ค่าร้อยละ ผลการศึกษาพบว่า ได้ชุดภาพทีส่ ร้างขึน้ จากการประเมินแรงเสริมของ
กรณีศกึ ษา และกรณีศกึ ษามีทกั ษะการสือ่ สารโดยระบบแลกเปลีย่ นภาพเพื่อการ
สือ่ สารในภาพรวมอยูใ่ นระดับดีมาก
ทัง้ 2 ท่านฝึกถึงขัน้ ที่ 1-3 เท่านัน้ เด็กก็จะมีการสือ่ สารเกิดขึน้
จริง แต่เป็ นคาๆ ดังนัน้ หากฝึกครบทุกกระบวนการก็จะทาให้
เด็กสามารถสือ่ สารได้กว้างมากขึน้ คาศัพท์ทไ่ี ด้กจ็ ะเพิม่ ขึน้
ตามไปด้วย ส่งผลให้มชี อ่ งทางการสือ่ สารและสามารถพูด
สือ่ สารได้ใกล้เคียงปกติทส่ี ดุ
แต่ คนึงนิจ ไชยลังการณ์(2547)ได้ศกึ ษาเรือ่ ง การใช้ระบบแลกเปลีย่ น
ภาพเพือ่ การสือ่ สารต่อความสามารถทางภาษาบุคคลออทิสติกทีส่ ามารถสือ่ สาร
เป็ นคาหรือวลี มีวตั ถุประสงค์เพือ่ เปรียบเทียบความสามารถทางภาษาของบุคคล
ออทิสติกทีส่ ามารถสือ่ สารได้เป็ นคาหรือวลีก่อนและหลังการใช้ระบบแลกเปลีย่ น
ภาพเพือ่ การสือ่ สารโดยใช้กรณีศกึ ษาเป็ นบุคคลออทิสติกอายุ 17 ปี ใช้เวลาฝึก 2
เดือน ผลการศึกษาพบว่ากรณีศกึ ษาสามารถเรียนรูก้ ารใช้ระบบแลกเปลี่ยนภาพ
เพือ่ การสือ่ สารได้อย่างรวดเร็ว โดยสามารถ โดยงานวิจยั ครัง้ นี้ไม่ได้เริม่ ต้นฝึก
ในขัน้ ตอนที่ 1 ทาให้การริเริม่ หยิบแผ่นสร้างประโยคเองเป็ นไปได้ชา้ ต้องใช้
การแนะมากกว่าขัน้ ตอนอื่น ดังนัน้ การใช้ระบบแลกเปลีย่ นภาพเพือ่ การสือ่ สาร
ต้องเริม่ ต้นทีข่ นั ้ ตอนที่ 1 เพือ่ ให้สามารถริเริม่ สือ่ สารได้เองก่อน จึงจะฝึกใน
ขัน้ ตอนทีส่ งู ขึน้ ต่อไปได้
สรรุปได้ว่า การฝึ กตามกร บวนการของ PECS ที่ถกู ต้องจ ทาให้
มีปร สริทธิภาพมากที่สรดุ
การฝึ กด้วยเทคนิคของระบบแลกเปลี่ยนภาพเพื่อการสื่ อสารนั้น
เป็ นวิธีการที่มีประสิ ทธิ ภาพเหมาะกับเด็กออทิสติก เห็นได้จากเด็กออทิ
สติกร้อยละ 50 ไม่มีภาษาพูดที่สื่อสารได้ (อุมาพร ตรังค
สมบัติ.2545,138) แต่จุดเด่นของเด็กออทิสติกส่ วนใหญ่มีวธิ ี การเรี ยนรู้
จากการมองเห็น (Learning Through Seeing)โดยบุคคลออทิสติกจะ
สามารถจดจา รู ปภาพ รู ปถ่าย สัญลักษณ์ ภาพวาด ป้ ายโฆษณา ต่างๆ ได้
เป็ นอย่างดี การใช้รูปภาพเป็ นส่ วนหนึ่งในการพัฒนาความสามารถของ
บุคคลออทิสติกจึงต้องใช้การสื่ อสารเสริ มและทางเลือกอื่น
(AAC)ทดแทนดังนั้น Picture Exchange Communication System เป็ นอีก
ทางเลือกหนึ่งที่ใช้ฝึกเด็กออทิสติก ให้สามารถสื่ อสารได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ
งานวิจยั ทีก่ ล่าวมานี้เป็ นสิง่ ยืนยันว่าการฝึกการใช้ภาพเพือ่ การ
สือ่ สารแก่เด็กออทิสติกเป็ นสิง่ ทีม่ คี ุณค่าและสามารถฝึ กได้จริง ด้วย
วิธกี ารทีถ่ กู ต้องตามหลักการของเทคนิคการใช้ภาพเพือ่ การสือ่ สารหรือ
PECS
และจากงานวิจยั ของพฤษภ์ ไชยลังการณ์(2552) ได้ศกึ ษา
เรือ่ งการแสวงหาและแลกเปลีย่ นข้อมูลเกีย่ วกับเด็กออทิสติกของ
ผูป้ กครองเพือ่ พัฒนาศักยภาพเด็กออทิสติกนัน้ พบว่าพฤติกรรมการ
แสวงหา และแลกเปลีย่ นข้อมูลของผูป้ กครองเพียงด้านเดียวอาจไม่ได้
ส่งผลต่อพัฒนาการเด็ก เนื่องจากมีหลายปจั จัยมาเกีย่ วข้อง แต่
แนวโน้มการใช้ขอ้ มูลทีไ่ ด้มาร่วมกับโปรแกรมการพัฒนาเด็กมีผลต่อ
พัฒนาการเด็กในระดับหนึ่ง ผลการวิจยั พบว่าหากผูป้ กครองนาข้อมูล
ทีไ่ ด้รบั มาปฏิบตั กิ บั เด็กอย่างสม่าเสมอนัน้ เด็กจะมีพฒ
ั นาการทีด่ ขี น้ึ
ผูศ้ กึ ษาจึงสนใจทีจ่ ะศึกษาในเรือ่ งการจัดการความรูข้ องผูด้ แู ลให้
สามารถฝึกเด็กออทิสติกให้สอ่ื สารด้วยการใช้ระบบแลกเปลีย่ นภาพเพือ่
การสือ่ สารได้อย่างถูกต้องด้วยการจัดการความรูอ้ ย่างเป็ นระบบ เป็ น
การต่อยอดงานวิจยั ของคุณนุชนาถ แก้วมาตรทีไ่ ด้เสนอแนะไว้ว่าควรที่
จะขยายให้เด็กได้เรียนรูใ้ นสถานการณ์อ่นื ๆด้วย เช่น ทีบ่ ้าน ทีโ่ รงเรียน
ดังนัน้ ในสถานการณ์อ่นื ๆจึงจาเป็ นทีจ่ ะต้องมีผดู้ แู ลที่จะสามารถมาต่อ
ยอดความรูใ้ ห้กบั เด็กออทิสติกได้ เด็กออทิสติกจึงจะสามารถใช้ภาพ
เพือ่ การสือ่ สารได้จริงในชีวติ ประจาวัน
ขอบเขตแล วิธีการวิจยั
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1.ประชากร
ได้แก่ผดู้ แู ลทีพ่ าเด็กออทิสติกเข้ามารับบริการ ณ หอผูป้ ว่ ยจิตเวช ทัง้ หมด
จานวน 11 คน
2.ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างเป็ นกรณีศกึ ษา 1 คน ทีเ่ ลือกแบบเจาะจง
ปร เภทของข้อมูล
ข้อมูลทีน่ ามาประกอบการศึกษาแบ่งเป็ น 2 ประเภทคือ
1. ข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็ นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์
ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการใช้ภาพเพือ่ การสือ่ สาร จากเอกสารทีเ่ กีย่ วข้องกับ
การฝึกเด็กออทิสติกด้วยวิธกี ารใช้ภาพเพือ่ การสือ่ สาร และข้อมูลจาก
การแลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ะหว่างเจ้าหน้าทีท่ ถ่ี ่ายทอดและผูด้ แู ลเด็กว่าได้
เกิดองค์ความรูท้ ช่ี ดั แจ้งแก่ผดู้ แู ล ผูด้ แู ลสามารถนาไปหมุนเกรียวความรู้
ได้
2. ข้อมูลเชิงปริมาณ เป็ นแบบทดสอบก่อนและหลังการจัดการ
ความรู้ สาหรับผูด้ แู ล และแบบบันทึกพัฒนาการการสือ่ สารด้วยภาพ
เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล
1. การสัมภาษณ์ผเู้ ชีย่ วชาญในประเด็นดังนี้คอื วิธกี ารฝึกการใช้ภาพเพือ่ การสือ่ สาร
ทัง้ 6 ขัน้ ตอน และปจั จัยความสาเร็จในการฝึกแต่ละขัน้ ตอน
2. แบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนการแลกเปลีย่ นความรู้ และหลังการแลกเปลีย่ น
ความรูส้ าหรับผูด้ แู ลเด็กออทิสติก ทีผ่ วู้ จิ ยั เป็ นผูส้ ร้างขึน้ โดยดัดแปลงจากแบบ
ประเมินระบบการแลกเปลีย่ นภาพเพือ่ การสือ่ สารของ
Bondy&Frost(2001)
3. การใช้ทป่ี รึกษา/หรือพีเ่ ลีย้ ง(Mentoring System) เข้ามาช่วยในการ
แลกเปลีย่ นความรู้
4. การบันทึกเหตุการณ์แบบพรรณนา ทีเ่ กิดจากการแลกเปลีย่ นความรู้ เพื่อเป็ น
ข้อมูลทีแ่ สดงถึงความเข้าใจของผูด้ แู ล และจัดเก็บเป็ นองค์ความรูใ้ หม่ ทีไ่ ด้จาก
การแลกเปลีย่ น
5. แบบบันทึกพัฒนาการทางด้านการสือ่ สารด้วยภาพ
6. การบันทึกภาพและเสียงขณะผูด้ แู ลฝึกด้วยเทคนิคPECS
ทีม่ า http://www.bb.go.th/BBKM/public/aboutKM/Article/startkm.pdf
การวิเคราะห์ขอ้ มูล
วิเคราะห์โดยใช้สถิตริ อ้ ยละและส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน
ร่วมกับวิธกี ารอุปนัย(Analytic Induction) โดยการ
ตีความ เพือ่ ทาการวิเคราะห์ผลการเกิดการสร้างความรูแ้ ละการนา
ความรูไ้ ปหมุนเกรียว นาเสนอผลในรูปแบบของการบรรยาย และ
แผนภูมแิ สดงการเปรียบเทียบก่อนและหลังการแลกเปลีย่ นความรู้
ดูวา่ ผูด้ แู ลสามารถทีจ่ ะฝึกทักษะการสือ่ สารด้วยภาพให้แก่เด็กออทิ
สติกได้หรือไม่ หรือเกิดองค์ความรูท้ ส่ี ามารถนาไปปฏิบตั แิ ละ
หมุนเกรียวความรูไ้ ด้ดว้ ยตัวเองหรือไม่
การตรวจสอบความน่าเชือ่ ถือของข้อมูล
ระหว่างการประเมินความสามารถในการฝึกผูว้ จิ ยั
ได้บนั ทึกวีดโี อเทปเพือ่ ยืนยันถึงความสามารถของผูด้ แู ล
ในการฝึก และเห็นผลสาเร็จกับเด็กออทิสติกจริง
ระยะเวลาในการศึกษา
สิงหาคม – ธันวาคม 2555
ประโยชน์ทจ่ี ะได้รบั จากการวิจยั
1. ผูด้ แู ลสามารถฝึกการใช้ภาพเพือ่ การสือ่ สารกับเด็กออทิ
สติกได้ถกู ต้อง
2. เด็กออทิสติกมีพฒ
ั นาการตามแผนการรักษา
3. ได้องค์ความรูท้ เ่ี ป็ นระบบทีส่ ามารถเผยแพร่ให้กบั ผูท้ ่ี
ต้องการใช้PECS ในการฝึกเด็กออทิสติก
อ้างอิง
• คนึงนิจ ไชยลังการณ์.รายงานการวิจยั เรือ่ ง การใช้ร บบแลกเปลี่ยนภาพเพื่อการ
สรื่อสรารต่อความสรามารถทางภาษาบุคคลออทิสรติกที่สรามารถสรื่อสรารเป็ นคา
หรือวลี.โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่,2547.
• คนึงนิจ ไชยลังการณ์ หัวหน้าหอผูป้ ว่ ยจิตเวช รพ.มหาราชนครเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่
(เก็บข้อมูลช่วงการวิเคราะห์สภาพปญั ญาของงานวิจยั ,ธันวาคม 2554 การค้นคว้า
แบบอิสระ).
• จงจิต ไชยวงค์.การพัฒนาทักษ การสรื่อสรารของนักเรียนที่มีความบกพร่องทาง
สรติปัญญาโดยร บบแลกเปลี่ยนรูปภาพเพื่อการสรื่อสราร.วิทยานิพนธ์ ศึกษา
ศาสรตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่,2550.
• ชูศกั ดิ ์ จันทยานนท์. (ม.ป.ป.).เด็กออทิสรติกคือใคร.[ร บบออนไลน์ ].แหล่งทีม่ า
http://www.thaiparents.com/
tot_autism.html#label1. (2 ธันวาคม 2554).
• ณพศิษฎ์ จักรพิทกั ษ์. ทฤษฎีการจัดการความรู.้ กรุงเทพฯ :ธนาเพลส, 2552.
• เดือนฉาย แสงรัตนายนต์.ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการฝึ กพูด. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
คุรสุ ภา, 2545
• ทวีศกั ดิ ์ สิรริ ตั น์เรขา.2549.ออทิสรติกAutistic Disorder. [ระบบ
ออนไลน์].แหล่งทีม่ าhttp://www.happyhomeclinic.com/au02autism.htm. (2 ธันวาคม 2554).
• ทิพวรรณปิ โยปกรณ์.การใช้ร บบแลกเปลี่ยนภาพเพื่อการสรื่อสรารในการ
พัฒนาการสรื่อสรารของเด็กออทสริติก ศูนย์การศึกษาพิเศษปร จา จังหวัด
จันทบุรี.วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสรตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่,2549.
• นุชนาถ แก้วมาตร.คู่มือเบือ้ งต้นการใช้ร บบแลกเปลี่ยนภาพเพื่อการสรื่อสราร
(The Picture Exchange Communication System :
PECS) เชียงใหม่ : หอผูป้ ว่ ยจิตเวชเด็ก โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่,
2548.
• นุชนาถ แก้วมาตร.การใช้ภาพเพื่อพัฒนาความสรามารถด้านการสรื่อสรารของเด็กออทิสรติก.
วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่,2547.
• ผดุง อารยะวิญญู. วิธีสรอนเด็กออทิสรติก. กรุงเทพฯ : ราไทย เพลส, 2546.
• ภัทราภรณ์ ทุง่ ปนั คา และคะนึงนิจ ไชยลังการณ์. รายงานการวิจยั เรือ่ งอุปสรรรค แล ความต้องการ
การช่วยเหลือในการดูแลเด็กออทิสรติก. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,2546
• พฤษภ์ ไชยลังการณ์.การแสวงหาและแลกเปลีย่ นข้อมูลเกีย่ วกับเด็กออทิสติกของผูป้ กครองเพือ่ พัฒนา
ศักยภาพเด็กออทิสติก.วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,2552.
• วิจารณ์ พานิช.2554. การจัดการความรู้. [ระบบออนไลน์].แหล่งทีม่ า
http://www.kmi.or.th/kmi-articles/prof-vicharn-panich/28-0001intro-to-km.html. (2 ธันวาคม 2554).
• วิลาสินี แก้ววรา.การใช้เพ็คสร์เพื่อสร่งเสรริมความรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษแล ความสรามารถด้านการ
พูดภาษาอังกฤษของเด็กออทิสรติก.วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
,2550.
• วันทนีย์ เรียงไรสวัสดิ ์.2552.ผลการใช้ร บบการแลกเปลี่ยนภาพเพื่อการสรื่อสรารในการพัฒนา
ทักษ การสรื่อสรารสราหรับนักเรียนออทิสรติกร ดับปฐมวัย โรงเรียนกาวิล อนุกลู จ.เชียงใหม่.(ระบบ
ออนไลน์).แหล่งทีม่ า
www.kroobannok.com/board_view.php?b_id=29490(24พฤศจิกายน
2554)
• ศูนย์ฝึกอาชีพออทิสติกไทย.การอบรมเรื่อง ทางเลือกการพัฒนาทักษ ทางภาษาโดยการ
แลกเปลี่ยนรูปภาพ Picture Exchange Communication System.
(ม.ป.ป.).[ระบบออนไลน์].แหล่งทีม่ า
http://www.autisticthai.org/newaus/training%20pecs.htm. (1
ธันวาคม 2554).
• สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี. (ม.ป.ป.).คู่มือฝึ กแล ดูแลเด็กออทิสรติก กลุ่มงานจิตเวชเด็ก
แล วัยรุ่นสรถาบันสรุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี. [ระบบออนไลน์].แหล่งทีม่ า
http://www.goodhealth.in.th/web/node/431.(2 ธันวาคม 2554).
• สุประภาดา โชติมณี. Modern KM applications in business
management จัดการความรู้อย่างไรให้ได้ผลกับทุกร บบ. กรุงเทพฯ : สถาบันเพิม่ ผลผลิต
แห่งชาติ, 2551
• สุวชั รา จุน่ พิจารณ์.(ม.ป.ป.).การบริหารจัดการความรู้ (Knowledge Management).
[ระบบออนไลน์].แหล่งทีม่ า
http://www.pharmacy.cmu.ac.th/admin/files_team/knowledge.p
df. (2 ธันวาคม 2554).
• อุมาพร ตรังคสมบัต.ิ ช่วยลูกออทิสรติก. กรุงเทพฯ :ซันต้าการพิมพ์, 2545.