ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

Download Report

Transcript ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

การจัดทา COP
ของสานักงานสรรพากรพืน้ ทีส่ มุทรสงคราม
เรื่อง ปัญหาทีพ่ บในการบันทึกข้ อมูลแบบ ภ.ง.ด.3, 53
และความรู้ในเรื่องระเบียบปฏิบัตงิ าน
ประเด็นปัญหา
ปัญหา
1. แบบแสดงรายการ
1.1 ไม่ กรอกเลขประจาตัวฯ ของผู้ถูกหัก
1.2 ไม่ กรอกประเภทเงินได้
1.3 เดือนภาษีไม่ ตรงหน้ าแบบ
1.4 ไม่ เขียนชื่อผู้มเี งินได้
1.5 แบบฯ เขียนด้ วยลายมือ เจ้ าหน้ าที
อ่านไม่ ออก
1.6 ยืน่ ผิดประเภท
ปัญหา
2. ผู้ประกอบการไม่ ให้ ความร่ วมมือในการให้
ข้ อมูล
3. ความไม่ เข้ าใจในระเบียบการปฏิบัติงาน
กรรมวิธีแบบฯ ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย ปี
พ.ศ.2553
4. หน่ วยบันทึกแบบได้ รับแบบล่าช้ า
การดาเนินการการจัดทา COP (ต่ อ)
ปัญหา
 ไม่ กรอกเลขประจาตัวฯ ของผู้หัก
 ไม่ กรอกประเภทเงินได้
 เดือนภาษีไม่ ตรงหน้ าแบบ
 ไม่ เขียนชื่อผู้มีเงินได้
 แบบฯ เขียนด้ วยลายมือ จนท.อ่ านไม่ ออก
 ยืน่ ผิดประเภทแบบ
 ผู้ประกอบการไม่ ให้ ความร่ วมมือ
 ความไม่ เข้ าใจระเบียบการปฏิบัตงิ าน
กรรมวิธีแบบฯ ปี พ.ศ. 2553
 หน่ วยบันทึกแบบได้ รับแบบล่ าช้ า
แนวทางแก้ ไข
 .........................................
 .........................................
 .........................................
 .........................................
 .........................................
 .........................................
 .........................................
 .......................................................................
...........
 .........................................
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ระเบียบกรมสรรพากรว่าด้วยการปฏิบตั ิงานกรรมวิธี
แบบยืน่ รายการภาษีหกั ณ ที่จ่าย พ.ศ. 2553
ในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับ สส.และ สท.
ความหมาย
จานวนเงินที่กฎหมายกาหนดให้ผจู ้ ่ายเงินได้พึงประเมินจะต้อง
หักออกจากเงินได้ก่อนจ่ายให้แก่ผรู ้ ับทุกคราว หรื อเป็ นจานวนเงิน
ภาษีที่ผจู ้ ่ายเงินออกภาษีแทนผูม้ ีเงินได้ตามหลักเกณฑ์วิธีการที่
กฎหมายกาหนดและนาส่ งแล้ว ซึ่งถือเป็ นเงินได้พึงประเมินที่ผเู ้ สี ย
ภาษีได้รับ และเป็ นเครดิตภาษีของผูถ้ ูกหักภาษี ณ ที่จ่ายในการ
คานวณภาษีที่ตอ้ งยืน่ แบบแสดงรายการภาษีประจาปี
วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์
1.บรรเทาภาระภาษี
2.ให้รัฐมีรายได้เข้าคลังอย่างสม่าเสมอ
3.เป็ นธรรมแก่ผมู ้ ีเงินได้
4.ป้ องกัน ปราบปราม การหลบเลี่ยงภาษี
ประเภทภาษีหัก ณ ทีจ่ ่ าย
• ภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่าย
• ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย
แบบยืน่ รายการภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย
หมายถึงแบบยืน่ นาส่ งภาษีรายเดือน และสรุ ปรายปี ดังนี้
นาส่ งภาษีรายเดือน ได้แก่
ภ.ง.ด.1 = เงินเดือน ค่าจ้าง ค่านายหน้าฯ ตามมาตรา 40(1) และ
(2) แห่งประมวลรัษฎากร
ภ.ง.ด.2 = ค่าสิ ทธิ ดอกเบี้ย ปันผลฯ ตามมาตรา 40(3) และ(4)
แห่งประมวลรัษฎากร
ภ.ง.ด.3 = ค่าเช่า วิชาชีพอิสระ รับจ้างทาของ ประกอบธุรกิจ
ตามมาตรา 40(5) (6) (7) และ (8) แห่งประมวลรัษฎากร
แบบยืน่ รายการภาษีหัก ณ ที่จ่าย (ต่ อ)
ภ.ง.ด.53 = กรณี จ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 แห่งประมวล
รัษฎากรฯ ให้แก่ผมู ้ ีหน้าที่เสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคล และต้อง
หักภาษี ณ ที่จ่ายตามมาตรา 3 เตรส หรื อมาตรา 69 ทวิ แห่ง
ประมวลฯ
แบบยืน่ รายการสรุปรายปี ได้แก่
ภ.ง.ด.1ก = เงินเดือน ค่าจ้าง ค่านายหน้าฯ ตามมาตรา 40(1) และ
(2) แห่งประมวลฯ
ภ.ง.ด.1กพิเศษ = เงินเดือน ค่าจ้าง ค่านายหน้า ฯ ตามมาตรา
40(1) และ (2) แห่งประมวลฯ กรณี การตั้งฎีกา
เบิกเงินเฉพาะส่ วนราชการ
แบบยืน่ รายการภาษีหัก ณ ที่จ่าย (ต่ อ)
แบบ ภ.ง.ด.2ก = เงินได้ประเภท ดอกเบี้ย เงินปันผลฯ ตาม
มาตรา 40(4) แห่งประมวลฯ
แบบ ภ.ง.ด.3ก = ค่าเช่า วิชาชีพอิสระ รับจ้างทาของ ประกอบ
ธุรกิจตามมาตรา 40(5) (6) (7) และ (8) แห่ง
ประมวลฯ เฉพาะผูจ้ ่ายเงินที่เป็ นองค์กรรัฐบาล
ผู้มีหน้ าทีห่ ักภาษี ณ ทีจ่ ่ าย
1. บุคคลธรรมดา คณะบุคคล หสม. บริ ษทั
2. หสน. มูลนิธิ สมาคมหรื อนิติบุคคลอื่น
3. รัฐบาล องค์การของรัฐบาล เทศบาล สุ ขาภิบาล หรื อองค์การ
บริ หารราชการส่ วนท้องถิ่นอื่น
4. ผูโ้ อนกรรมสิ ทธิ์หรื อสิ ทธิครอบครองในอสังหาฯ โดยถือว่าผูโ้ อน เป็ น
ผูจ้ ่ายเงินได้
หน้ าทีข่ องผู้หัก ณ ทีจ่ ่ าย
1. หักภาษีไว้ทุกคราวที่จ่ายเงินได้
2. ออกหนังสื อรับรอง
3. นาเงินภาษีส่งอาเภอ
4. จัดทาบัญชีพิเศษ
5. ยืน่ แบบสรุ ปประจาปี
กาหนดเวลาออกหนังสื อรับรอง
1. ม.3 เตรส : ออกทันทีทุกครั้งที่หกั ณ ที่จ่าย
2. ม.50(1) : ภายในวันที่ 15 ก.พ. ของปี ถัดไป (หรื อ 1 เดือนกรณี
ออกจากงานระหว่างปี )
3. ม.50(2,3,4) : ออกให้ทนั ทีทุกครั้งที่มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย
การกรอกรายการในแบบ
1. กรอกรายการให้ครบถ้วน
2. ระบุเดือนที่มีการจ่ายเงินได้พึงประเมินบนหน้าแบบให้ถูกต้อง
3. กรณี คานวณภาษีของผูม้ ีเงินได้รายใด ไม่มีภาษีหกั นาส่ ง ก็ไม่
ต้องแสดงรายการผูม้ ีเงินได้รายนั้นในแบบ ภ.ง.ด.1 แต่สิ้นปี ต้อง
แสดงรายการในแบบ ภ.ง.ด.1ก
กาหนดเวลาการยืน่ แบบนาส่ งภาษี
1. แบบ ภ.ง.ด.1, 2, 3 และ 53 ยืน่ รายการสาส่ งภาษีภายใน 7 วัน นับแต่ วนั
สิ้นเดือนของเดือนที่จ่ายเงินได้ พงึ ประเมิน
2. แบบ ภ.ง.ด.1ก ยืน่ รายการภายในเดือนกุมภาพันธ์ ของปี ถัดไป
3. แบบ ภ.ง.ด.1 กพิเศษ
- กรณี จ่ายเงินได้ตามมาตรา 40(1) ภายในเดือนกุมภาพันธ์ ของปี ถัดไป
- กรณี จ่ายเงินได้ตามมาตรา 40(2) ภายในเดือนมกราคมของปี ถัดไป
4. แบบ ภ.ง.ด.2ก และ 3ก ให้ยนื่ รายการภายในเดือนมกราคมของปี ถัดไป
การรับแบบ (หน้ าที่ของ สส.)
1. จัดให้มีเจ้าหน้าที่รับแบบฯ เพื่อให้คาแนะนาแก่ผปู ้ ระกอบการ
2. พิจารณาความถูกต้องของแบบดังนี้
2.1. เป็ นแบบฯ ที่กรมฯ จัดพิมพ์ หรื อพิมพ์จากเว็บไซต์กรมฯ
2.2. แสดงรายการผูม้ ีเงินได้ถูกต้องตามประเภทแบบฯ
2.3. กรอกรายการให้ครบถ้วน เช่น ชื่อ ที่อยู่ เลขประจาตัว เลขที่สาขา
เดือน ที่จ่ายเงินได้ ฯลฯ
2.3. แบบต่างท้องที่ให้รับแบบไว้แล้วประทับคาว่า “ต่ างท้ องที่” ส่ งให้ทอ้ งที่
ที่รับผิดชอบ ภายใน 3 วันทาการ
2.4. กรณี แบบยืน่ เพิ่มเติมเพื่อปรับปรุ งรายการให้แนะนาให้ระบุเหตุผลด้วย
การนาส่ งแบบ
1. แยกแบบตามแต่ละประเภทแบบ แล้วจัดเป็ นชุด ๆ ละไม่เกิน 100 ฉบับ
แล้วนาส่ ง สภญ.หรื อสานักงานพื้นที่ที่รับผิดชอบ ด้วยงบหน้าชุดเอกสาร
(บ.ช.12.1)และเอกสารนาส่ ง (บ.ช.12)
2. แบบยืน่ ด้วยสื่ อ ให้ประทับ “ยืน่ แบบด้วยสื่ อฯ” ลงบนหน้าแบบ จัดชุดแยก
ต่างหากจากแบบที่เป็ นกระดาษ แล้วนาส่ ง สภญ.หรื อสานักงานพื้นที่ที่
รับผิดชอบ ด้วยงบหน้าชุดเอกสาร(บ.ช.12.1)และเอกสารนาส่ ง(บ.ช.12)
3. นาส่ งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายใน 3 วันทาการ นับแต่วนั ที่ได้รับแบบ
การดาเนินการเกีย่ วกับแบบ (หน้ าที่ สท.)
♣ ส่ วนบริ หารงานทั่วไป เมื่อได้ รับแบบยื่นรายการภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย จากหน่ วยรั บแบบและแบบแนบ
ฎีกาแสดงรายการภาษีแบบ 4117 จากคลังจังหวัดหรื อหน่ วยงานผู้หักนาส่ งแล้ ว ให้ ตรวจนั บแบบยื่น
รายการภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่ายและแบบแนบฎีกาแสดงรายการภาษีแบบ 4117 ว่ ามีจานวนตรงกับที่แสดง
ในหนังสื อนาส่ งหรือไม่ ถ้ าถูกต้ องตรงกันแล้ ว ให้ ส่งแบบดังกล่ าวให้ งานภาษีหัก ณ ทีจ่ ่ ายดาเนินการต่ อไป
♣ งานภาษีหัก ณ ทีจ่ ่ าย เมือ่ ได้ รับแบบจากส่ วนบริหารงานทัว่ ไปให้ ดาเนินการดังนี้
- แยกประเภทแบบ ส่ งแบบทีต่ ้ องบันทึกให้ หน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ องทาการบันทึก
- เรียงแบบตามเลขประจาตัวผู้เสี ยภาษีอากรให้ เริ่มจากหลักที่ 5-9 ซึ่งเป็ นเลขทีอ่ อกให้ แก่ ผู้เสี ย
ภาษีตามลาดับก่ อนหลัง
- เรียงแบบตามเลขประจาตัวประชาชน กรณีผ้ ูหักเป็ นบุคคลธรรมดา
- จัดทาแฟ้ มรายตัวผู้มหี น้ าทีห่ ักภาษี ณ ทีจ่ ่ าย
การบันทึกแบบ
ให้แยกแบบไปบันทึกข้อมูลตามแนวทางปฏิบตั ิการบันทึกและนาส่ งข้อมูลภาษี
เงินได้หกั ณ ที่จ่ายด้วยโปรแกรมการบันทึกข้อมูลภาษีเงินได้หกั ณ ที่จ่าย
(CIT/WT)
นาแบบที่บนั ทึกเรี ยบร้อยแล้วเก็บเข้าแฟ้ มรายตัวผูม้ ีหน้าที่หกั ภาษี ณ ที่จ่าย
การวิเคราะห์ แบบ
1. พิจารณาว่าเป็ นแบบที่ยนื่ ภายในกาหนดเวลาหรื อไม่
2. วิธีคานวณภาษีเงินได้หกั ณ ที่จ่ายถูกต้องตามประมวลรัษฎากร
ภ.ง.ด.1 ตามมาตรา 50(1) แห่งประมวลฯ และคาสั่งกรมสรรพากรที่ ป.96/2543
ภ.ง.ด.2 เป็ นไปตามมาตรา 50(2)แห่งประมวลฯ
ภ.ง.ด.3 เป็ นไปตามมาตรา 50(3)(4) และมาตรา 3 เตรส
ภ.ง.ด53 เป็ นไปตามมาตรา 69 ทวิ และมาตรา 3 เตรส
3. กรณี เป็ นแบบสรุ ปในปี ที่ล่วงมาแล้ว ให้พิจารณายอดรวมเงินได้และ
ภาษีที่นาส่ งต้องเท่ากับแบบรายเดือน จานวนเงินได้อาจมากกว่าหรื อ
เท่ากับแบบรายเดือน แต่ภาษีตอ้ งเท่ากัน
การตรวจสอบ
 กรณี นาส่ งภาษีขาด ให้ยนื่ แบบนาส่ งภาษีเพิ่มเติมเฉพาะส่ วนที่ชาระไว้ขาดให้ครบถ้วน
ถ้ากรณี ที่ผมู ้ ีหน้าที่หกั ภาษี ณ ที่จ่ายไม่ไปยืน่ ภาษีเพิ่มเติมให้จดั ทาหนังสื อแจ้งความตาม
ประมวลรัษฎากร ไปยังผูม้ ีหน้าที่หกั ณ ที่จ่ายเพื่อให้มาชาระภายใน 15 วัน นับแต่ที่
ได้รับหนังสื อ สาหรับขั้นตอนการตรวจสอบให้ปฏิบตั ิตามระเบียบกรมสรรพากรว่า
ด้วยการตรวจสอบภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร พ.ศ.2550
 แสดงเงินได้ไว้เกิน ให้แนะนายืน่ แบบปรับปรุ งรายการ
 การสอบยันภาษีเงินได้หกั ณ ที่จ่ายในหนังสื อรับรองฯกับยอดเครดิตในแบบแสดง
รายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากับจานวนเงินที่นาส่ งจริ งตามที่ปรากฏในแบบหัก ณ
ที่จ่าย
การยืน่ แบบเพิม่ เติม
1. กรณีแสดงเงินได้ + ภาษีไว้ ขาด
: ให้ยนื่ แบบเพิ่มเติมเพื่อชาระภาษี+เงินเพิ่ม ให้ครบถ้วน โดย
1. ให้แสดงรายการเฉพาะรายผูม้ ีเงินได้ที่แสดงไว้ขาด
2. ให้แสดงจานวนเงินได้และภาษี เฉพาะจานวนที่ขาดไปเท่านั้น
2. กรณีแสดงเงินได้ ไว้ ขาด
: ให้ยนื่ แบบเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุ งเงินได้ให้ครบถ้วน โดย
1. ให้แสดงรายการเฉพาะรายผูม้ ีเงินได้ที่แสดงไว้ขาด
2. ให้แสดงจานวนเงินได้ เฉพาะจานวนเงินที่ขาดไปเท่านั้น
การยืน่ แบบเพิม่ เติม (ต่ อ)
3. กรณีนาส่ งจานวนเงินภาษีไว้ ขาด
: ให้ยนื่ แบบเพิม่ เติมเพื่อชาระภาษี+เงินเพิม่ ให้ครบถ้วน โดย
1. ให้แสดงรายการเฉพาะรายผูม้ ีเงินได้ที่แสดงไว้ขาด
2. ให้แสดงจานวนเงินภาษี เฉพาะจานวนที่ขาดไปเท่านั้น
กรณีปรับปรุงรายการทีแ่ สดงไว้ เกิน
• กรณีทแี่ สดงรายการเงินได้ พงึ ประเมินและนาส่ งภาษีไว้ เกิน
1. กรณี แสดงรายการเงินได้และภาษีเกิน ให้ยนื่ แบบเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุ ง ดังนี้
- ให้แสดงเฉพาะรายการผูม้ ีเงินได้ที่แสดงไว้เกิน
- ให้แสดงจานวนเงินได้และภาษีเฉพาะจานวนที่เกินไว้ในวงเล็บ( )
- หมายเหตุ “ยืน่ แบบเดือน..... ปี ...... ได้แสดงรายการเงินได้พึงประเมิน
และนาส่ งภาษีหกั ณ ที่จ่ายไว้เกินไป ขอยืน่ แบบเพิม่ เติมเพื่อปรับปรุ งรายการ”
- แนะนาให้ยนื่ คาร้องขอคืนภาษีในส่ วนที่ชาระไว้เกิน
กรณีปรับปรุงรายการทีแ่ สดงไว้ เกิน (ต่ อ)
• ตัวอย่าง เงินได้ 10,000 บาท แสดงไว้ 100,000 บาท ภาษี 300 บาท
• แสดงไว้ 3,000 บาท (แสดงเงินได้เกินไป 90,000 บาท ภาษี 2,700 บาท)
ลาดับที่
5
ชื่อผูม้ ีเงินได้
นายเต็มใจ เสี ยภาษี
จานวนเงินได้
(90,000)
หมายเหตุ: “ยืน่ แบบเดือน..... ...ปี .... ได้แสดง
ประเมินและนาส่ งภาษี
หัก ณ ที่จ่ายไว้
เพิ่มเติมเพื่อปรับปรุ งรายการ”
ภาษีที่หกั และนาส่ ง
(2,700)
รายการเงินได้พึง
เกินไปขอยืน่ แบบ
กรณีปรับปรุงรายการทีแ่ สดงไว้ เกิน (ต่ อ)
• 2. กรณีแสดงรายการเงินได้ ไว้ เกินไป ให้ ยนื่ แบบเพิม่ เติมเพือ่ ปรั บปรุง ดังนี้
- ให้แสดงเฉพาะรายการผูม้ ีเงินได้ที่แสดงไว้เกิน
- ให้แสดงจานวนเงินได้เฉพาะจานวนที่เกินไว้ในวงเล็บ ( )
- หมายเหตุ “ยืน่ แบบเดือน...ปี ... ได้แสดงรายการเงินได้พึงประเมินไว้เกินไป
ขอยืน่ แบบเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุ งรายการ”
กรณีปรับปรุงรายการทีแ่ สดงไว้ เกิน (ต่ อ)
• ตัวอย่าง เงินได้ 100,000 บาท แสดงไว้ 1,000,000 บาท แสดงเงินได้เกินไป
900,000 บาท
ลาดับที่
5
ชื่อผูม้ ีเงินได้
นายเต็มใจ เสี ยภาษี
หมายเหตุ “ยืน่ แบบเดือน.........
ได้พึงประเมินไว้เกินไปขอ
รายการ”
จานวนเงินได้
(900,000)
ภาษีที่หกั และนาส่ ง
00.00
ปี ..... ได้แสดง รายการเงิน
ยืน่ แบบเพิม่ เติม เพื่อปรับปรุ ง
กรณีปรับปรุงรายการทีแ่ สดงไว้ เกิน (ต่ อ)
• 3. กรณีนาส่ งจานวนเงินภาษีหัก ณ ที่จ่ายไว้ เกินไป ให้ ยนื่ แบบเพิม่ เติมเพือ่
ปรั บปรุง ดังนี้
- ให้แสดงเฉพาะรายการผูม้ ีเงินได้แสดงไว้เกิน
- ให้แสดงจานวนเงินภาษีหกั ณ ที่จ่าย เฉพาะจานวนที่นาส่ งไว้เกินไปใน
วงเล็บ ( )
- หมายเหตุ “ยืน่ แบบเดือน...ปี ... ได้นาส่ งจานวนเงินภาษีหกั ณ ที่จ่ายไว้
เกินไป ขอยืน่ แบบเพิม่ เติมเพื่อปรับปรุ งรายการ”
- แนะนาให้ยนื่ คาร้องขอคืนภาษี
ต่ อ
• ตัวอย่าง ภาษี 300 บาท แสดงไว้ 3,000 บาท นาส่ งภาษีเกินไป (2,700)
ลาดับ ที่
5
ชื่อผูม้ ีเงินได้
นายเต็มใจ เสี ยภาษี
หมายเหตุ “ยืน่ แบบเดือน......
ภาษีหกั ณ ที่จ่ายไว้เกินไป
ปรุ งรายการ”
จานวนเงินได้
0.00
ปี .... ได้นาส่ ง
ขอยืน่ แบบเพิม่ เติม
ภาษีที่หกั และนาส่ ง
(2,700)
จานวนเงิน
เพื่อปรับ
ต่ อ
• 4. กรณีแสดงรายการผ้ มู ีเงินได้ พร้ อมจานวนเงินได้ พงึ ประเมินและภาษีไม่
เป็ นไปตามข้ อเท็จจริ ง ให้ ยนื่ แบบเพิม่ เติมเพือ่ ปรั บปรุงรายการให้ ถูกต้ อง โดย
• แสดงรายการของผูม้ ีเงินได้เฉพาะรายที่ตอ้ งการเพิ่ม / ลด ให้ครบถ้วน
• แสดงจานวนเงินได้และภาษีเฉพาะรายการที่ตอ้ งการลด ในวงเล็บ โดยหมาย
เหตุวา่ “ยืน่ แบบเดือน....ปี ... ขอลดรายผูม้ ีเงินได้เนื่องจาก................ขอยืน่ แบบ
เพิม่ เติมเพื่อปรับปรุ งรายการ”
ต่ อ
• ตัวอย่าง แสดงรายการผูม้ ีเงินได้พึงประเมินและจานวนเงินภาษีไม่เป็ นไปตามข้อเท็จจริ ง
ขอลดรายการออก
ลาดับที่
5
ชื่อผูม้ ีเงินได้
จานวนเงินได้
ภาษีที่หกั และนาส่ ง
(นายเต็มใจ เสี ยภาษี)
(xxxxxx)
(xxxx)
หมายเหตุ “ยืน่ แบบเดือน....
...............
....ปี ........ขอลด รายผูม้ ีเงินได้เนื่องจาก....
ขอยืน่ แบบเพิ่มเติม เพื่อปรับปรุ งรายการ”
การให้ บริการ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
 ขออนุมตั ิ
ใช้ แบบหนังสื อรับรองฯ แตกต่ างจากที่
กาหนด
ยืน่ แบบรวม
ออกหนังสื อรับรองเพือ่ การรัษฎากรเป็ น
ภาษาอังกฤษ
อนุโลมแบบ
แก้ ไขรายการในแบบฯ
รับรองยอดเงินได้ พงึ ประเมินและภาษีหัก ณ
ที่จ่าย
คัดสาเนาแบบยืน่ รายการภาษีเงินได้ หัก ณ ที่
จ่ าย
 ผู้อนุมตั ิ
สรรพากรภาค
สรรพากรพื้นที่
สรรพากรพื้นที่สาขา (เฉพาะกรณีที่
ข้อมูลแบบยืน่ รายการภาษีหกั ณ ที่จ่ายอยูใ่ น
ครอบครองของสานักงานพื้นที่สาขา)
1. ใช้ แบบหนังสื อรับรองฯ แตกต่ างจากที่กาหนด
- พิจารณาส่ วนที่เป็ นสาระสาคัญ อย่างน้อยควรมีขอ้ ความตามประกาศฯ
กาหนดแบบหนังสื อรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย
2. ขอยืน่ แบบรวม
- ผูม้ ีสิทธิยนื่ คาขอได้แก่ ผูม้ ีหน้าที่หกั ภาษี ณ ที่จ่ายของสถานประกอบการที่
ประสงค์จะยืน่ แบบรวม
- ยืน่ หนังสื อ ณ ภญ./สท. ที่เป็ นที่ต้ งั ของสถานประกอบการของผูข้ อ
- พิจารณาเหตุผลความจาเป็ น
- ต้องยืน่ หนังสื อขออนุมตั ิก่อนเดือนภาษีที่ตอ้ งการยืน่ รวม
- กรณี อนุมตั ิ แจ้งให้ยนื่ ในเดือนภาษีถดั จากเดือนที่ได้รับอนุมตั ิ
- แยกชุดแต่ละสถานประกอบการ และไม่แสดงรายการผูม้ ีเงินได้ปนกับ
สถานประกอบการที่ขอยืน่ รวมด้วย
3. การออกหนังสื อรับรองเพือ่ การรัษฎากรเป็ นภาษาอังกฤษ
- การรับรองการเสี ยภาษีเงินได้หกั ณ ที่จ่าย
- หนังสื อรับรองการเสี ยภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและนิติบุคคล
- หนังสื อรับรองการมีถิ่นที่อยูเ่ พื่อการรัษฎากรในประเทศไทย
- หนังสื อรับรองการมีสถานภาพเป็ นผูเ้ สี ยภาษีมูลค่าเพิม่
- หนังสื อรับรองการมีสถานภาพเป็ นผูเ้ สี ยภาษีตามกฎหมายไทย
ให้ปฏิบตั ิตามแนวทางการออกหนังสื อรับรองเพื่อการรัษฎากรด้วยระบบ
คอมพิวเตอร์
4. การอนุโลมแบบ
 กรณี
- ยืน่ แบบผิดประเภท
- แสดงรายการบุคคลธรรมดาและ
นิติฯ รวมกัน
- ยืน่ สลับใบแนบแบบ
- ยืน่ แบบสลับในกรณี อื่น
 เอกสารใช้ประกอบ
1. คาขออนุโลมการยืน่ แบบฯ (ป.ป.02)
2. เอกสารหลักฐานที่เป็ นข้อเท็จจริ ง
3. สาเนาแบบฉบับเดิมที่ได้ยนื่ นาส่ ง
ภาษีไว้แล้ว
การอนุโลมแบบ (ต่ อ)
 การพิจารณา
• 1. ให้พิจารณาประเภทเงินได้ที่จ่าย และสถานะของผูร้ ับเงินได้
• 2. ต้องไม่ผดิ หน่วยภาษี ผิดประเภทภาษี ไม่มีผลทาให้จานวนภาษีที่ตอ้ งเสี ย
หรื อนาส่ งเปลี่ยนแปลง
• 3. สาเหตุที่ยนื่ แบบไม่ถกู ต้องตามที่กรมฯ กาหนด โดยให้มีการบันทึก
คาให้การ (ต.6)
• 4. แจ้งผลการอนุมตั ิให้ผมู ้ ีหน้าที่หกั ภาษี ณ ที่จ่ายทราบ และประทับตราข้อความอนุโลม
แบบฯ ไว้บนหน้าแบบฯ โดยให้ดาเนินการให้แล้วเสร็ จ ภายใน 15 วัน นับแต่วนั ที่ได้
รับคาร้อง
5. การแก้ ไขรายการ
 หลักเกณฑ์ :
- ไม่ เป็ นรายการทีเ่ กีย่ วกับเงินได้ หรือ
ภาษีทหี่ ัก ณ ทีจ่ ่ าย
- ไม่ เป็ นการเปลีย่ นชื่อจากบุคคลหนึ่ง
เป็ นอีกบุคคลหนึ่ง
- แสดงรายการจ่ ายเงินได้ ใน เดือน ปี ภาษี
เดียวกัน
- เป็ นแบบทีแ่ สดงข้ อมูลเลขประจาตัวผู้เสี ยภาษี
หรือเลขประจาตัวประชาชนครบถ้ วน
 เอกสารประกอบ :
- คาขอแก้ ไขข้ อมูลภาษีเงินได้ หัก ณ ทีจ่ ่ าย
(แบบ ป.ป.01)
- เอกสารหลักฐานทีเ่ ป็ นข้ อเท็จจริงของข้ อมูล
ที่ขอแก้ ไข
- สาเนาแบบฉบับเดิมทีแ่ สดงรายการไว้ ผิด
การแก้ ไขรายการ (ต่ อ)
• การพิจารณา
- รายการที่ขอแก้ไขเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดหรื อไม่
- พิจารณาหลักฐานข้อมูลส่ วนบุคคลให้ถูกต้อง
- บันทึกคาให้การ (ต.6) ไว้เป็ นหลักฐาน
- เสนอผูม้ ีอานาจอนุมตั ิ หมายเหตุเลขที่หนังสื อได้รับอนุมตั ิไว้ในแบบ มี
หนังสื อแจ้งให้ผมู ้ ีหน้าที่หกั ภาษี ณ ที่จ่ายทราบ โดยให้ดาเนินการให้แล้วเสร็ จภายใน
15 วัน นับจากวันที่ได้รับคาร้อง
6. การขอให้ รับรองยอดเงินได้ และภาษี
- ให้พิจารณาเอกสารหลักฐาน หนังสื อมอบอานาจ บัตรประจาตัว
ประชาชน ให้ครบถ้วน
- การรับรอง ให้รับรองเฉพาะรายการผูม้ ีเงินได้ ที่ยนื่ คาขอให้รับรอง
เท่านั้น
7. การขอคัดสาเนาแบบฯ
หลักเกณฑ์ :
1. ให้คดั ข้อมูลแบบฯ ที่อยูใ่ นความครอบครองของหน่วยงาน
2. คัดรายการและรับรองรายการเฉพาะรายผูย้ นื่ คาขอเท่านั้น ห้ามถ่าย
สาเนาแบบและใบแนบทั้งชุด เว้นแต่ผขู ้ อเป็ นผูห้ กั และนาส่ งภาษี
3. กรณี หน่วยงานสรรพากรเป็ นผูข้ อคัดให้ปฏิบตั ิตามแนวทางปฏิบตั ิ
เกี่ยวกับขอคัดแบบทางอินทราเน็ต
การขอคัดสาเนาแบบฯ (ต่ อ)
 ผูย้ นื่ คาขอ
- ผูม้ ีหน้าที่หกั ภาษี ณ ที่จ่าย
- ผูม้ ีเงินได้
- เจ้าหน้าที่กรมสรรพากร
- บุคคลหรื อหน่วยงานตามแนวทางฯ การพิจารณาเปิ ดเผยข้อมูล
ข่าวสารของกรมสรรพากรสาหรับการขอคัดสาเนาแบบภาษีเงินได้
หัก ณ ที่จ่าย
การดาเนินการกับแบบทีไ่ ด้ รับอนุมัตแิ ก้ ไข / อนุโลม
1. กรณี เป็ นแบบยืน่ รายการภาษีเงินได้หกั ณ ที่จ่ายไม่ตอ้ งบันทึกข้อมูล ให้นา
หนังสื อที่ได้รับอนุมตั ิ / อนุโลม พร้อมทั้งเอกสารที่เกี่ยวข้องเก็บรวบรวมไว้กบั
แบบยืน่ รายการภาษีเงินได้หกั ณ ที่จ่ายฉบับที่ยนื่ ไว้ครั้งแรกในแฟ้ มรายตัวผูม้ ี
หน้าที่หกั ภาษี ณ ที่จ่าย เพื่อเป็ นหลักฐานว่าได้มีการขออนุมตั ิแก้ไขรายการใน
แบบ หรื อขออนุมตั ิให้ถือว่าได้ยนื่ แบบนาส่ งภาษีแล้วโดยอนุโลมตามแบบยืน่
รายการประเภทใด ในเดือน ปี ภาษีใด
2. กรณี เป็ นแบบ ภ.ง.ด.3 , ภ.ง.ด.53 ให้ส่งเอกสารหลักฐานไปให้เจ้าหน้าที่
บันทึกข้อมูลเพื่อทาการบันทึกแก้ไขในฐานข้อมูล
การดาเนินการกับแบบทีไ่ ด้ รับอนุมัตแิ ก้ ไข / อนุโลม
3. เมื่อแก้ไขข้อมูลในโปรแกรมเรี ยบร้อยแล้ว ให้เก็บแบบเข้าแฟ้ มรายตัวผูม้ ี
หน้าที่หกั ภาษี ณ ที่จ่ายให้ครบถ้วนทุกเดือน / ปี ภาษี นั้นเพื่อป้ องกันแบบ
สูญหาย
การเก็บแบบยืน่ รายการภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย
• สานักงานสรรพากรพื้นที่ (ส่ วนบริ หารงานทัว่ ไป) รับผิดชอบการเก็บแฟ้ มราย
ตัว ผูม้ ี ห น้า ที่ หั ก ภาษี ณ ที่ จ่ า ย และให้ ร วมถึ ง การอนุ ม ัติ ใ ห้ เ จ้า หน้า ที่ ห รื อ
บุคคลภายนอกขอคัดสาเนาแบบยืน่ รายการภาษีเงินได้หกั ณ ที่จ่าย