เศรษฐศาสตร์วิศวกรรมซอฟต์แวร์ Cost & Expense 888103 Software

Download Report

Transcript เศรษฐศาสตร์วิศวกรรมซอฟต์แวร์ Cost & Expense 888103 Software

เศรษฐศาสตร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์
Cost & Expense
888103 Software Economics Engineering
Tawatchai Iempairote
การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์
●
ส่วนที่สามารถประเมินออกมาเป็ นตัวเลขได้ (ชัดเจน)
–
●
●
ต้ นทุน ค่าใช้ จา่ ย รายรับ รายได้
ส่วนที่ไม่สามารถประเมินออกมาเป็ นตัวเลขได้
–
การสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติ
–
ผลประโยชน์ที่ประชาชนในวงกว้ างจะได้ รับ (ไม่ชดั เจน)
การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ วิเคราะห์ด้วยตัวเลข
ต้ นทุน (Cost) & ค่าใช้ จา่ ย (Expense)
●
ต้ นทุนและค่าใช้ จา่ ย มีความหมายใกล้ เคียงกันมาก
–
–
●
ต้ นทุน เป็ นส่วนของการลงทุน โดยจ่ายเป็ นจำานวนเงิน หรื อแลก
เปลี่ยนอย่างอื่น เพื่อให้ ได้ มาซึง่ ทรัพย์หรื อการบริ การ
ค่าใช้ จ่าย คือจำานวนเงินที่จ่ายไปในการใช้ บริ การหรื อดำาเนินงาน
จะทำาอย่างไรจึงสามารถรวบรวม ต้ นทุนและค่าใช้ จา่ ย เพื่อ
ประโยชน์ในการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ ได้ ครบถ้ วน
ต้ นทุน (Cost)
●
●
●
ต้ นทุนมีหลายรูปแบบ
การประเมินต้ นทุนมีลกั ษณะที่แตกต่างกันไป ตามรูปแบบ
ของต้ นทุน
การประเมินต้ นทุนจะต้ องคำานึงถึงชนิดของต้ นทุนด้ วย
ต้ นทุนอนาคต (Future Cost)
●
●
ใช้ ในการตัดสินใจที่เกี่ยวกับอนาคต
ตัวอย่าง หากค่าใช้ จา่ ยสำาหรับซื ้ออุปกรณ์ในปี หน้ าซึง่ จะ
ซื ้อได้ ในราคา 100,000 บาท การเตรี ยมเงินเพื่อซื ้อ
อุปกรณ์นี ้ในปี นี ้ จะจำาเป็ นแค่ X บาท ถ้ าเมื่อถึงเวลานัน้
แล้ ว x + ดอกเบี ้ยที่จะได้ จาก x เท่ากับ 100,000 บาท
ต้ นทุนเสียโอกาส (Opportunity Cost)
●
●
●
การเสียโอกาสหรื อเสียผลประโยชน์ที่พงึ ได้ จัดว่าเป็ นต้ น
ทุนในลักษณะหนึง่
อาจกล่าวว่าเป็ นต้ นทุนในลักษณะขาดโอกาส (ซึง่ มักจะ
เป็ นกำาไร) ที่ควรได้
ต้ นทุนเสียโอกาสเป็ นต้ นทุนสมมุติ ไม่สามารถนำามาบันทึก
ในระบบบัญชีได้
ต้ นทุนจม (Sunk Cost)
●
เป็ นต้ นทุนที่ได้ ชำาระไปหมดแล้ ว
●
เป็ นต้ นทุนของอดีต ไม่เกี่ยวกับการตัดสินใจในอนาคต
●
เป็ นต้ นทุนในส่วนที่ขาดหายไปจากราคาสุดท้ ายที่หกั ค่า
เสื่อมราคาไปแล้ ว
ต้ นทุนตามบัญชี (Book Cost)
●
●
ต้ นทุนตามบัญชี เป็ นตัวเลขที่บนั ทึกไว้ ตามบัญชี หลังจาก
หักค่าเสื่อมราคาไปแล้ ว
ตัวเลขต้ นทุนตามบัญชีที่บนั ทึกไว้ ไม่จำาเป็ นต้ องเป็ นราคา
จริ ง โดยราคาจริ งอาจจะสูงกว่าหรื อต่าำ กว่าต้ นทุนตาม
บัญชีก็เป็ นได้
ต้ นทุนเงินสด (Cash Cost)
●
ต้ นทุนเงินสด หมายถึงต้ นทุนหรื อค่าใช้ จา่ ยที่ชำาระเป็ น
เงินสด
ต้ นทุนการทดแทนทรัพย์สนิ
(Replacement Cost)
●
●
●
หมายถึง ค่าใช้ จ่ายต่างๆ ที่ต้องชำาระเพื่อให้ ได้ มาซึง่
ทรัพย์สนิ เพื่อการผลิตหรื อบริ การ ซึง่ จะนำามาทดแทน
ทรัพย์สนิ ที่มีอยู่
เหตุที่ต้องทดแทน ด้ วยทรัพย์สนิ เมื่อมีอายุการใช้ งานมาก
ขึ ้นจะมีประสิทธิภาพลดลง ทำาให้ คา่ ใช้ จา่ ยที่เกี่ยวข้ องสูง
ขึ ้น
เป็ นกรณีที่มีความสัมพันธ์กบั การบำารุงรักษา
ต้ นทุนเปลี่ยนย้ ายได้ (Postponable Cost)
●
เป็ นต้ นทุนที่มีลกั ษณะเปลี่ยนแปลงเพิ่มลดตาม
สถานการณ์ตา่ งๆ ได้ เช่น ในวาระที่มีกำาไรมากสามารถ
กำาหนดต้ นทุนในการรักษาความปลอดภัยไว้ สงู แต่
สามารถลดลงได้ ในวาระที่มีกำาไรน้ อย
●
ต้ นทุนที่ไม่สามารถเปลี่ยนย้ ายได้ ได้ แก่ ต้ นทุนค่าแรงงาน
●
พิจารณาในกรณีของเงินโบนัส
ต้ นทุนเพิ่ม (Increment Cost)
●
●
ต้ นทุนเพิ่ม คือเงินทุนที่เพิ่มขึ ้น เมื่อธุรกิจขยายตัวไปถึง
ระดับหนึง่
ต้ นทุนที่เพิ่มขึ ้นจากเดิม พึงต้ องให้ ผลประโยชน์ค้ มุ ค่ากับ
จำานวนเงินที่เป็ นต้ นทุนเพิ่ม หลังจากเพิ่มทุนไปแล้ ว
ต้ นทุนเพิ่มต่อหน่วย (Marginal Cost)
●
●
●
ต้ นทุนที่เพิ่มขึ ้นสำาหรับหน่วยผลิตหรื อบริ การที่เพิ่มขึ ้นหนึง่
หน่วย เรี ยกว่า “ต้ นทุนเพิ่มต่อหน่วย”
การตัดสินใจผลิตเพิ่มขึ ้นมักจะผิดพลาด หากใช้ ข้อมูล
ต้ นทุนเฉลี่ยต่อหน่วย (average cost) แทนที่จะใช้ ต้นทุน
เพิ่มต่อหน่วย (marginal cost)
พึงพิจารณาอัตราความสัมพันธ์ระหว่างต้ นทุนเฉลี่ยต่อ
หน่วย กับต้ นทุนเพิ่มต่อหน่วย ประกอบด้ วย
ต้ นทุนแยกได้ และต้ นทุนร่วม
●
●
(Tracable and Common Cost)
ต้ นทุนแยกได้ เป็ นต้ นทุนที่สามารถประเมินได้ ชดั เจนว่า
เป็ นต้ นทุนของผลิตภัณฑ์หรื อบริ การใด
ต้ นทุนร่วม เป็ นต้ นทุนค่าใช้ จ่ายที่ไม่สามารถแยกได้ วา่ เกิด
จากหน่วยผลิตหรื อบริ การใด
ต้ นทุนควบคุมได้ และต้ นทุนลดได้
(Controllable & Reducible Cost)
●
●
โดยทัว่ ไปแล้ วเราสามารถควบคุมค่าใช้ จา่ ยในการผลิต
หรื อการให้ บริ การได้ แต่การควบคุมจะไม่สามารถทำาได้
ทังหมดทุ
้
กรายการ และสามารถทำาได้ เพียงระดับหนึง่
เท่านัน้ กล่าวได้ วา่ ต้ นทุนควบคุมสามารถเป็ นต้ นทุนลดได้
หรื อต้ นทุนลดไม่ได้
ต้ นทุนลดไม่ได้ บางอย่างก็เป็ นต้ นทุนควบคุมไม่ได้
ต้ นทุนโดยตรงและต้ นทุนทางอ้ อม
(Direct & Indirect Cost)
●
ต้ นทุนโดยตรง เป็ นชนิดเดียวกับ ต้ นทุนแยกได้
●
ต้ นทุนทางอ้ อมเป็ นต้ นทุนที่อยูใ่ นลักษณะของต้ นทุนร่วม
●
ต้ นทุนโดยตรง จะเกี่ยวข้ องโดยตรงกับผลผลิต
●
ต้ นทุนทางอ้ อม มักเป็ นส่วนช่วยให้ เกิดการผลิต
ต้ นทุนค้ างจ่ายและต้ นทุนรอตัดบัญชี
●
●
(Accrued & Defered Cost)
ต้ นทุนค้ างจ่าย คือต้ นทุนที่คดิ สำาหรับการใช้ บริ การก่อน
ชำาระ (เช่น ค่าประกันภัย คุ้มครองก่อนจ่ายได้ )
ต้ นทุนรอการตัดบัญชี เป็ นต้ นทุนสำาหรับบริ การที่ยงั ไม่สิ ้น
สุด รวมถึงค่าใช้ จ่ายล่วงหน้ า (Prepaid Expense) จัด
เป็ นต้ นทุนที่จ่ายไปแล้ ว (Expired Cost)
ต้ นทุนคงที่และต้ นทุนแปรผัน
(Fixed & Variable Cost)
●
●
ต้ นทุนคงที่ คือต้ นทุนที่คดิ สำาหรับทรัพย์สนิ ที่ให้ บริ การหรื อ
ผลิตได้ โดยต้ นทุนไม่เปลี่ยนแปลงตามจำานวนหน่วยที่ให้
บริ การหรื อที่ผลิตได้
ต้ นทุนแปรผัน จะเปลี่ยนไปตามจำานวนหน่วยผลิตที่เพิ่ม
ขึ ้น เช่น ค่าวัสดุที่ใช้ ในการผลิต
ต้ นทุนแรกเริ่ มและต้ นทุนดำาเนินงาน
●
●
●
(First & Operating Cost)
ต้ นทุนแรกเริ่ ม คือค่าใช้ จา่ ยที่ใช้ สำาหรับการลงทุนของธุรกิจ
ต้ นทุนดำาเนินงาน คือค่าใช้ จา่ ยที่ต้องเตรี ยมไว้ เพื่อการ
ดำาเนินการเพื่อให้ ได้ ผลผลิตหรื อบริ การ
ในการวิเคราะห์ ใช้ ข้อมูลต้ นทุนทังสองอย่
้
างนี ้มากที่สดุ
ต้ นทุนเพื่อการตัดสินใจ
(Decision Making Cost)
●
●
ต้ นทุนเพื่อการตัดสินใจ ส่วนมากเป็ นต้ นทุนในอนาคต
ต้ นทุนตามหลักบัญชี ก็สามารถนำามาใช้ เป็ นประโยชน์ใน
การตัดสินใจได้ หากสามารถถูกนำามาดัดแปลงใช้ ให้
เหมาะสม
ต้ นทุนในการดำาเนินกิจการ
●
ดูรายละเอียดได้ จาก
–
งบบัญชีกำาไรขาดทุน (Profit & Loss Statement)
–
รายละเอียดต้ นทุนการผลิต
องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อ
พฤติกรรมของต้ นทุน
●
การแปรผันของต้ นทุนกับปริ มาณการผลิต
●
ลักษณะการใช้ จ่ายของต้ นทุน
●
การกำาหนดปริ มาณการผลิตเต็มตามสมรรถภาพ
●
นโยบายของฝ่ ายบริ หาร
●
การควบคุมรายจ่าย
●
การเปลี่ยนแปลงต้ นทุนของผลิตภัณฑ์
รูปแบบพฤติกรรมของต้ นทุน
●
ต้ นทุนคงที่
●
ต้ นทุนแปรผัน
●
ต้ นทุนกึง่ แปรผัน หรื อกึง่ คงที่
–
–
แบบที่สามารถแบ่งส่วนของต้ นทุนแปรผันกับต้ นทุนคงที่ได้
แบบที่ไม่สามารถแบ่งส่วนของต้ นทุนคงที่และต้ นทุนแปรผันได้
ง่าย
สมมุติฐานในการวิเคราะห์พฤติกรรมต้ นทุน
●
●
ต้ นทุนกึง่ แปรผันมีสว่ นของต้ นทุนคงที่และส่วนของต้ นทุน
แปรผัน
ส่วนของต้ นทุนแปรผันจะแปรผันโดยตรงกับปริ มาณการ
ผลิต
วิธีวิเคราะห์เพื่อจำาแนกพฤติกรรมของต้ นทุน
●
วิธีสงู ต่าำ (High-Low Method)
●
วิธีการทางวิศวกรรมศาสตร์ (Engineering Approach)
●
วิธีทางสถิติ (Statistical Approach)