การเปรียบเทียบการดำเนินงานวิจัย / สารสนเทศ (ต่อ)

Download Report

Transcript การเปรียบเทียบการดำเนินงานวิจัย / สารสนเทศ (ต่อ)

KM Chair to Share ครัง้ ที่ 1
การศึ กษาดูงาน ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สานักวิจยั สถาบันและประเมินผล มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ได้
ศึ กษาดูงานในส่วนงานวิจยั สถาบันและสารสนเทศ ณ กองแผนงาน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในวันอังคารที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๔
เวลา ๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ น. เพื่อนาความรูท้ ่ีได้จากการดูงานมาเป็ น
แนวทางในการพัฒนางานวิจยั สถาบันในปี การศึ กษาต่อไปให้ดีย่ ิง้ึ้น
ความรูท้ ่ีได้รบั จากการศึ กษาดูงาน
งานวิจยั สถาบันและสารสนเทศ แบ่งออกเป็ นหน่วยย่อย 3 หน่วย คือ
1. หน่ วยศูนย์ขอ้ มูล มีบุคลากร 5 คน มีหน้าที่ จัดทาคลังข้อมูล การพัฒนา
ระบบเทคโนโลยสารสนเทศ และการพัฒนาระบบคลังข้อมูลเพื่อการบริหาร
2. หน่ วยงานวิจยั สถาบัน มีบุคลากร 5 คน มีหน้าที่ วิจยั สถาบันเรื่อง
หลัก การวิเคราะห์วิจยั กิจกรรมเฉพาะเรื่องของมหาวิทยาลัยและการติดตาม
ประเมินผล
3. หน่ วยสารสนเทศ มีบุคลากร 3 คน มีหน้าที่ จัดทารายงานประจาปี
เอกสารสนเทศ ข้อมูลสถิติและเอกสารเผยแพร่
กลับ
ความรูท้ ่ีได้รบั จากการศึ กษาดูงาน (ต่อ)
งานวิจยั สถาบันที่ ม.เกษตรศาสตร์ จัดทา้ึ้น คานึงถึง
ระดับนโยบาย (การวิจยั เพื่อวางแผนอนาคต) ระดับการจัดการ (การ
วิจยั เพื่อการตัดสินใจ) ระดับปฏิบตั ิ (การวิจยั เพื่อแก้ไขปั ญหา)
โดยงานวิจยั ที่ได้ดาเนินการไปแล้ว มีหัว้้อดังนี้
งานวิจยั หลัก
- สารวจนิ สิตใหม่
- ภาวะการหางานทาของบัณฑิต
- การจัดการเรียนการสอน นิ สิต
- ความพึงพอใจนายจ้าง
งานวิจยั เฉพาะ
- ต้นทุนต่อหน่ วยการผลิต
- การประเมินผลโครงการ ประชุม อรบม
ต่างๆ
กลับ
ความรูท้ ่ีได้รบั จากการศึ กษาดูงาน (ต่อ)
การเปรียบเทียบการดาเนินงานวิจยั / สารสนเทศ
ม.เกษตรศาสตร์
ม.กรุงเทพ
ทะเบียนประวัติและแบบสารวจนักศึ กษาใหม่
ทะเบียนประวัตินกั ศึ กษา
- เก็บข้อมูลวันมอบตัวนักศึกษา
- ทาการประชาสัมพันธ์และมีค่มู ือให้ศึกษาก่อนเข้าใช้งาน
ระบบ
- จัดห้องส่วนกลางโดยมีคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้งระบบเรียบร้อย
แล้วให้นักศึกษาเข้าใช้งาน
- นักศึกษาทุกคนต้องปริ๊นเอกสารจากระบบ และนามายืนยัน
ณ จุดมอบตัว
- เก็บข้อมูลวันประกาศผลการคัดเลือกเข้าเป็ นนักศึกษา
- ทาการประชาสัมพันธ์และรับเอกสารการชาระค่าลงทะเบียน
-กรอกข้อมูลทะเบียนประวัติผ่านอินเตอร์เน็ ต/กรอกที่มหาวิทยาลัย
ตามจุดที่แผนกรับสมัครนักศึกษาได้ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ไว้ให้
นักศึกษาเข้าใช้งาน
- ระบบทาการตรวจสอบข้อมูลก่อนการถ่ายรูปพิมพ์บตั รนักศึกษา
- การกรอกข้อมูลแบบสารวจนักศึกษาใหม่ บังคับทาก่อนการ
ลงทะเบียนขอรับ User Account ใหม่เพื่อใช้บริการต่างๆ ของ
ทางมหาวิทยาลัยแบบออนไลน์
ภาวะการหางานทา้องบัณฑิต และประวัติผสู ้ าเร็จ
การศึ กษา
- นักศึกษากรอกข้อมูลผ่านระบบในวันขึ้ นทะเบียนบัณฑิต และ - นักศึกษากรอกข้อมูลผ่านระบบในวันขึ้ นทะเบียนบัณฑิต
(ถ้าไม่กรอกแบบสารวจระบบไม่สามารถให้ผ่านเข้าไปทาการ
ปริ๊นเอกสารมาแสดงในวันซ้อมรับปริญญาบัตร (ถ้าไม่มี
เอกสารดังกล่าว ไม่สามารถเข้าร่วมพิธีซอ้ มรับปริญญาบัตรได้) ขึ้ นทะเบียนบัณฑิตได้)
กลับ
ภาวะการหางานทา้องบัณฑิต และประวัติผูส้ าเร็จ
การศึ กษา
ความรูท้ ่ีได้รบั จากการศึ กษาดูงาน (ต่อ)
การเปรียบเทียบการดาเนินงานวิจยั / สารสนเทศ (ต่อ)
ม.เกษตรศาสตร์
ม.กรุงเทพ
-มีการติดตามการได้งานทาซ้าหลังจากวันซ้อมรับปริญญาบัตร
3 เดือนทางโทรศัพท์ (เฉพาะคนที่ยงั ไม่ได้งานทาและศึกษา
ต่อ) โดยมีวิธีการดังนี้
+ จ้างนักศึกษาโทรศัพท์ติดตามพร้อมคียข์ อ้ มูลลง
โปรแกรม (ติดตามแล้วพบว่าบัณฑิตได้งานทา อัตราค่าจ้าง
15 บาท/ชุด ติดตามแล้วพบว่าบัณฑิตไม่ได้งานทาอัตราต่าจ้าง
5 บาท/ชุด)
+ นักศึกษาที่รบั งานไปทาสามารถนางานกลับไปทาที่บา้ น
ได้และได้ชวั ่ โมงกิจกรรมเพิ่ม
-เมื่อติดตามแล้วพบว่าไม่ได้งานทาอีก ส่งข้อมูลดังกล่าวให้
คณะวิชาทาการติดตามต่อไป
-ส่วนคาถามปลายเปิ ดไม่มีการสรุปข้อมูล แต่ส่งไฟล์ขอ้ มูลดิบ
ทั้งหมดให้ทางคณะวิชาพิจารณา
-มีการติดตามการได้งานทาซ้าหลังจากวันขึ้ นทะเบียนบัณฑิต
3 เดือนทางโทรศัพท์ (เฉพาะคนที่ยงั ไม่ได้งานทา) โดยมี
วิธีการดังนี้
+ ประสาน ศคพ. ส่งข้อความ SMS ให้แก่บณ
ั ฑิตที่ยงั
ไม่ได้งานทามาปรับปรุงสถานภาพการทางานทางเว็บไซต์
http://myjob.bu.ac.th
+ สวป.และธุรการ ทสท. โทรศัพท์สมั ภาษณ์บณ
ั ฑิตที่ไม่
เข้ามาปรับปรุงข้อมูลทางเว็บไซต์ พร้อมคียข์ อ้ มูลลงโปรแกรม
- คาถามปลายเปิ ดทาการสรุปและจัดอันดับข้อเสนอแนะ10
อันดับ (ภาพรวมสถาบัน) ส่วนระดับคณะส่งสรุปข้อมูล
คาถามปลายเปิ ดให้ท้งั หมด
- ส่ง Template e-Mail เผยแพร่ขอ้ มูลแก่คณาจารย์ และทา
Banner ประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลการได้งานทาแก่นักศึกษาและ
สาธารณชนรับทราบ
กลับ
ความรูท้ ่ีได้รบั จากการศึ กษาดูงาน (ต่อ)
การเปรียบเทียบการดาเนินงานวิจยั / สารสนเทศ (ต่อ)
ม.เกษตรศาสตร์
ความพึงใจ้องนายจ้างที่มีต่อบัณฑิต
- รวบรวมสถานที่ทางานของบัณฑิต ซึ่งได้จากการที่บณ
ั ฑิต
กรอกข้อมูลผ่านในระบบการขึ้ นทะเบียนของมหาวิทยาลัย
- โทรศัพท์ติดต่อบัณฑิตที่เป็ นกลุ่มเป้าหมายการส่งออก เพื่อ
ยืนยันความถูกต้องของสถานที่ทางาน
- จัดทาหนังสือขอความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม
- มีการติดตามผูบ้ งั คับบัญชาทางโทรศัพท์ โดยการจ้าง
นักศึกษาช่วยงาน
ความพึงพอใจนักศึ กษาระดับปริญญาตรีและ
บัณฑิตศึ กษา
- ทาแบบสอบถามผ่านเว็บไซต์ โดยให้แรงจูงใจในการตอบ
แบบสอบถามเป็ นคะแนนชัว่ โมงกิจกรรมนิ สิต(เทียบเท่าการ
เก็บเพชร)
- การวิเคราะห์จาแนกรายคณะ
ม.กรุงเทพ
ความพึงใจ้องนายจ้างที่มีต่อบัณฑิต
- รวบรวมสถานที่ทางานของบัณฑิต ซึ่งได้จากการที่บณ
ั ฑิต
กรอกข้อมูลผ่านในระบบการขึ้ นทะเบียนของมหาวิทยาลัย
- โทรศัพท์ติดต่อบัณฑิตที่เป็ นกลุ่มเป้าหมายการส่งออก เพื่อ
ยืนยันความถูกต้องของสถานที่ทางาน
ความพึงพอใจนักศึ กษาระดับปริญญาตรีและ
บัณฑิตศึ กษา
- ทาแบบสอบถามผ่านเว็บไซต์
- การวิเคราะห์จาแนกรายคณะ และสาขาวิชา
กลับ
ความรูท้ ่ีได้รบั จากการศึ กษาดูงาน (ต่อ)
หมายเหตุ :
การจ้างนิ สิตช่วยงาน จะพิจารณาเป็ นแต่ละงานวิจยั แบ่งเป็ น 2 แบบ คือ
1. เหมาจ่ายเป็ นวัน
2. จ่ายตามงานที่สาเร็จ
งานวิจยั เรื่องความพึงพอใจของบุคลากร มหาวิทยาลัยเกษตร์ไม่ได้กล่าวถึงในการการบรรยายครั้งนี้
การเผยแพร่ผลงาน
ทาการเผยแพร่ขอ้ มูลที่ http://www.planning.ku.ac.th/planning/index.php
ส่วนงานที่ไม่สามารถเผยแพร่ได้จะมี login และ password เฉพาะบุคคลในการเข้าใช้งาน
กลับ
เอกสารการอบรม
ส่วนงานวิจยั สถาบันและ
สารสนเทศ กองแผนงาน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เว็บไซต์
http://www.planning.ku.ac.th/planning/index.php
Download
Presentation การบรรยายจาก
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กลับ
การประเมิน
รายการประเมิน
1. ความรู ้ ความสามารถจากการเข้าร่วมกิจกรรม
- ความรู ้ ความเข้าใจ ก่อน การอบรม
- ความรู ้ ความเข้าใจ หลัง การอบรม
- สาระประโยชน์ที่ได้รบั จากกิจกรรม
- ความสามารถที่ท่านนาความรูท้ ี่ได้ไปใช้
ประโยชน์
- ทักษะ และความรูใ้ หม่ที่ท่านได้รบั
2. ความเหมาะสมของการจัดกิจกรรม
- ความน่ าสนใจของกิจกรรม
- ความรู ้ ความสามารถของวิทยากร
- ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม
- สถานที่ใช้จดั กิจกรรม
รวม
ค่าเฉลี่ย
3.69
3.11
3.89
4.11
SD
0.79
0.33
0.60
0.60
3.56
1.13
3.78
4.17
4.33
4.22
3.89
4.22
4.17
0.83
0.56
0.50
0.44
0.78
0.44
0.56
ระดับความคิดเห็น
มาก
ปานกลาง
มาก
มาก
มาก
มาก
มาก
มาก
มาก
มาก
มาก
มาก
กลับ
ภาพกิจกรรม
กลับ