การสอบสวนการระบาดของผู้ป่วยรับประทานสารพิษตำบล ทุ่งข้าวพวง อำเภอ

Download Report

Transcript การสอบสวนการระบาดของผู้ป่วยรับประทานสารพิษตำบล ทุ่งข้าวพวง อำเภอ

การสอบสวนการระบาดของผู้ป่วยรับประทานสารพิษ
ตาบล ทุ่งข้ าวพวง อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
วันที่ 29 พฤศจิกายน 2556
SRRT อาเภอเชียงดาว
1
ความเป็ นมา
วันที่ 29 พฤศจิกายน 2556
ได้ รับแจ้ งพบผู้ป่วย จานวน 3 ราย เป็ นเพศชาย 2 ราย เพศหญิง
1 ราย อาศัยอยู่บ้านขุนคอง ตาบลทุ่งข้ าวพวง อาเภอเชียงดาว จังหวัด
เชียงใหม่ มาห้ องฉุกเฉินด้ วยอาการ
“หนังตาตก ปากตก กล้ ามเนื้ออ่ อนแรง หน้ ามืด
แน่ นหน้ าอก หายใจลาบาก ไม่ ร้ ูสึกตัว กระวนกระวาย
อาเจียน อุจจาระร่ วง ปั สสาวะราด”
สอบถามญาติผู้ป่วยและบุคคลทีเ่ ห็นเหตุการณ์ พบว่ า
ผู้ป่วยทั้งสามรายดื่มสุ ราทีด่ องสมุนไพร ทีใ่ ช้ สาหรับทาภายนอก
แพทย์ วนิ ิจฉัย toxin induced DIC
2
วัตถุประสงค์
1. เพือ่ ยืนยันการวินิจฉัยและการระบาดของโรค
2. เพือ่ ศึกษาลักษณะทางระบาดวิทยาของโรคตามบุคคล
เวลา สถานที่
3. เพือ่ ค้ นหาสาเหตุ และปัจจัยเสี่ ยงของการเกิดโรค
4. เพือ่ หาแนวทางและมาตรการในการป้องกันควบคุมโรค
3
วิธีการศึกษา
• การศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา
โดยศึกษาสถานการณ์ การระบาดของเหตุการณ์ ในอดีต และ
เก็บรวบรวมข้ อมูลผู้ป่วยและค้ นหาผู้ป่วยเพิม่ เติมโดยการสั มภาษณ์
ครอบครัวและในชุมชน
4
นิยามผู้ป่วย
ผู้ป่วย หมายถึง ประชาชนในพืน้ ทีบ่ ้ านขุนคอง หมู่ 6 ตาบลทุ่งข้ าวพวง
อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ที่มีอาการหนังตาตก ปากตก
กล้ามเนือ้ อ่อนแรง หน้ ามืด แน่ นหน้ าอก หายใจลาบาก อย่ างน้ อย 2
อาการ ในระหว่ างวันที่27- 29 พฤศจิกายน 2557
5
การศึกษาสิ่ งแวดล้ อม
สำรวจสภำพทั่วไปที่มำของพืชสมุนไพรและลักษณะของพืช
ในพืน้ ที่บ้ำนขุนคอง และค้ นหำในสื่ออิเล็กโทรนิกส์
6
ผลการสอบสวน
7
ข้ อมูลทั่วไป
สภาพภู มิศาสตร์ ของ บ้ านขุนคอง
หมู่ 6 ต าบลทุ่ ง ข้ า วพวง อ าเภอเชี ย งดาว
จังหวัดเชี ยงใหม่ ระยะทางห่ างจากตัวอาเภอ
เชี ย งดาว 47 กิโ ลเมตร อยู่ ร ะหว่ า งทางไป
อ าเภอเวี ย งแหง การคมนาคมสะดวก
ลักษณะถนนลาดยาง เป็ นทีร่ าบสู ง พืน้ ทีเ่ ป็ น
ป่ าสนสลับป่ าดิบเขา
มีประชากรบ้ านขุนคองอยู่ในเขตรับผิดชอบ
ของโรงพยาบาลส่ งเสริมสุ ขภาพตาบลทุ่ง
ข้ าวพวง ทั้งหมด จานวน 850 คน ส่ วน
ใหญ่ เป็ นชาวเผ่ าลีซอ รองลงมาเป็ นคนจีน
และไทยใหญ่ ส่ วนใหญ่ ประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม ปลูกข้ าวโพด ปลูกข้ าว ปลูก
กะหลา่ ปลี
8
การศึกษาผู้ป่วย
เพศหญิง อายุ 34 ปี
เพศชาย อายุ 43 ปี
เพศชาย อายุ 35 ปี
Cirrhosis (ตับแข็ง)
มีอาชีพรับจ้ างทางการเกษตร ลักษณะการบริโภคสุ ราจะดืม่ เป็ นประจาทุกวัน
ผู้ป่วยทั้งสามรายดืม่ สุ ราทีด่ องสมุนไพรเอาไว้ ด้วยกันในช่ วงเวลาก่อน
รับประทานอาหารเช้ าและมีอาการช่ วงขณะทีก่ าลังจะรับประทานอาหารเช้ า
ชาวบ้ านช่ วยกันนาส่ งถึงโรงพยาบาลเชียงดาว ในเวลา 10.50 น.
• หนังตาตก ปากตก กล้ามเนือ้ อ่อนแรง หน้ ามืด แน่ นหน้ าอก หายใจลาบาก
แพทย์ วนิ ิจฉัย toxin induced DIC
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
โรงพยาบาลนครพิงค์
9
อาการแสดงทีต่ รวจพบและการรักษาใน โรงพยาบาลเชียงดาว แยกรายบุคคล ดังนี้
รำยที่1
รำยที่ 2
รำยที่ 3
ผู้ป่วยเพศหญิง อำยุ 34 ปี
ดื่มเป็ นรำยแรก
ดื่มสุรำดองสมุนไพร 15 cc.
มีอำกำรดังนี ้
มีสำรคัดหลั่งในปอดทัง้ สองข้ ำง
หัวใจเต้ นเร็วมำกกว่ ำ120ครัง้ /
นำที
ตรวจเบือ้ งต้ น E3V2M4 (อำกำร
ตอบสนองลดลง)
ล้ ำงท้ องของเหลว3,500 cc
ลักษณะนำ้ สีนำ้ ล้ ำงเนือ้
ใส่ ท่อช่ วยหำยใจและเติมนำ้ เกลือ
ยำช่ วยในกำรแข็งตัวของเลือด
ให้ ผงถ่ ำน
ส่ งต่ อโรงพยำบำลมหำรำชนคร
เชียงใหม่
ผู้ป่วยเพศชำย อำยุ 43 ปี
สำมีของผู้ป่วยเพศหญิง
ดื่มสุรำดองสมุนไพร 30 cc.
มีอำกำรดังนี ้
มีอำกำรกระวนกระวำย
หัวใจเต้ นเร็วมำกกว่ ำ120ครัง้ /
นำที
ตรวจเบือ้ งต้ นE4V5M6
ล้ ำงท้ องของเหลว1,000 cc
ใส่ ท่อช่ วยหำยใจและเติม
นำ้ เกลือ
ยำช่ วยในกำรแข็งตัวของเลือด
ให้ ผงถ่ ำน
ส่ งต่ อโรงพยำบำลนครพิงค์
ผู้ป่วยเพศชำย อำยุ 35 ปี
ผู้นำสุรำมำให้ ด่ มื
ดื่มสุรำที่ดองสมุนไพร 30 cc.
มีอำกำรดังนี ้
สำรคัดหลั่งในปอดทัง้ สองข้ ำง
ตรวจเบือ้ งต้ น E4Vt M6 (ใส่ ท่อ
ช่ วยหำยใจ)
ทำกำรล้ ำงท้ องของเหลว2,000 cc
ใส่ ท่อช่ วยหำยใจและเติมนำ้ เกลือ
ให้ ยำช่ วยในกำรแข็งตัวของเลือด
ให้ ผงถ่ ำน
ส่ งต่ อโรงพยำบำลนครพิงค์
10
ลักษณะการกระจายของโรคตามเวลา
• จำกกำรสอบสวนกำรระบำด พบผู้ป่วยรำยแรกเริ่มป่ วย วันที่ 29 พฤศจิกำยน
2556 ผู้ป่วยเพศหญิงมีอำกำรเวลำ08.10 น.และพบผู้ป่วยเพศชำย 2 รำยมีอำกำร
ระยะเวลำใกล้ เคียงกันเวลำ 08.15 น.(เวลำโดยประมำณ )
11
ลักษณะการกระจายของโรคตามสถานที่
ผู้ป่วยทั้ง 3 ราย เป็ นชาวเผ่ า
ลีซอ ลักษณะบ้ านที่อยู่อาศัยเป็ นบ้ าน
ปู น ชั้ น เดี ย ว และกระท่ อ มในสวน
กะหล่า ปลี สถานที่ รั บ ประทานสุ ร า
ผสมสมุ น ไพร คือ กระท่ อ มในสวน
เป็ นกระท่ อมไม้ ไผ่ ไม่ ห่างจากตั วบ้ าน
มากนัก ซึ่ งขณะที่เริ่ มมีอาการหนังตา
ตก ปากตก ผู้ป่วยสามารถเดินมาใน
หมู่ บ้ านขอความช่ วยเหลื อ คนใน
หมู่บ้านได้
12
สาเหตุและปัจจัยเสี่ ยง
สมุนไพรทีน่ ามาดองสุ รา ชาวลีซอเรียกว่ า “กวือโนคัวะ”
จากการสอบสวนโรคพบสมุนไพรชนิดนีอ้ ยู่บริเวณใกล้ กบั ทางลาดยาง ประมาณ
3-4 เมตร การขึน้ ของต้ นไม้ ชนิดนีเ้ ป็ นไม้ เลือ้ ยขึน้ เป็ นต้ นเดีย่ ว ระยะห่ างการขึน้ ของต้ นไม้
ประมาณ 6 เมตร
ป่ าไม้ เป็ นประเภทป่ าสนผสมดิบเขา อยู่ในเขตป่ าไม่ ลกึ จากการสอบถามชาวลีซอ
ในอาเภอเชียงดาว ว่ าถ้ าจะนาสมุนไพรมาใช้ ในการบรรเทาอาการปวดกล้ ามเนือ้ มีเฉพาะถิ่น
ที่ บ้ านขุนคอง
13
สาเหตุและปัจจัยเสี่ ยง
จากความเชื่อของชาวบ้ านเชื่อว่ าสมุนไพรชนิดนีเ้ มือ่ นามาดองกับสุ รา
สรรพคุณทางยา ใช้ ส่วนรากดองกับเหล้ าแล้ วทาถูบริเวณ ข้ อและกล้ ามเนือ้ บรรเทา
อาการปวด กระดูกและกล้ ามเนือ้ ถ้ ากิน(เหล้าที่ดองด้ วยราก) เข้ าไปแล้วจะทาให้ มี
พิษเบื่อเมา หมดสติ และ เสี ยชีวติ ในทีส่ ุ ด
ด้ วยความรู้ เท่ าไม่ ถึงการณ์ ของผู้ป่วยที่
นาสุ ราดองสมุนไพร ทีแ่ อบนามาจากห้ องของ
มารดามารับประทานเพราะคิดว่ าเป็ นราก
สมุนไพรชนิดอืน่ เนื่องจากสอบถามผู้ป่วยทั้ง 3
รายรู้ จักและทราบพิษความรุ นแรงของสมุนไพร
ชนิดนี้
14
ผลการตรวจทางห้ องปฏิบัติการ
ผู้ป่วย
โรงพยาบาลเชียงดาวตรวจ CBC ผู้ป่วย
พบว่ ามีค่า WBC ,Platlete
lymphocyte ,Monocyte มีค่าไม่ เกินค่ า
ปกติ ไม่ พบการติดเชื้อไวรัสและแบคทีเรีย
ในผู้ป่วยทั้ง 3 ราย และค่ า Eosinophil มีค่า
ไม่ เกินค่ าปกติ ไม่ พบการติดเชื้อปรสิ ต ผล
UA Alphetamine และ morphine ผลเป็ น
ลบ ทั้ง 3 รายแสดงว่ าไม่ พบสารเสพติดใน
ปัสสาวะ
สุ ราทีด่ อง
สมุนไพร
เก็บตัวอย่ างส่ งตรวจ
กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์
ผลการทดสอบ ตรวจพบ
gelsemine
15
มาตรการควบคุมและป้ องกันโรค
1.เฝ้ าระวังผู้ป่วยจากพืชทีม่ ีพษิ อย่ างต่ อเนื่องเป็ นเวลา 1 สั ปดาห์
2. ให้ สุขศึกษาแก่ประชาชนเรื่องการบริโภคสมุนไพร และห้ ามบริโภค
อาหารทีไ่ ม่ ทราบชื่อ หรือไม่ รู้จัก
3. เขียนฉลากติด เขียนบอกวิธีใช้ เพือ่ การนาไปใช้ ให้ ถูกวิธี และให้ เก็บให้
พ้นจากมือเด็ก
4.ให้ สุขศึกษาเรื่องการรักษาตามความเชื่อทีผ่ ดิ ๆ จากการทุบตีคนไข้
16
วิจารณ์ ผล
จากการสอบสวนการระบาด พบอาหารทีส่ งสั ย คือ พืชภาษาถิน่ ภาษาลีซอ
ชื่อกวือโนคัวะ
มารดาผู้ทรี่ ับประทานรายหนึ่งได้ เก็บพืชชนิดนีผ้ สมในสุ ราดองไว้ ใช้ เพือ่
เป็ นยาแก้ รักษาอาการแก้ ปวดข้ อ ปวดกล้ ามเนือ้
ในวันที่ 29 พฤศจิกายน 2556 นาเอาสุ ราทีม่ ารดานามาดองสมุนไพรไว้ มาดืม่
8.00 น. เริ่มดืม่ ก่ อนรับประทานอาหารเช้ าผู้รับประทานรายแรกได้ มีอาการระหว่ าง
เริ่มรับประทานอาหารเช้ า ซึ่งยังมีสติจึงพากันเดินลงมาในหมู่บ้าน แล้ วบอกอาการ
ชาวบ้ านทีพ่ บเห็น
“ตามความเชื่อของชาวบ้ านเมื่อรับประทานกวือโนคัวะจะต้ องทุบตีผู้
รับประทานโดยต้ นกล้ วย และพาให้ วงิ่ เพือ่ ให้ เหงือ่ ออกตามตัว”
ผู้ป่วยทั้ง 3 ราย ร่ างกายบอบช้า ไม่ รู้ สึกตัว กระวนกระวาย อาการทุกอย่ าง
เหมือนกัน
17
กวือโนคัวะ หรือ เพชฒฆาตสี ทอง
กวือโนคัวะจะมีดอกสี เหลือง จะออกดอกในช่ วงเดือนเมษายน ซึ่งจาก
การศึกษาหาข้ อมูล ของสมุนไพรมีลกั ษณะใบ และดอกคล้ ายกับ “เพชฌฆาตสี ทอง”
หรือ “มะลินรก” “มะเค็ด” ชื่อพฤกษศาสตร์ ทุกส่ วนของต้ นให้ นา้ ยางทีเ่ ป็ นพิษ โดย
จะพบ alkaloid ทีเ่ ป็ นพิษมาก ได้ แก่ Gelsemineพิษดังกล่ าว เมือ่ กินเข้ าไป
จะทาให้ เกิดการหลัง่ นา้ ลายมาก, สมองมึนงง, ความรู้ สึกสั บสน, กระตุ้นระบบ
ประสาทส่ วนกลาง, สั่ น, ชัก และถ้ ามีอาการหนักก็ทาให้ หยุดหายใจได้
เนื่องจากไม่ มีการบันทึกข้ อมูลเกีย่ วกับโรคอาหารเป็ นพิษเนื่องจากการ
รับประทานพืชชนิดนีใ้ นอาเภอเชียงดาว จึงกล่ าวได้ ว่าโรคนีเ้ ป็ นเหตุการณ์ ทไี่ ม่ เคย
พบมาก่ อน ซึ่งแพทย์วนิ ิจฉัย toxin induced DIC ซึ่งเหตุการณ์ นีเ้ ป็ นการ
ระบาดทีเ่ กิดจากสถานทีเ่ ดียวกันเวลาเดียวกันในชุ มชนบ้ านขุนคอง ตาบลทุ่งข้ าวพวง
อาเภอเชียงดาว
18
สรรพคุณ กวือโนคัวะ
ตามความเชื่อของชาวลีซอ จะนารากของสมุนไพรชนิดนีม้ าดอง
กับสุ ราเพือ่ นามาทา บริเวณกล้ามเนือ้ รักษาอาการปวดเมื่อย ในทางยาได้
นามารักษาโรคเนือ้ งอกในโพรงจมูก และเนือ้ งอก ในขนาดต่า ๆ ใช้ เป็ นยาลด
ไข้ ยาชงจากใบมะลินรกเพียงสามใบใช้ เป็ นยาสั่ ง (ตาย) ได้
19
Gelsemine
Gelsemine คือ อัลคาลอยด์ สั นนิษฐานว่ าอาจเป็ นแหล่ง สะสมไนโตรเจนเพื่อ
สร้ างโปรตีน ควบคุมการเจริญเติบโต หรือการงอกของเมล็ดพืชบางชนิด ช่ วยป้ องกันพืช
จากแมลง หรืออาจเป็ นสารที่ได้ จากการทาลายพิษทีเ่ กิดขึน้ ในกระบวนการเมทาบอลิซึม
ของพืช อัลคาลอยด์ ส่วนใหญ่ มักมีรสขมและมีพษิ (ทีม่ า:
http://th/wikipedia/อัลคาลอยด์ )
ฤทธิ์ทางเภสั ชวิทยาและความเป็ นพิษของเพชฒฆาตสี ทองจากงานวิจัย ส่ วนสกัดที่
มี gelsemine ทาให้ เกิดการชักแบบรุ นแรง ซึ่งทาให้ หนูถีบจักรและหนูขาวตาย ส่ วน
สกัดทั้งสองยังมีฤทธิ์คลายกล้ ามเนือ้ เรียบหลอดลมและลาใส้ ของหนูตะเภา และกล้ามเนือ้
เรียบ มดลูกของหนูขาว และมีฤทธิ์ระงับอาการปวดและต้ านการอักเสบ แบบเฉียบพลัน
ในหนูถีบจักรยังสามารถนาไปสู่ การศึกษาเพือ่ พัฒนาสาร เหล่ านีส้ าหรับประโยชน์ ในทาง
ยาต่ อไป(ทีม่ า: ไชยยง รุจจนเวท. ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและความเป็ นพิษของมะเค็ด.
http://www.thaithesis.org/detail.php?id=5439.1997
20
สรุป
การระบาดในครั้งนีพ้ บผู้ป่วยทั้งหมด 3 ราย ในบ้ านขุนคอง หมู่ 6
ตาบลทุ่งข้ าวพวง อาเภอเชียงดาว มีอาการหลังจากรับประทานสุ ราดอง
สมุนไพร
มีสาเหตุและปัจจัยเสี่ ยงจากความรู้เท่ าไม่ ถึงการณ์ เนื่องจากนาสุ รา
ผสมสมุนไพรทีใ่ ช้ สาหรับใช้ ภายนอก นามารับประทาน
เจ้ าหน้ าที่ SRRT ต้ องค้ นหาสาเหตุ และนาตัวอย่ างเพือ่ การ
ทดสอบ และการให้ สุขศึกษาประชาสั มพันธ์ แก่ประชาชน แจ้ งให้ทราบ
ถึงพิษของสมุนไพร แนะนาการเขียนฉลากติดขวดหรือภาชนะทีบ่ รรจุ
ใหม่ รวมถึงไม่ รับประทานสุ ราทีด่ องสมุนไพรทีไ่ ม่ แน่ ใจว่ามีพษิ
21
ข้ อเสนอแนะ
1.แจ้ งให้ ชาวบ้ านในบริเวณใกล้ทเี่ กิดเหตุการณ์ เก็บสุ ราทีผ่ สมสมุนไพร
ป้องกันการนาไปรับประทานต่ อ จากเหตุรู้เท่ าไม่ ถึงการณ์
2.การให้ สุขศึกษาประชาสั มพันธ์ เรื่อง การไม่ รับประทานพืชทีไ่ ม่ รู้จักแน่
ชัด โดยเน้ นการเขียนฉลากติดข้ างขวด และการเก็บให้ พ้นมือเด็ก
3.การแจ้ งข่ าวและการประชาสั มพันธ์ การเกิดเหตุการณ์ จากการดื่มสุ ราผสม
สมุนไพรกวือโนควะ
22
ปัญหาและข้ อจากัดในการสอบสวนโรค
1.เนื่องจากตัวอย่ างพืชสมุนไพร ไม่ ทราบชื่ออย่ างเป็ นทางการ จึงไม่ ทราบ
ข้ อมูลทีช่ ัดเจน และต้ องหาข้ อมูลจากการบอกเล่าของชาวบ้ านทีร่ ู้จัก
ลักษณะดอก เพือ่ ประกอบการหาข้ อมูล
2. การสื่ อสารในการประชาสั มพันธ์ ต้องอาศัยชาวบ้ านในการสื่ อสาร
3. การเก็บตัวอย่ างรากสมุนไพรทีใ่ ช้ ดองสุ ราไว้ จากความเข้ าใจผิดของญาติ
คนไข้ ทาให้ ตัวอย่ างสู ญหาย เจ้ าหน้ าทีต่ ้ องให้ ญาตินามาให้ อกี ครั้ง
23
กิตติกรรมประกาศ
การศึกษาในครั้งนีไ้ ด้ รับความร่ วมมือจากบุคคลและหน่ วยงานต่ าง ๆ ดังนี้
1.กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ จังหวัดเชียงใหม่ ที่ให้ ความ
อนุเคราะห์ การตรวจทางห้ องปฏิบัติการ
2.เจ้ าหน้ าที่โรงพยาบาลส่ งเสริมสุ ขภาพตาบลทุ่งข้ าวพวงที่
ประสานงานกับชาวบ้ าน
3.ชาวบ้ านทีใ่ ห้ ข้อมูลพืชสมุนไพร และข้ อมูลสถานการณ์ การเกิด
โรค
คณะผู้สอบสวนโรค ขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้
24
เอกสารอ้ างอิง
สุ ริยะ คูหะรัตน์ และคณะ.นิยามโรคติดเชื้อประเทศไทย.พิมพ์ครั้งที่ 2
สานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค; 2546
ศูนย์ วทิ ยาศาสตร์ การแพทย์ ที่ 10.คู่มือการให้ บริการ พ.ศ. 2555,การ
ให้ บริการของงานพิษวิทยา หน้ า 27-30,กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ กระทรวง
สาธารณสุ ข;2555
กรรณิกา คงตัน. “"ช่ วย หรือ ฆ่ า" กับ “กือหนื่อขว่ า” สมุนไพรมรณะ
ของชาวลีซู”. GotoKnow.org,
http://www.gotoknow.org/posts/135324 , 2551 .
ธวัชชัย วงศ์ ประเสิ ร์ฐ. “พืชทีใ่ ห้ สารออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
(Psychotropic Plants)”.
http://www.slideshare.net/wslord/psychotropicplants, 11 ธันวาคม 2554
25
26