โรงไฟฟ้าชีวมวล - เทคโนโลยี ชุมชน

Download Report

Transcript โรงไฟฟ้าชีวมวล - เทคโนโลยี ชุมชน

โรงไฟฟ้ าชุมชน
พืน้ ที่บ้านเขาน้ อย
ตาบลดงปะคา อาเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก
เสนอโดย
นายชาติ ไชยสิ ทธิ์ นายกสมาคมพัฒนาชุมชน
ทีม่ า : www.mdbc.gov.au
การผลิตพลังงานไฟฟ้ าในปี 2549
พลังงานทดแทน
1.0%
ถ่านหินนาเข ้า
3.8%
ื้
รวมพลังงานไฟฟ้ าทีผ
่ ลิตและซอ
141,980 ล ้านหน่วย
น้ ามันเตา
7.4%
ลิกไนต์
12.4%
ก๊าซธรรมชาติ
66.2%
พลังน้ า
7.4%
ื้ ไฟฟ้ า
รับซอ
ี
จากมาเลเซย
1.7%
น้ ามันดีเซล
0.1%
แนวทางแก้ไขด้านพลังงาน
• รัฐบาลกาหนดแนวทางด้านพลังงาน
ลดการผลิตพลังงานตามแนวทางเดิมเหลือ 80%
20% ส่ งเสริ มการพึ่งพาพลังงานทดแทนในประเทศ
• ส่ งเสริ มด้านการกากับกิจการพลังงานทดแทนเชิงภาคีความร่ วมมือ
• ส่ งเสริ มกิจกรรมการอนุรักษ์พลังงานและการจัดการพลังงานชุมชน
• ฯลฯ
โรงไฟฟ้ าชีวมวล
ใช้ ชีวมวลเป็ นเชื ้อเพลิงในการเผาไหม้ เพื่อให้ เกิด
ความร้ อนในการผลิตไอน ้าทดแทนการใช้ เชื ้อเพลิงจาก
ฟอสซิล (น ้ามัน , ถ่านหิน , ก๊ าซธรรมชาติ )
“ ชีวมวล”
มูลสัตว์
เศษไม้
ของเสีย แกลบ
มันสาปะหลัง
ซั
ง
ข้
า
วโพด
ชานอ้ อย
กระถิ่นยักษ์
กระถินยักษ์ อายุ 7 เดือน
ผลผลิตเฉลี่ยคิดเป็ นน้ำหนักแห้ง/ไร่/ปี
โดยจำแนกตำมปริมำณน้ำฝนและระยะปลูก
ประมำณน้ำฝน
(มม/ปี )
ผลผลิตแห้ง (ตัน/ไร่/ปี )แยกตำมระยะปลูก)
1x1
1x2
2x2
2x3
4x4
800-1,000
2.204
1.259
1.173
0.877
0.580
1,000-1,200
3.773
1.986
1.658
1.329
1.000
>1,200
4.430
2.705
2.142
1.821
1.500
หญ้ำเนเปี ยร์ (Dwarf Napier)
เนเปี ยร์เป็ นหญ้าที่มอี ายุหลายปี มีลาต้น
ใต้ดนิ เป็ นแบบเหง้า ลักษณะทรงต้นเป็ นกอพุ่ ม ตัง้
ลาต้นอวบและเตี้ยกว่าหญ้าเนเปี ยร์ธรรมดา มีความ
สูงประมาณ 1-2 เมตร มีการแตกกอดี มีสดั ส่วนของ
ใบมากกว่ า ส่ ว นของล าต้ น สามารถทนแล้ ง ได้ ดี
พอสมควร
ให้ผลผลิตน้ ำหนักแห้งประมำณ 25 ตันต่อ
ไร่ต่อปี
กำรใช้ประโยชน์ : การตัดหญ้าเนเปี ยร์แคระไปเลีย้ งสัตว์ ควรตัดครัง้ แรกที่
อายุ 60-70 วันหลังปลูก และควรตัดครัง้ ต่อไปทุก 30-45 วัน ช่วงฤดูฝนหญ้าโตเร็ว
อาจตัดทีอ่ ายุน้อยกว่า 30 วัน
โรงไฟฟ้าชีวมวล คือ รู ปแบบหนึ่งของการใช้ พลังงานทดแทน
โรงไฟฟ้าชีวมวล คือ รู ปแบบหนึ่ง
ของการใช้ พลังงานทดแทน
ตัวอย่ าง โรงไฟฟ้าชีวมวล เอ.ที. ไบโอพาวเวอร์ พิจิตร
1 ใน 62 โรงไฟฟ้ าจากแกลบทัว่ ประเทศ
หน่วยงานรับผิดชอบ
•
•
•
•
•
•
•
•
อุตสาหกรรม
สิ่ งแวดล้อม
พลังงาน
กากับกิจกรรมพลังงาน
อบต.
ผูใ้ หญ่บา้ น
คณะกรรมการ
ชุมชน
ประโยชน์ของโครงการสูท่ ้ องถิ่น
1. เกษตรกรมีรายได้ เพิ่มขึ ้น จากการขายเศษวัสดุเหลือใช้ ทาง
การเกษตรที่เคยปล่อยทิ ้งไว้ หรื อเผากาจัดไปโดยเปล่าประโยชน์
เช่น แกลบ ฟางข้ าว ซังข้ าวโพด ต้ นข้ าวโพด เศษไม้ ฯลฯ
2. เศรษฐกิ จชุมชนคึกคักและเจริ ญเติบโต จากรายได้ สู่ชุ มชน
ผ่านทางภาษีท้องที่ที่โครงการต้ องจ่าย การจ้ างงานในชุมชน และ
การสร้ างรายได้ จากราคาผลผลิตทางการเกษตรที่คาดว่าจะดีขึ ้น
3. ส่งเสริ มให้ เกิดการพัฒนาอาชีพ และการสร้ างงานฝี มื อขึ ้น
ในท้ องถิ่ น พร้ อมกระตุ้ นระบบเศรษฐกิ จ ชุ ม ชนด้ วยเงิ น
หมุนเวียนเปลี่ยนมือที่เพิ่มมากขึ ้น
4. เพิ่มมูลค่าและลดปริ มาณเศษวัสดุเหลือใช้ ในท้ องถิ่น ทา
ให้ เกิดการบริ หารจัดการกองแกลบและซังข้ าวโพดและการ
เผาเศษวัสดุเหลือใช้ ดังกล่าวอย่างเป็ นระบบและถูกวิ ธี อัน
เป็ นผลทาให้ ท้องถิ่นสะอาดยิ่งขึ ้น
5. จัดตัง้ “กองทุนพัฒนาชุมชนในพื ้นที่รอบโรงไฟฟ้า” เพื่อ
นาเงินกองทุนมาใช้ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
และสิง่ แวดล้ อมในชุมชนให้ มีการพัฒนาที่ยงั่ ยืน
6. สร้ างความมัน่ คงด้ านกระแสไฟฟ้าให้ กบั ชุมชนและบริ เวณ
ใกล้ เคียง เช่น ปั ญหาไฟฟ้าตกและฟ้าดับในพื ้นที่จะลดน้ อยลง
ฯลฯ และช่วยรองรับการเจริ ญเติบโตของชุมชนในอนาคต
7. เป็ นสถานที่ศกึ ษาดูงานและเป็ นแหล่งเรี ยนรู้ภายในชุมชน
และส าหรั บ สถานการศึ ก ษาโดยทั่ว ไป และบุต รหลานของ
ชาวบ้ านในพื ้นที่
8. เป็ นพลังงานทางเลือกที่ได้ รับการยอมรับในทัว่ โลกแล้ วว่า
เป็ นมิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อม ซึ่ ง จะช่ ว ยเพิ่ ม ความมั่ น คงด้ าน
พลัง งานให้ กั บ ประเทศไทย และลดการพึ่ ง พาการน าเข้ า
พลังงานจากต่างประเทศ
ศูนย์วิจยั พลังงานชุมชน วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร
9. ลดการเกิ ด ก๊ าซเรื อนกระจก ซึ่ ง เป็ นสาเหตุ ส าคั ญ ที่
ก่อให้ เกิ ดภาวะโลกร้ อน ผ่านกลไกการพัฒนาสิ่งแวดล้ อมที่
สะอาด ตามหลักกลไกสะอาด
10. สร้ างชื่อเสียงให้ กบั ชุมชนและประเทศชาติ โดยเฉพาะ
ในเวทีระดับโลก เช่น องค์การสหประชาชาติ (ยูเอ็น) ฯลฯ
ศูนย์วิจยั พลังงานชุมชน วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร
ผลกระทบด้ านลบ
 มีคแู่ ข่งในการนาชีวมวลไปใช้ ประโยชน์
 เกิดความแตกแยกในชุมชนถ้ ามีการคัดค้ าน
 กระบวนการผลิตไฟฟ้าจากชีวมวล จาเป็ นต้ องมีกระบวนการเผาไหม้
จึงเป็ นสิง่ ที่ชมุ ชนมีความกังวลเรื่ องผลกระทบ
ด้ านเสียง
ฝุ่ นละออง
น ้าเสีย
อากาศ
การแก้ ไขอุปสรรค
•
•
•
•
•
•
การตรวจสอบ / การวัดผลตลอดเวลา
สถานที่ตงของโรงไฟฟ
ั้
้ าว่ามีแหล่งน ้าเพียงพอ
ไม่ไกลแหล่งวัตถุดิบที่นามาใช้ เป็ นเชื ้อเพลิง
จุดเชื่อมโยงเข้ าระบบไฟฟ้าหรื อสถานียอ่ ยไฟฟ้าของกฟผ.
สถานที่ตงควรห่
ั้
างจากชุมชน เพื่อลดผลกระทบระหว่างการก่อสร้ าง
สร้ างการสร้ างโรงเก็บวัตถุดิบที่มีขนาดเพียงพอและสามารถป้องกัน
เสื่อมสภาพและการส่งกลิ่นรบกวน
• จัดระบบการขนส่งวัตถุดิบที่จะเกิดผลกระทบกับวิถีชีวิตของชุมชน
• ต้ องมีเวทีสร้ างความเข้ าใจ และยอมรับเงื่อนไขของชุมชน
โจทย์
โรงไฟฟ้าที่สามารถสร้ างประโยชน์
และเป็ นเครื่ องมือในการพัฒนาชุมชน
จะต้ องมีหน้ าตาเป็ นอย่างไร
คาถามที่ตอ้ งหาคาตอบ
• เอื ้อประโยชน์ตอ่ ชุมชน เช่นเป็ นการพัฒนาอาชีพหรื อทาให้ ชมุ ชนมี
ความมัง่ คงด้ านอาชีพ
• อยูร่ ่วมกันอย่างเป็ นมิตรไม่สร้ างความแตกแยก
• ไม่เป็ นการส่งเสริ มให้ เกิดการปลูกพืชที่ทาลายสิ่งแวดล้ อมของชุมชน
• ลดการเผาวัสดุเหลือใช้ การเกษตรแบบกลางแจ้ งให้ เป็ นระบบปิ ดเพื่อ
รักษาสิ่งแวดล้ อม
• สามารถเกิดความมัน่ คงด้ านพลังงานของชุมชน
• ชุมชนสามารถร่วมกันตัดสินใจรับหรื อไม่รับแบบมีสว่ นร่วมและโปร่งใส
• ชุมชนมีความรู้และเข้ าถึงเทคโนโลยีก่อนการตัดสินใจหรื อยัง
หัวใจพลังชุมชน
1. สร้ างกระบวนการตัดสินใจแบบมีสว่ นร่วมของชุมชนให้ ความสาคัญ
ต่อการให้ ข้อมูลอย่างครบถ้ วน จริงใจและโปร่งใส เชื่อถือได้
2. จัดกระบวนการเรี ยนรู้ให้ กบั ชุมชนเพื่อการเข้ าถึงความรู้ เทคโนโลยี
ก่อนการตัดสินใจ
3. ปฏิบตั ติ ามระเบียบราชการและเงื่อนไขของชุมชน
4. แสวงหาเครื่ องมือหรื อกลไกในการประกอบการตัดสินใจเช่น
องค์กรรัฐ / องค์กรเอกชน / องค์กรวิชาการ/องค์กรที่ชมุ ชนเชื่อถือ
ฯลฯ
โรงไฟฟ้า 1,000 กิโลวัตต์
เชื้อเพลิงต่อวัน 20 ตัน/วัน x จานวนวันที่โรงไฟฟ้ าทางานต่อปี
300 วัน/ปี = 6,000 ตันต่อปี
ถ้าซื้อราคาตันละ 500 บาท เป็ นเงิน 3,000,000 บาท/ปี
ปริ มาณใช้น้ าในระบบหมุนวน ที่ตอ้ งใช้ต่อวัน ประมาณ 120
ลบ.เมตร สู ญเสี ยน้ าจากการระเหย ประมาณ
ดังนั้นต้องมีบ่อน้ าที่สามารถสารองน้ าได้ 2 ปี ประมาณ ลิตร
ขี้เถ้าแกลบจะมีปริ มาณร้อยละ 16 โดยน้ าหนัก
ก่อนก้าวพร้อมหรื อยัง
1.ชีวมวล มีมยั๊ พอมัย๊
ข้ อมูลด้ านชีวมวลในพื ้นที่เช่น จะหามาจากไหนเพิ่ม หรื อคิดว่าจะหา
อะไรเพิ่มเพื่อให้ ชมุ ชนได้ ประโยชน์มากที่สดุ
2. สนใจมัย๊
ในเบื ้องต้ นชุมชนให้ ความสาคัญหรื อสนใจไหม
3.ทีมงานละมีมยั๊
สร้ างกลไกการทางานเพื่อใช้ หลัก หัวใจพลังชุมชน
4.จะพากันไปที่ไหน อย่างไร
ศูนย์วิจยั พลังงานชุมชน วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร
เริ่ มก้าว
1.พื้นที่ผลิตชีวมวลจานวน 300ไร่ อยูท่ ี่ไหน
2.สถานที่ต้ งั ของโรงไฟฟ้ าอยูท่ ี่ไหน
-มีแหล่งน้ าเพียงพอ
-ไม่ไกลแหล่งวัตถุดิบ
-จุดเชื่อมโยงเข้าระบบไฟฟ้ า
-สถานที่ต้ งั ควรห่างจากชุมชน
3.โครงสร้าง/กลไกการขับเคลื่อน
4.เวทีเพื่อสร้างแนวร่ วม
เราพร้อมก้าวไปกับท่าน
วิสัยทัศน์ : ชุมชนสามารถ พัฒนาคุณภาพชีวิต
ที่เหมาะสมกับความเชื่อ
วิถีวัฒนธรรมและอยู่ร่วมกับธรรมชาติอย่ างเป็ นมิตร