c4d- ประชุมไอโอดีน dla - update อ.นภัทร

Download Report

Transcript c4d- ประชุมไอโอดีน dla - update อ.นภัทร

การสื่อสาร และความร่วมมือ
ในชุมชนเพื่อป้ องกัน
โรคขาดสารไอโอดีน
นภัทร พิศาลบุตร
องค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย
หัวข้อ
1.
2.
3.
4.
5.
ทำไมต้องส่งเสริมเรือ่ งไอโอดีน
กำรสือ่ สำรเพือ่ พัฒนำพฤติกรรมและสังคม
สือ่ สำรเรือ่ งไอโอดีนอย่ำงไรให้ได้ผล
แนวทำงทีช่ ่วยส่งเสริมกำรใช้เกลือเสริมไอโอดีนในท้องิิน่
(ของแิม)
การป้ องกันโรคขาดสารไอโอดีน
• ปี พ.ศ. 2537 องค์การอนามัยโลกและองค์การยูนิเซฟ
เห็นว่า เกลือเสริมไอโอดีน เป็ นมาตรการดาเนินการที่
ประหยัดที่สดุ และเป็ นกลยุทธ์ท่ยี ่ังยืนในการป้ องกันโรค
ขาดสารไอโอดีน
การป้ องกันโรคขาดสารไอโอดีน
• ในการประชุมสมัชชาใหญ่สหประชาชาติ วาระพิเศษเรื่อง
เด็กในพ.ศ. 2545 รัฐบาลนานาชาติ รวมทั้งรัฐบาลไทย
เห็นพ้ องว่าจะต้ องกาจัดโรคขาดสารไอโอดีนให้ หมดไป
ภายในปี พ.ศ. 2548 โดยให้ มีกำรส่งเสริมกำรบริโภค
เกลือเสริมไอโอดีนอย่ำงิ้วนหน้ำ (Universal Salt
Iodization)
–หมายความว่าประชากรร้ อยละ 90 ทั่วประเทศ จะต้ องกิน
เกลือเสริมไอโอดีน
ทาไมต้องเป็ นเกลือ?
• เกลือเป็ นสารชนิดเดียวในโลกที่คนต้ องรับประทานทุกวัน
ในปริมาณใกล้ เคียงกัน ไม่ว่าจะเป็ นวัฒนธรรม เชื้อชาติ
เพศ และฐานะทางเศรษฐกิจแบบใด
• ค่าใช้ จ่ายในการผลิตเกลือเสริมไอโอดีนเพียงประมาณ
0.04 ดอลล่าร์สหรัฐฯ ต่อปี ต่อคน (ไม่ถงึ 2 บาท)
• 1 ดอลล่าร์ท่ใี ช้ ไปในการป้ องกันโรคขาดสารไอโอดีนจะได้
ผลลัพธ์เป็ นกาไรกลับมาถึง 28 ดอลล่าร์
ผลของกำรขำดสำรไอโอดีนต่ออนำคตของชำติ
• ถ้ าประชาชนไม่ได้ รับไอโอดีนเพียงพอ จะสามารถส่งผลร้ ายต่อ
พัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก และประสิทธิภาพในการ
ทางานของผู้ใหญ่
• ยิ่งในกลุ่มประชากรยากจน ก็ย่งิ ส่งผลให้ เกิดความเหลื่อมลา้
ทางเศรษฐกิจอย่างถาวรขึ้น
กลยุทธ์ที่ยงยื
ั ่ นในการป้ องกันโรคขาดสารไอโอดีน
• มำตรกำรทีช่ ่วยให้มีเกลือเสริมไอโอดีนทีม่ คี ุณภำพขำย
ในพื้ นที่ เป็ นวิธีทีง่ ่ำยและยังยื
่ นทีส่ ุด
• การให้ ความรู้และส่งเสริมการปฏิบัติเป็ นสิ่งทีเ่ ราต้ องทา
แต่ถ้าใช้ วิธนี ้ อี ย่างเดียว อาจจะยากและนานกว่าจะเกิดผล
(2555)
90
80
82.1
79.9
80.1
77.3
70.9
70
60
54
50
40
30
20
10
0
Series 1
โภชนาการของเด็กไทย
นมแม่ อย่ างเดียว 6
เดือน
บริโภคเกลือ
เสริมไอโอดีน
ทุพโภชนาการ
เรื อ้ รั งปานกลาง
รา่ รวยมาก
8.6
87.3
10.6
รา่ รวย
11.3
80.0
10.9
ปานกลาง
12.2
73.2
15.5
ยากจน
13.5
63.0
19.9
ยากจนมาก
15.8
53.7
23.1
กำรสือ่ สำรเพือ่ พัฒนำพฤติกรรมและสังคม
Communication for Development
ทำไมเรำิึงจำผลิตภัณฑ์ต่ำงๆได้
และอยำกทำ อยำกซื้ อตำมทีโ่ ฆษณำบอกเรำ
• เพราะบริษัทเหล่านี้ร้ จู ักใช้ การสื่อสาร
• เริ่มจากการวิจัยกลุ่มผู้บริโภค รับฟังความคิดเห็นของผู้บริโภค/ลูกค้ า
การวิจัยตลาด ตั้งเป้ าหมาย วางนโยบายที่เหมาะสมสาหรับแต่ละกลุ่ม
ตลาด กลยุทธ์การส่งเสริมการตลาด ค่าใช้ จ่ายและทรัพยากร
• บริษัทโฆษณาถามเด็กๆถึงสิ่งที่พวกเขาชอบ เพื่อจะผลิตสินค้ าและ
โฆษณาที่ดึงดูดเด็กๆ
• บริษัททุ่มเทงบประมาณและบุคลากรจานวนมาก กว่าจะได้ ผลิตภัณฑ์
และโฆษณาออกมาแต่ละชิ้น
แล้วเรำล่ะ
กำรสือ่ สำรทีผ่ ่ำนมำ
• เรำมุ่งให้ขอ้ มูลแก่กลุ่มเป้ำหมำย
ในแต่ละเรือ่ ง
• บำงครั้งเป็ นกำรสือ่ สำรทำงเดียว
• นำเสนออย่ำงไม่น่ำสนใจ
กำรสือ่ สำรที่ผ่ำนมำ...
 กลุ่มเป้ำหมำยรับข่ำวสำรโดยไม่มี
ควำมเข้ำใจ ไม่สำมำริตีควำมหรือจับ
ใจควำมได้
 ไม่ตอบสนอง เนือ่ งจำกขัดแย้งกับเจต
คติและควำมเชื่อ ไม่มีแรงจูงใจ ไม่มี
กำรสนับสนุนจำกรอบข้ำง
 กระบวนกำรไม่ได้ิูกออกแบบให้
ต่อเนือ่ งไปิึงกำรปรับเปลีย่ น
พฤติกรรม
กำรสือ่ สำรทีจ่ ะช่วยให้เกิดพฤติกรรม ต้อง
เป็ นกระบวนกำรสือ่ สำรสองทำง มีกำร
แลกเปลีย่ นทัศนคติ ควำมรู ้ ควำมคิดเห็น
สือ่ สำรด้วยวิธีทีน่ ่ำสนใจ เชื่อมโยงควำมคิด
เข้ำสู่ชีวิตจริง เพือ่ ให้เกิดแนวทำงปฏิบตั ิที่
ยังยื
่ นได้
• ดังนั้น กำรวำงแผนสือ่ สำรและกิจกรรมกำรมีส่วนร่วม
เพือ่ พัฒนำหรือปรับเปลีย่ นพฤติกรรมของ
กลุ่มเป้ำหมำยในชุมชน จึ งสำคัญมำก
ในอันดับแรก เรำต้องเข้ำใจเกีย่ วกับพฤติกรรมก่อน
พฤติกรรม
• การพัฒนาหรือปรับเปลีย่ นพฤติกรรมต้องใช้เวลามาก
คนบางกลุม่ เท่านัน้ ทีอ่ าจจะเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมได้เร็ว
คนส่วนใหญ่เปลีย่ นแปลงช้าๆ
และยังมีคนกลุม่ เล็กจานวนหนึ่งยิง่ เปลีย่ นได้
ช้าๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ
• เพราะฉะนัน้ ในการวางแผนโครงการ เราต้องคานึ งด้วยว่า
การจัดกิจกรรม 1 ครัง้ อาจจะไม่ส่งผลให้เกิดการเปลีย่ น
พฤติกรรมได้
ทีส่ ำคัญ
• พฤติกรรมไม่ได้เกิดจำกตัวบุคคลหรือควำมรูเ้ พียง
อย่ำงเดียว แต่เกิดจำกหลำยปั จจัย ทั้งภำยนอกและ
ภำยใน
• มีคนจำนวนกีเ่ ปอร์เซ็นต์ทีส่ ำมำริพัฒนำหรือ
ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมหลังจำกกำรได้รบั ข้อมูลเพียง
อย่ำงเดียว
น้อยกว่ำ 5%!!!
การให้ข้อมูลเป็ นขัน้ ตอน
สาคัญที่จะนาไปสู่การทา
พฤติกรรม
แต่ข้อมูลอย่างเดียว ไม่
สามารถเปลี่ยนพฤติกรรมได้
ดังนั้น ิ้ำเรำอยำกเปลีย่ นพฤติกรรมคนให้สำเร็จและ
ยังยื
่ น เรำต้องคำนึงิึงกำรเปลีย่ นคนรอบข้ำง ปั จจัยรอบ
ข้ำง และมิติทำงสังคม ทีม่ ีผลต่อพฤติกรรมด้วย
เป็ นทีม่ ำของ กำรสือ่ สำรเพือ่ พัฒนำพฤติกรรมและสังคม
กำรสือ่ สำรเพือ่ พัฒนำพฤติกรรมและสังคม C4D
• C4D = Communication for Development
• มีเป้ าหมายเพื่อส่งเสริมให้ เกิดการพัฒนาพฤติกรรมและสังคมให้
เปลี่ยนแปลงไปในทางดีข้ นึ
• มีกระบวนการวางแผนการสื่อสารอย่างเป็ นขั้นเป็ นตอน
• ใช้ วิธกี ารสื่อสารหลากหลายรูปแบบ ผสมผสานกับการเรียนรู้
อย่างมีส่วนร่วม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาพฤติกรรมขึ้นจริง
3 ยุทธศำสตร์ของ C4D
• กำรสือ่ สำรเพือ่ พัฒนำพฤติกรรม = การสื่อสารที่ส่งผลต่อความรู้ ทัศนคติ
และการปฏิบัติของกลุ่มเป้ าหมายหลัก เน้ นให้ กลุ่มเป้ าหมายได้ รับข้ อมูล ชัก
จูง โน้ มน้ าว และกระตุ้น ให้ เกิดการเรียนรู้ร่วมกันและนาไปปฏิบัติ
• กำรระดมพลังทำงสังคม = กระตุ้นให้ กลุ่มต่างๆในสังคม หรือหน่วยงาน
หันมาร่วมกันสร้ างความตระหนัก และเรียกร้ องให้ เข้ ามาร่วมกันทาให้
เป้ าหมายประสบความสาเร็จ
• กำรผลักดันนโยบำย = สะท้ อนข้ อมูลไปที่ผ้ ูมีอานาจในการตัดสินใจหรือ
ผู้บริหาร เพื่อให้ เกิดกฏหมาย นโยบาย ที่เอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมและ
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ตัวอย่ำง: กำรบริโภคเกลือเสริมไอโอดีน
การสื่อสารเพื่อพัฒนา
พฤติกรรมและสังคม
• ให้ ความรู้เกี่ยวกับ
ความสาคัญของสาร
ไอโอดีน
• สอนการเลือกซื ้อเกลือ
เสริ มไอโอดีน
• แก้ ไขความเข้ าใจที่ผิด
กำรระดมพลังทำง
สังคม
การผลักดันเชิง
นโยบาย
• ดึงภาคีเครื อข่ายมา
ช่วยสนับสนุน เช่น
ร้ านค้ าโรงเรี ยน สื่อ
ในชุมชน
• ออกมาตรการเพื่อ
เฝ้าระวังคุณภาพ
เกลือเสริมไอโอดีน
• เสนอให้ อยูใ่ นแผน
มีงบประมาณ
สนับสนุน
สื่อสารเรื่องไอโอดีนอย่ างไรให้ ได้ ผล
สือ่ สำรอย่ำงไรให้ได้ผล
1. เข้ าใจกลุ่มเป้ าหมาย
2. เลือกวิธสี ่อื สารที่หลากหลาย
3. ใช้ การเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม
1. เข้ำใจกลุ่มเป้ำหมำย
ใครมีส่วนในกำรตัดสินใจซื้ อเกลือเสริมไอโอดีนมำใช้ที่
บ้ำน
 เด็ก
 แม่ของเด็ก
 แม่ของแม่, เพื่อนบ้ าน
 เจ้ าของร้ านค้ า
 ผู้นาชุมชน ครูท่โี รงเรียน แม่ค้าขายอาหาร
ดังนั้น อำจมีกลุ่มเป้ำหมำยหลำยกลุ่ม
กำรสือ่ สำรจึ งไม่ควรใช้วิธีเดียว ไม่ใช้ผูส้ ื่อสำรกลุ่มเดียว
2. เลือกวิธีสือ่ สำรที่หลำกหลำย
• มีการวางแผนการสื่อสารที่ดี เหมาะสมกับท้ องถิ่น
• สื่อสารด้ วยวิธหี ลากหลายแต่ตรงประเด็น
• เน้ นพฤติกรรมที่อยากให้ ทา และหาสิ่งที่จะ “จูงใจ” ให้ แต่ละ
กลุ่มเป้ าหมายอยากทาพฤติกรรมนั้น
• ดาวน์โหลดได้ จากเวปของสานักโภชนาการ กรมอนามัย
http://nutrition.anamai.moph.go.th
3. ใช้กำรเรียนรูอ้ ย่ำงมีส่วนร่วม
• กำรมีส่วนร่วม คือวิธีทีจ่ ะทำให้คนจดจำ และทำให้กำร
ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมสำมำริคงอยู่ได้
• ฟังอย่างเดียว ไม่ก่อให้ เกิดพฤติกรรมที่ย่ังยืน
• มีส่วนร่วมขนาดไหน?
–เข้ าร่วมประชุม
–ร่วมซักถาม พูดคุย
–ร่วมคิด ทดลองปฏิบตั ิ และพูดคุยเกี่ยวกับการปฏิบตั ิน้นั
3. ใช้กำรเรียนรูอ้ ย่ำงมีส่วนร่วม
ทำอย่ำงไรให้มีส่วนร่วม
• ได้ รับการกระตุ้นให้ พูดคุย ตั้งคาถาม เพื่อขยายความเข้ าใจ
ให้ ชัดเจน
• ได้ บ่งชี้ปัญหา พัฒนา และค้ นหาคาตอบด้ วยตัวเอง
• กลุ่มใหญ่  มีส่วนร่วมน้ อยลง
แนวทางที่ช่วยส่ งเสริมการใช้
เกลือเสริมไอโอดีนในท้ องถิ่น
1. Supply & Demand
• ต้ องมีท้งั อุปสงค์และอุปทาน คือทาทั้งในส่วนของผู้บริโภค และผู้ผลิต/
ผู้จาหน่าย
• ถ้ าประชาชนในชุมชนมีความรู้ความเข้ าใจ แต่ไม่สามารถหาซื้อเกลือ
เสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพได้ ความรู้น้ันก็ไม่สามารถแปลงเป็ นการ
ปฏิบัติได้
• ถ้ าร้ านค้ านาเกลือเสริมไอโอดีนมาขาย แต่ประชาชนไม่ทราบว่าเกลือ
ชนิดนี้มีประโยชน์อย่างไร ทาไมต้ องกินทุกวัน ก็จะไม่นามาใช้ อย่าง
ถูกต้ อง
2. ควบคุมคุณภำพเกลืออย่ำงสมำ่ เสมอ
• เกลือที่จาหน่ายที่ร้านค้ าต้ องมีสารไอโอดีนในระดับที่ได้ มาตรฐาน
• ตรวจวัดคุณภาพของเกลือเสริมไอโอดีนที่แหล่งผลิต ร้ านค้ า และ
ครัวเรือนอย่างสม่าเสมอ
3. ใช้กำรสือ่ สำรหลำยช่องทำง
ทั้งกิจกรรมใหญ่และเล็กผสมกัน
• การสื่อสารที่จะทาให้ คนจดจาได้ จะต้ องสื่อสารยา้ หลายครั้งจากหลายๆ
แหล่งข่าว
• สื่อสารบุคคล + สื่อสารมวลชน + สื่อขนาดเล็ก เพื่อเป็ นการกระตุ้น
เตือนผู้รับสารอย่างสม่าเสมอ
• เช่น การเยี่ยมบ้ าน หอกระจายข่าว เอกสารแผ่นพับ ป้ ายประชาสัมพันธ์
• การจัดกิจกรรมขนาดใหญ่ เช่น วันไอโอดีนแห่งชาติ มีข้อดีคอื สามารถ
สร้ างกระแสและดึงดูดความสนใจของคนที่มาร่วมงานได้ ดี แต่กม็ ี
ข้ อเสียคือ คนในชุมชนบางกลุ่มอาจไม่ได้ รับข้ อมูล
4. ผนวกกำรเผยแพร่ขอ้ มูลควำมรูเ้ ข้ำกับ
กิจกรรมอื่นๆทีเ่ กีย่ วข้องกัน
• สามารถบูรณาการเรื่องโรคขาดสารไอโอดีน และการใช้ เกลือ
เสริมไอโอดีนเข้ าไปได้ ในหลายโอกาส เช่น พูดถึงในการประชุม
ผู้ปกครองของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก หรือประชาสัมพันธ์ผ่าน
โรงเรียน
• ไม่จาเป็ นต้ องรอให้ จัดกิจกรรมใหญ่เรื่องไอโอดีนโดยเฉพาะ
5. ออกแบบกิจกรรมทีช่ ่วยแก้ไขอุปสรรคทีเ่ กิดจำก
ทัศนคติหรือควำมเชื่อดั้งเดิม
• อุปสรรคใหญ่ท่พี บบ่อย คือ ชาวบ้ านมีความเห็นว่า เกลือเสริมไอโอดีน
ไม่อร่อย หรือนามาใช้ หมักดองไม่ได้ ซึ่งผู้ดาเนินโครงการจาเป็ นต้ องใช้
กิจกรรมและการสื่อสารมาช่วยลดอุปสรรคเหล่านี้
– จัดให้ มีการสาธิตหรือประกวดทาอาหารที่ใช้ เกลือเสริมไอโอดีน
– หาคนที่เป็ นตัวอย่างในชุมชน
6. ทำให้ทุกภำคส่วนรูส้ ึกภูมิใจที่ได้ร่วมกันทำดี
• สื่อสารให้ ผ้ ปู ระกอบการเห็นถึงความสาคัญของการผลิตหรือ
จาหน่ายเกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ เพื่อให้ ร้ สู กึ ภาคภูมิใจ
ในบทบาทของตนต่อการพัฒนาสุขภาพและสมองของเด็กไทย
• ไม้ แข็ง & ไม้ อ่อน คือมีมาตรการทางสังคม หรือบังคับใช้
กฎหมายอย่างจริงจัง แต่ในขณะเดียวกันก็ยกย่อง
ผู้ประกอบการที่ทาได้ ดี ให้ เป็ นตัวอย่างแก่ผ้ ูประกอบการคนอื่น
7. บูรณำกำรควำมร่วมมือ มีส่วนร่วมในกำรวำงแผน
• ให้ ทุกฝ่ ายได้ เข่ามามีส่วนร่วม แสดงความคิดเห็น ตลอดจนระบุ
ปัญหาอุปสรรคต่อการดาเนินการจากมุมมองของตนเอง จึง
เข้ าใจถึงต้ นตอของปัญหา และช่วยกันคิดแก้ ไขปัญหาเหล่านั้น
ได้
8. ผลักดันให้เกิดเป็ นนโยบำยของท้องิิน่
• เน้ นสร้ างความตระหนักและความเข้ าใจแก่ผ้ บู ริหารหน่วยงาน
ต่างๆและผู้นาชุมชน ช่วยสะท้ อนปัญหาละวิธแี ก้ ไขปัญหา เพื่อ
ผลักดันให้ เกิดนโยบายของชุมชนที่ย่งั ยืน
สรุป
• ตอนนี้ ประเทศไทยมีกฏหมายเรื่องเกลือเสริมไอโอดีน การกากับดูแลให้
เกลือที่ขายในชุมชนเป็ นเกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพทั้งหมด เป็ นวิธที ่จี ะ
ได้ ผลดีท่สี ดุ ในการส่งเสริมให้ ทุกคนได้ รับสารไอโอดีนอย่างเพียงพอ
• ในขณะเดียวกัน ก็สามารถสร้ างความเข้ าใจที่ถูกต้ องเกี่ยวกับการใช้ เกลือ
เสริมไอโอดีน เพื่อช่วยให้ ทุกคนได้ รับสารไอโอดีนอย่างเหมาะสม และอุด
ช่องโหว่หากเกลือเสริมไอโอดีนยังไม่ครอบคลุม
• การสร้ างความเข้ าใจที่ถูกต้ อง จาเป็ นต้ องใช้ การสื่อสารชัดเจน เหมาะสม มี
ส่วนร่วม เพื่อให้ เกิดพฤติกรรมที่ย่งั ยืน
เดี๋ยวนะ มีของแถมค่ ะ.....
SMS ครอบครัวผูกพัน
วัติุประสงค์โครงกำร
• เพื่อให้ บริการส่งข้ อความสั้น (SMS) เกี่ยวกับสุขภาพ
อนามัยแม่และเด็ก ผ่านโทรศัพท์มือถือไปยังหญิงตั้งครรภ์
และแม่ท่มี ีลูกอายุแรกเกิดถึงสองปี หรือครอบครัว เพื่อ
ส่งเสริมให้ ประชาชนมีความรู้ ความสามารถ ในการดูแล
รักษาสุขภาพของแม่และเด็กให้ ดีย่งิ ขึ้น
• ความร่วมมือระหว่างกรมอนามัย ยูนิเซฟ และดีแทค
กำรให้บริกำร
• ผู้ท่สี มัคร จะได้ รับข้ อความผ่าน
SMS วันละ 1 ข้ อความ
• ข้ อความจะเหมาะสมสาหรับช่วง
อายุครรภ์ หรืออายุของลูก
• ยกเลิกได้ เมื่อต้ องการ
ตัวอย่ำง SMS ตั้งครรภ์
ไอโอดีนช่วยการเจริญเติบโตของสมองลูก
ป้ องกันลูกปัญญาอ่อน แม่ควรกินยาเม็ดเสริม
ไอโอดีนที่ได้ รับจากร.พ. และใช้ เกลือเสริม
ไอโอดีนในการปรุงอาหาร
ไอโอดีนช่วยการเจริญเติบโตของสมองลูก
ป้ องกันลูกปัญญาอ่อน อย่าลืมกินยาเม็ดเสริม
ไอโอดีนที่ได้ รับ
ถ้ ามีอาการแพ้ ท้องอาเจียนมาก ให้ รับประทาน
อาหารที่ย่อยง่าย รับประทานทีละน้ อย แต่
บ่อยๆ ไม่ต้องเป็ นมื้อ ดื่มนา้ หวาน ไม่ควรดื่ม
นมเพราะย่อยยาก
ร ับข้อมูลฟรี!
ี
ไม่เสย
ค่าบริการ
ก่อนคลอด ควรศึกษาผลดีของการเลี้ยงลูก
ด้ วยนมแม่ คุยกับสามี และครอบครัวเรื่อง
การเลี้ยงลูกด้ วยนมแม่ เลือกแพทย์และ
โรงพยาบาลที่สนับสนุนการเลี้ยงลูกด้ วยนม
แม่
เลือกซื้อเตียง เปล ที่นอน ของลูกอย่างเหมาะสม
จะช่วยให้ ลูกปลอดภัย ลดอุบัติเหตุ
ลูกโตแค่ไหนแล้ ว? สัปดาห์ท่ี 24 ทารกหนัก
ประมาณ 630 กรัม เริ่มมีการสะสมไขมันใต้
ผิวหนัง ดูดนิ้วมือ มีพัฒนาการด้ านการได้ ยิน
ตัวอย่ำง SMS 0-2 ปี
ตั้งแต่แรกเกิดถึงอายุ 2 ปี เด็กเจริญเติบโต
อย่างรวดเร็ว ควรได้ รับการตรวจสุขภาพ ชั่ง
นา้ หนัก วัดความยาว เส้ นรอบวงศีรษะ ทุก
2-3 เดือน
ร ับข้อมูลฟรี!
ี
ไม่เสย
ค่าบริการ
ลักษณะที่สงสัยว่าลูกอาจมีความผิดปกติให้ พาไป
หาหมอ: อายุ 3 เดือน ไม่ชันคอในท่าคว่า, อายุ
4 เดือนไม่ส่งเสียงโต้ ตอบ
ใช้ เกลือเสริมไอโอดีนในการปรุงอาหาร เก็บ
เกลือในที่แห้ ง ไม่ร้อน ป้ องกันการเสื่อมสภาพ
นา้ นมแม่ยังมีคุณค่าสาหรับลูกที่อายุเกิน 6 เดือน
ควรให้ อาหารตามวัย และให้ ลูกกินนมแม่
ต่อเนื่องถึง 2 ปี
สารตะกั่วที่ผสมในสีของเล่น อาจมีผลต่อ
สมองและสุขภาพของเด็กในระยะยาว
นิทานช่วยให้ ลูกเรียนรู้ภาษาได้ เร็ว รักการอ่าน
หนังสือ ช่วยสร้ างสมาธิ
ลูกเลิกขวดนมหรือยัง ถ้ ายังติดขวดนมอยู่ จะ
ก่อปัญหา เช่น ฟันผุ ไม่ยอมกินข้ าว เสีย
โอกาสใช้ มือและปากเพื่อพัฒนาการ
ยาลดไข้ ท่แี นะนาให้ ใช้ ในเด็กคือพาราเซตามอล
ควรหลีกเลี่ยงการใช้ ยากลุ่มแอสไพรินและกลุ่ม
อื่นๆค่ะ
ขั้นตอนกำรสมัคร
• พ่อแม่โทรศัพท์มาสมัคร
– ลูกค้ าดีแทค กด *1515
– ลูกค้ า AIS / True 02-202-8900 (อาจเสียค่าบริการในการโทรครั้งแรก
ตามโปรโมชั่น)
• ระบบตอบรับอัตโนมัติ (IVR) อธิบายเกี่ยวกับบริการนี้อย่างสั้นๆและขอให้
ผู้รับบริการ เลือกช่วงอายุครรภ์หรือช่วงอายุบุตร เพื่อรับข้ อความที่
เหมาะสม
• ไม่มีค่าบริการในการรับ SMS สาหรับทุกเครือข่าย
• หลังจากหมดข้ อความช่วงตั้งครรภ์ 9 เดือน ระบบจะเริ่มส่งข้ อความเด็กแรก
เกิดให้ โดยอัตโนมัติ
ลูกค้ำ/ผูใ้ ช้บริกำร
*1515
IVR
02-202-8900
1.ข้ อมูลสุขภาพ
สาหรับแม่
ตั้งครรภ์
ระบุช่วงอายุ
ครรภ์ของคุณ
แม่ ตั้งแต่ 1-9
เดือน
2.ข้ อมูลดูแล
สุขภาพและ
พัฒนาการของลูก
น้ อยหลังคลอด
ระบุช่วงอายุของ
ลูก ตั้งแต่ 124 เดือน
(อาจเสียค่าบริการในการโทรครั้ง
แรก ตามโปรโมชั่น)
3.ยกเลิกบริการ
เวปไซด์ที่เกีย่ วข้องด้ำนไอโอดีน
• http://www.iodineplease.com
Click to add cover title
Title goes here
โครงการดีๆแบบนี้ ช่วยกันบอกต่อนะคะ
ขอบค ุณค่ะ