ONTOLOGY สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาวสันทนี ธรรมสุนทร 50031080 2

Download Report

Transcript ONTOLOGY สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาวสันทนี ธรรมสุนทร 50031080 2

ONTOLOGY
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาวสั นทนี ธรรมสุ นทร 50031080
2.นางสาวเพชรชมพู สุ ภาดาว 50034500
3.นายยุทธนา สุ ขศิริ
50036405
4.นางสาวศิริลกั ษณ์ ทองไพจิตร 50036450
5.นางสาวอัญชลี พละสาร
50036528
1. ทำาไมถึงต้ องมีการพัฒนา ontology
เนื่องจาก ontology กำาลังเข้ามามีบทบาทในโลกของ worldwide web ไม่วา่ จะเป็ นการจัดประเภทต่างๆของเว็บไซต์ เช่น Yahoo
หรื อการซื้ อขายสิ นค้าและบริ การผ่านทางเว็บไซต์ เช่น Amazon
เหตุผลในการพัฒนา ontology
- เพื่อความเข้าใจร่ วมกันในโครงสร้างของข้อมูลหรื อซอฟต์แวร์
ตัวแทน
- เพื่อการนำาโดเมนความรู ้กลับมาใช้ใหม่
- เพื่อการทำาสมมติฐานของโดเมนให้ชดั เจน
- เพื่อแยกโดเมนความรู ้จากความรู ้ของการปฏิบตั ิงาน
-เพื่อการวิเคราะห์โดเมนความรู ้
ตัวอย่ าง ทัว่ ไปในการพัฒนา ontology
สมมติวา่ หลายเว็บไซต์ต่างมีขอ้ มูลทางการแพทย์หรื อให้
บริ การ e-commerce แก่แพทย์หากเว็บไซต์เหล่านี้ร่วมกันและเผย
แพร่ ontology ที่เป็ นคำาอ้างอิงเดียวกันที่พวกแพทย์ใช้ท้ งั หมดแล้ว
คอมพิวเตอร์จะสามารถสกัดข่าวสารและรวมข้อมูลจากเว็บไซต์
ต่างๆ เหล่านี้ แล้วตัวแทนจะสามารถใช้ขอ้ มูลที่ได้รวบรวมไว้เพื่อ
ตอบแบบสอบถามผูใ้ ช้หรื อตอบข้อมูลนำาเข้าจากโปรแกรมอื่นๆ
โดเมนความรู้
การเปิ ดใช้โดเมนความรู้เป็ นหนึ่งในแรงขับเคลื่อนที่อยูเ่ บื้อง
หลังล่าสุ ดที่เพิม่ ขึ้นอย่างรวดเร็ วในการวิจยั ontology ตัวอย่าง สำาหรับ
โดเมนต่างๆในหลายรุ่ นต้องการแสดงความคิดของเวลาซึ่งรวมถึงแนวคิด
ของช่วงเวลา,มาตรการที่สมั พันธ์ของเวลาและอื่นๆ เช่น ในรายละเอียดของ
ontology สิ่ งอื่นๆ ก็สามารถนำามาใช้ใหม่ได้ สำาหรับโดเมนถ้าเราต้องการ
สร้าง ontology ขนาดใหญ่ เราสามารถรวมเอา ontology ที่มีอยูห่ ลายส่ วน
มาอธิบายบางส่ วนของโดเมนที่มีขนาดใหญ่ เรายังสามารถนำา ontology
ทัว่ ไปมาได้ใช้ใหม่อีกด้วย
โดเมนความรู้ (ต่ อ)
ontology ของโดเมนมักไม่เป็ นเป้ าหมายในตัวเอง การพัฒนา
ontology คือจะคล้ายกับการกำาหนดชุดของข้อมูลและโครงสร้างของโปรแกรมอื่นที่
ใช้ วิธีการแก้ปัญหาการประยุกต์ใช้โดเมนอิสระ และตัวแทนซอฟต์แวร์ที่ใช้
ontology และสร้างฐานความรู้จาก ontology เป็ นข้อมูล ตัวอย่างคือ เราพัฒนา
ontology ของไวน์และผสมอาหารที่เหมาะสมของไวน์กบั อาหาร ontology นี้จะ
สามารถใช้เป็ นพื้นฐานสำาหรับการใช้งานบางอย่างในการจัดการร้านอาหารได้ คือ
หนึ่ง สามารถใช้สร้างคำาแนะนำาไวน์สาำ หรับเมนูในวันนี้ หรื อใช้เป็ นคำาตอบของบริ
กรและลูกค้า การประยุกต์ใช้สิ่งอื่นนั้นสามารถวิเคราะห์รายการสิ นค้าของตูเ้ ก็บไวน์
และแนะนำาประเภทไวน์เพื่อขยายไวน์โดยเฉพาะการซื้ อสำาหรับเมนูที่จะเกิดขึ้น
2. ใน ontology มีอะไร
Class คือ ontology ที่สาำ คัญ ซึ่ งจะบอกถึง concept ในโดเมน ตัวอย่างเช่น
ชนิดของไวน์วา่ ทั้งหมดเป็ นไวน์ ซึ่ งกรณี น้ ี จะเป็ นไวน์ที่มีลกั ษณะพิเศษหรื อมี
ลักษณะเฉพาะ คือ ไวน์บอร์โด ซึ่งจะถูกจัดอยูใ่ นกลุ่มไวน์ของบอร์โด ภายใน class
จะมี subclass ที่อธิบายแนวคิดที่มีลกั ษณะเฉพาะของ superclass ตัวอย่างคือ ไวน์แดง
ไวน์ขาว และไวน์กหุ ลาบ
2. ใน ontology มีอะไร(ต่ อ)
Slots จะอธิบายถึงคุณสมบัติของ classses และตัวอย่างเช่น : ไวน์ Château
Lafite Rothschild Pauillac ซึ่งผลิตโดยโรงกลัน่ Château Lafite Rothschild เราจะ
มี slots 2 แบบที่อธิบายไวน์ ตัวอย่างเช่น : ในการทำางานของ slot จะมีการกำาหนดค่า
ให้เต็มและตัวทำา slot จะสัง่ ให้โรงกลัน่ กลัน่ Château Lafite Rothschild ในระดับ
ำ
ต่อไปเราจะพูดถึง สี รู ปร่ างลักษณะ ระดับน้าตาล
ที่จะทำาไวน์ต่อไป
ในด้ านการปฏิบัตกิ ารพัฒนา ontology จะประกอบด้ วย
- กำาหนด class ใน ontology
- การกำาหนด class ในอนุกรมวิธาน (superclass - subclass)
- ลำาดับชั้นของ class ใน ontology
- กำาหนด slots และอธิบายค่าของ slots ได้
- เติมหรื อบรรจุค่าให้ slots ได้ในแต่ละกรณี
รู ปสำ าหรับ classes ตัวอย่ างและความสั มพันธ์ ในโดเมนของไวน์
สี ดาำ จะใช้ สำาหรับ classes และสี แดงจะใช้ สำาหรับตัวอย่ าง(instances)
3. กระบวนการ Knowledge-Engineering
เริ่ มแรกเราต้องการเน้นกฎพื้นฐานในการออกแบบบาง ontology ที่ดู
จะหลายครั้ง กฎเหล่านี้อาจดูเหมือนไม่มีเหตุผลมากกว่า แต่จะช่วยในการ
ตัดสิ นใจการออกแบบในหลายกรณี
1)ไม่ได้มีเพียงหนึ่งวิธีเท่านั้นที่ถูกต้องในการจำาลองแบบโดเมน จะ
มีอีกทางเลือกที่จะสามารถทำางานได้เสมอ ทางออกที่ดีที่สุดมักจะขึ้ นอยูก่ บั
โปรแกรมที่สร้างและสิ่ งที่คาดหวัง
2)การพัฒนา Ontology คือจำาเป็ นต้องมีการทำาซ้าำ
3. กระบวนการ Knowledge-Engineering (ต่ อ)
3)แนวคิดใน ontology ควรจะใกล้เคียงกับวัตถุ (physical หรื อ logical) และ
ความสัมพันธ์ในโดเมนของที่น่าสนใจ ซึ่ งสิ่ งเหล่านี้มกั จะเป็ นคำานาม (วัตถุ) หรื อ
กริ ยา (ความสัมพันธ์) ในประโยคที่อธิบายโดเมน
การแก้ ไข ontology โดยใช้ กระบวนการความรู้ ทางวิศวกรรม
มีข้นั ตอนดังต่ อไปนี้
ขั้นที่ 1 การตรวจสอบโดเมนและกำาหนดขอบเขตของ ontology
ขั้นที่ 2 การพิจารณาเพื่อนำาเอา ontology ที่มีอยูม่ าใช้งาน
ขั้นที่ 3 การแจกแจงเทอมที่สาำ คัญของ ontology
ขั้นที่ 4 การกำาหนดชั้นและลำาดับขั้น
ขั้นที่ 5 การกำาหนดคุณสมบัติของคลาส
ขั้นที่ 6 การกำาหนดมุมมองของสล็อต
ขั้นที่ 7 การสร้างตัวอย่าง
ขั้นตอนที่ 1 การตรวจสอบโดเมนและกำาหนดขอบเขตของ ontology
(Determine the domain and scope of the ontology)
เริ่ มต้นการพัฒนา ontology ด้วยการกำาหนดโดเมนและขอบเขต ซึ่ งนั้น
จะเป็ นการตอบปั ญหาข้อพื้นฐาน เช่น :
- ontology จะครอบคลุมที่โดเมนอะไรบ้าง
- สำาหรับสิ่ งที่เราจะทำาจะต้องใช้ ontology หรื อไม่
- สำาหรับคำาถามประเภทของข้อมูลใน ontology ควรจะให้คาำ ตอบแบบใด
- ใครจะเป็ นผูใ้ ช้และดูแลรักษา ontology
คำาตอบของคำาถามจะเปลี่ยนแปลงไปตามกระบวนการออกแบบ
ontology แต่จะต้องมีการจำากัดขอบเขตของโมเดลนั้นด้วย
competency questions
หนึ่งในวิธีการกำาหนดขอบเขตของ ontology คือการร่ างรายการของคำาถาม ซึ่ ง
คำาถามเหล่านี้จะเป็ นเพียงการร่ างและไม่จาำ เป็ นต้องครบถ้วนสมบูรณ์
ในไวน์และโดเมนอาหารต่อไปนี้เป็ นคำาถามที่สามารถเป็ นไปได้ :
- เมื่อเลือกไวน์ควรพิจารณาลักษณะใด
- ไวน์จาก Bordeaux คือไวน์แดงหรื อขาว
- ไวน์ Cabernet Sauvignon เหมาะกับอาหารทะเลหรื อไม่
- ไวน์ที่เป็ นตัวเลือกที่ดีที่สุดสำาหรับเนื้ อย่างคือไวน์อะไร
- ลักษณะของไวน์มีผลต่อความเหมาะสมของจานหรื อไม่
- bouquet หรื อรู ปร่ างการเปลี่ยนแปลงเฉพาะของไวน์กบั ความเก่าแก่ของปี มี
ผลหรื อไม่
- ปี ที่ดีที่สุดในการผลิต Napa Zinfandel
ขั้นตอนที่ 2. การพิจารณาเพือ่ นำาเอา Ontology ทีม่ อี ยู่มาใช้ งาน
(Consider reuseing existing ontologies)
การนำาเอา Ontology ที่มีอยูม่ าใช้งานอาจจะมีความจำาเป็ น หากระบบของเรา
ต้องการทำางานกับโปรแกรมอื่นๆ ที่มีคาำ ศัพท์เฉพาะทาง ซึ่ ง Ontology โดยส่ วน
ใหญ่ที่มีจะอยูใ่ นรู ปแบบอิเล็กทรอนิกส์ และสามารถนำาไปสู่ การพัฒนาเพื่อให้
สามารถนำาไปใช้งานได้ งานทางด้านการแปลง Ontology จากรู ปแบบหนึ่งไปสู่
รู ปแบบอื่นๆ บ่อยครั้งก็ไม่ใช่เรื่ องยาก เนื่องจากมีไลบรารี่ ของ Ontology ที่นาำ
มาใช้บนเว็บและในงานทางด้านบทความ ตัวอย่างเช่น เราสามารถใช้ไลบรารี่
Ontolingua library หรื อ ไลบรารี่ DAML นอกจากนี้ยงั มี Ontology เชิงพาณิ ชย์
ที่เปิ ดสู่ สาธารณะ เช่น UNSPSC , RosettaNet และ
DMOZ
ขั้นตอนที่ 3. การแจกแจงเทอมทีส่ ำ าคัญใน ontology
( Enumerate important terms in the ontology)
การเขียนลงรายการของเทอมทั้งหมด เราต้องการเพียงส่ วนใดส่ วนหนึ่งใน
การสร้างประโยคที่เกี่ยวข้องหรื อเพื่อที่จะอธิบายให้กบั ผูใ้ ช้วา่ เทอมที่เรา
ต้องการบอกเกี่ยวกับอะไร คุณสมบัติของเทอมเหล่านั้นคืออะไร สิ่ งที่เรา
ต้องการจะบอกเกี่ยวกับเทอมเหล่านั้นคืออะไร
โดยปกติ เราจะสร้างคำาจำากัดความย่อยๆตามแนวคิดในลำาดับชั้น ต่อจากนั้น
ก็จะอธิบายคุณสมบัติของแนวความคิดนั้น เป็ นต้น ทั้ง 2 ขั้นตอนนี้ มีความ
สำาคัญมากในกระบวนการออกแบบ Ontology โดยเราจะอธิบายแบบสั้นๆ คือ
จะใช้อีกสองส่ วนอภิปรายปัญหาที่มีความซับซ้อนมากขึ้น สิ่ งที่เราจะต้อง
พิจารณาคือ ความผิดพลาดทัว่ ไป การตัดสิ นใจทำา และอื่นๆ
ขั้นตอนที่ 4. การกำาหนดชั้นและลำาดับชั้น
(Define the classes and the class hierarchy)
มีหลายวิธีที่เป็ นไปได้ในการพัฒนาลำาดับชั้น (Uschold และGruninger 1996) :
- The top-down กระบวนการพัฒนาจากบนลงล่างเริ่ มต้นด้วยแนวคิดการ
นิยามโดยทัว่ ๆไปในโดเมน และตามด้วยแนวคิดที่เชี่ยวชาญ
- The bottom-up กระบวนการพัฒนาจากล่างขึ้นบนเริ่ มต้นด้วยแนวคิดของ
คลาสเฉพาะส่ วนของลำาดับชั้น ประกอบด้วยกลุ่มย่อยๆของคลาสไปสู่ แนวคิด
ทัว่ ๆไป
- A combination development กระบวนการพัฒนาโดยการรวมเอาวิธีการ
top-down และ bottom-up ซึ่งเรากำาหนดแนวคิดที่สาำ คัญมากก่อน จากนั้นลง
ความความเห็น และศึกษาเป็ นกรณี พิเศษ ดังนั้นจึงเกิดการสร้างแนวความคิดใน
ระดับกลางขึ้น (middle-level)
ขั้นตอนที่ 5. การกำาหนดคุณสมบัตขิ องคลาส-สล็อต
(Define the properties of classes—slots)
ในแต่ละรายการเราจะต้องกำาหนดคลาสที่จะต้องใช้อธิบาย คุณสมบัติเหล่านี้
จะเป็ นแต่ละสล็อตของคลาสที่อยูต่ ิดกัน คลาสเพียงคลาสเดียวจะไม่มีขอ้ มูลเพียง
พอที่จะตอบคำาถามจากขั้นตอนที่ 1 ได้ เมื่อเราได้กาำ หนดคลาส เราจะต้องอธิบาย
โครงสร้างภายในของแนวคิดนี้ เราทำาการเลือกคลาสจากรายการของเทอมที่เรา
สร้างขึ้นในขั้นตอนที่ 3 จากนั้น เทอมที่เหลือจะเป็ นคุณสมบัติของคลาส โดย
สมาชิกของคลาสทั้งหมดจะมีคุณสมบัติในการถ่ายทอด และสล็อตควรจะติดกับ
คลาสทัว่ ไปมากที่สุดถึงจะมีคุณสมบัติของคลาส
ขั้นตอนที่ 6. กำาหนดมุมมองของสล็อต
(Define the facets of the slots)
สล็อตสามารถมีมุมมองที่แตกต่างกันเพื่อที่จะอธิบายค่าแต่ละประเภทที่จะใส่
ค่าที่ยอมรับ จำานวนของค่า (จำานวนนับ) และคุณสมบัติอื่น ๆของค่าสล็อต
สามารถทำาได้
Slot cardinality จะเป็ นตัวกำาหนด ค่าที่ช่องจะมีได้ บางระบบจำาแนกความ
แตกต่างระหว่าง single cardinality (อนุญาตให้มีได้เพียงค่าเดียว) และ multiple
cardinality (อนุญาตให้มีได้หลายค่า)
Slot-value type ชนิดของค่าที่อยูภ่ ายในช่องเป็ นตัวอธิบายว่าชนิดไหนของ
ค่าที่จะสามารถใส่ ลงในช่องได้ ในที่น้ ี เป็ นรายการของชนิดของค่าโดยทัว่ ๆไป
ขั้นตอนที่ 6. กำาหนดมุมมองของสล็อต
(Define the facets of the slots) (ต่ อ)
• String เป็ นชนิดของค่าที่ใช้สาำ หรับช่องจำาพวกชื่อ ค่าที่ใช้จะเป็ นสตริ งทัว่ ๆไป
• Number (บางครั้งจะใช้ค่าที่เป็ นทศนิยมและจำานวนเต็ม) เป็ นช่องที่อธิบายใน
ส่ วนของจำานวน
• Boolean โดยทัว่ ๆไปจะเป็ น yes–no
• Enumerated การแจกแจงรายการในแต่ละช่อง สล็อตที่ระบุอยูใ่ นรายการเป็ น
ค่าที่ยอมรับสำาหรับสล็อต ซึ่งจัดเป็ นประเภทของสัญลักษณ์
• Instance-type จะเป็ นส่ วนที่อนุญาตให้กาำ หนดความสัมพันธ์ในแต่ละส่ วน
โดยจะต้องกำาหนดรายการของคลาสที่ได้การยอมรับจากสิ่ งที่ดาำ เนินการมาแล้ว
ขั้นตอนที่ 7. การสร้ างตัวอย่าง
(Create instances)
ขั้นตอนสุ ดท้ายจะสร้างเฉพาะตัวอย่างของคลาสในลำาดับชั้น
โดยมีข้นั ตอนดังนี้
(1) เลือกคลาส
(2) สร้างตัวอย่างของคลาสนั้นและ
(3) ใส่ ค่าลงในสล็อต
4.การกำาหนดคลาสและลำาดับชั้นของคลาส
ในส่ วนนี้ จะมีการอธิบายสิ่ งที่ตอ้ งระมัดระวังและข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นได้ง่าย
ต่อการกำาหนดคลาสและลำาดับชั้นของคลาส (ขั้นตอนที่ 4จากข้อ 3) ดังที่เราได้กล่าว
ก่อน ไม่มีคลาสลำาดับเดียวที่ถกู ต้องสำาหรับโดเมนใดก็ตาม ลำาดับชั้นของคลาสขึ้นอยู่
กับการใช้และความเป็ นไปได้ของ ontology ระดับของรายละเอียดที่จาำ เป็ นสำาหรับ
โปรแกรมการตั้งค่าส่ วนตัวและความต้องการบางอย่างเข้ากันได้กบั หลายโมเดล
อย่างไรก็ตาม เราได้ปรึ กษาแนวทางต่างๆเพื่อรับทราบและนำาไปพัฒนาลำาดับชั้นของ
คลาส หลังจากที่กาำ หนดคลาสใหม่เป็ นจำานวนมาก ซึ่งมันเป็ นประโยชน์ต่อการย้อน
กลับไปตรวจสอบว่าลำาดับชั้นที่เกิดขึ้นใหม่น้ นั สอดคล้องกับหลักเกณฑ์เหล่านี้หรื อ
ไม่
4.การกำาหนดคลาสและลำาดับชั้นของคลาส(ต่ อ)
4.1 การตรวจสอบความถูกต้ องลำาดับชั้นของคลาส
ความสัมพันธ์ของ “is-a”
ลำาดับชั้นของคลาส แสดงถึงความสัมพันธ์ของ “is-a” ถ้า A เป็ น subclassของ
Bทุกๆตัวใน A จะต้องมีคุณสมบัติพ้ืนฐานที่เหมือนกับ B ด้วย
ตัวอย่าง Chardonnay เป็ น subclass ของไวน์ขาว วิธีคิดอนุกรมวิธานของความ
สัมพันธ์กค็ ือเป็ นความสัมพันธ์ “kind-of” : Chardonnay เป็ น
ประเภทของไวน์ขาว ,jetliner เป็ นชนิดของอากาศยานและเนื้ อเป็ นชนิดของอาหาร
subclass ของคลาสเป็ นแนวคิดที่เป็ น“kind-of” ซึ่งแนวคิดนี้ กเ็ ป็ น superclass
ด้วย
4.1 การตรวจสอบความถูกต้ องลำาดับชั้นของคลาส
ไวน์ ชนิดเดียวไม่ เป็ น subclass ของไวน์ ท้งั หมด
ความผิดพลาดของแบบจำาลองทัว่ ๆไป มีอยู่ 2 อย่างคือ เป็ นเอกพจน์และ
พหูพจน์ ซึ่ งแนวคิดเดียวกันกับลำาดับชั้นของคลาสก่อนแล้วค่อยทำา subclass ทีหลัง
เช่น ความผิดพลาดที่มีการกำาหนดclassไวน์ท้ งั หมดและกำาหนดคลาสไวน์เป็ น
subclass ของไวน์ท้ งั หมด เมื่อคุณคิดเป็ นลำาดับชั้นของคลาสมันจะแสดงถึงความ
สัมพันธ์ของ “kind-of” ของแบบจำาลองที่มีความผิดพลาดอย่างชัดเจน ไวน์เดียวไม่
ได้รวมถึงชนิดของไวน์ท้ งั หมด วิธีที่ดีที่สุดเพื่อหลีกเลี่ยงข้อผิดพลาดดังกล่าวที่มกั เกิด
อยูเ่ สมอ โดยใช้เป็ นเอกพจน์หรื อพหูพจน์ในการตั้งชื่อคลาส
4.1 การตรวจสอบความถูกต้ องลำาดับชั้นของคลาส(ต่ อ)
Transitivity ของความสั มพันธ์ แบบลำาดับชั้น
ความสัมพันธ์ของsubclass เป็ นTransitivity :
ถ้า B เป็ น subclass ของ A และ C เป็ น subclass ของ B แล้ว C ก็ตอ้ งเป็ น subclass
ของ A ด้วยเหมือนกัน ตัวอย่างเช่น เราสามารถกำาหนดคลาสไวน์ และกำาหนดคลาสไวน์
ขาว ให้เป็ น subclass ของไวน์แล้วเรากำาหนดคลาส Chardonnay เป็ น subclass ของไวน์ขาว
Transitivityของความสัมพันธ์ subclass หมายความว่า class Chardonnay เป็ น subclass ของ
ไวน์ บางครั้งเราสามารถแยกระหว่าง direct subclasses และ indirect subclasses subclass
โดยตรง คือ subclass ที่ใกล้เคียงกับคลาส: ไม่มีคลาสระหว่าง
subclassโดยตรงในการลำาดับชั้น คือไม่มีคลาสในการลำาดับชั้น ระหว่างคลาสและ
superclass โดยตรง ในตัวอย่างของเรา Chardonnay เป็ น subclass โดยตรงของไวน์ขาวและ
ไม่เป็ น subclass โดยตรงของไวน์
4.1 การตรวจสอบความถูกต้ องลำาดับชั้นของคลาส(ต่ อ)
วิวฒ
ั นาการของลำาดับชั้นของคลาส
เพื่อรักษาลำาดับชั้นของคลาสที่สอดคล้อง อาจกลายเป็ นความท้าทายที่ค่อยๆ
พัฒนาเป็ นความสนใจ ตัวอย่าง เป็ นเวลาหลายปี ที่ไวน์ Zinfandel มีสีแดง
ดังนั้นเราจึงกำาหนดคลาสของไวน์ Zinfandel เป็ น subclass ของคลาสไวน์แดง
บางครั้งผูผ้ ลิตไวน์เริ่ มคั้นองุ่นและทำาทางด้านการผลิตสี ขององุ่นทันที จึงมีการปรับ
เปลี่ยนสี ของไวน์ดงั ผลลัพธ์ เราจึงได้รับ white zinfandel ซึ่ งเป็ นสี ดอกกุหลาบ ตอนนี้
เราต้องแบ่ง class Zinfandel เป็ น 2 class ของ zinfandel คือ White zinfandel และRed
zinfandel และจัดให้เป็ น subclasses ของ Rose wine และไวน์แดงตามลำาดับ
4.1 การตรวจสอบความถูกต้ องลำาดับชั้นของคลาส(ต่ อ)
คลาสและการตั้งชื่อ
มันเป็ นเป็ นสิ่ งที่สาำ คัญที่แยกได้ระหว่างคลาสและชื่อ:
คำาพ้องสำาหรับแนวคิดเดียวกันไม่แสดงถึงคลาสที่แตกต่างกัน
คำาพ้องเป็ นชื่อที่แตกต่างกันเพียงแนวคิดหรื อคำา ดังนั้นเราจึงไม่ควรมีคลาสที่เรี ยก
Shrimps และ Prawns และอาจจะมีคลาสที่เรี ยก Crevette แต่มีคลาสหนึ่งที่มีชื่อทั้ง
Shrimps หรื อ Prawns เท่านั้น หลายระบบมีการเชื่อมโยงรายการของคำาพ้อง มีการ
แปลหรื อแสดงชื่อด้วยคลาส หากระบบไม่อนุญาตให้มีการเชื่อมโยงคำาเหล่านี้ คำาพ้อง
เหล่านี้มกั จะแสดงอยูใ่ นคลาสแรกสารเสมอ
4.1 การตรวจสอบความถูกต้ องลำาดับชั้นของคลาส
การหลีกเลีย่ ง class cycles
เราควรหลีกเลี่ยงการวนรอบในลำาดับชั้นของคลาส เราบอกว่ามีวนรอบใน
ลำาดับชั้น เมื่อคลาส A บางคลาสเป็ น subclass ของ B และในเวลาเดียวกัน B ก็เป็ น
superclass ของ A เช่น การสร้างจำานวนรอบในลำาดับชั้นที่ประกาศว่าคลาส A และ B
เทียบเท่ากัน :
กรณี ท้ งั หมดของ A เป็ นกรณี ของ B และกรณี ท้ งั หมดของ B เป็ นกรณี ของ A
แท้จริ งแล้ว B เป็ น subclass ของ A ทุกกรณี ของ B จะต้องเป็ นของคลาส A และมื่อ
A เป็ น subclass ของ B ทุกกรณี ของ A จะต้องเป็ นของคลาส B เหมือนกัน
4.การกำาหนดคลาสและลำาดับชั้นของคลาส(ต่ อ)
4.2วิเคราะห์ การเป็ นพีน่ ้ องในลำาดับชั้นของคลาส
พี่นอ้ งทั้งหมดในลำาดับชั้น (ยกเว้นคนที่เป็ น root) จะต้องอยูร่ ะดับเดียวกันทัว่ ๆไป
เช่นไวน์ขาว และ Chardonnay ไม่ควรเป็ น subclasses ในคลาสเดียวกัน ไวน์ขาวเป็ นไวน์
ทัว่ ๆไปที่ไม่ได้กล่าวถึงลักษณะเฉพาะเจาะจงที่มากกว่า Chardonnay การเป็ นพี่นอ้ งกันควร
แสดงลักษณะที่เหมือนกัน ไปในทิศทางเดียวกัน มีระดับเดียวกัน มีพ้ืนฐานทัว่ ๆไปเหมือน
กัน ความหมายที่ตอ้ งการสำาหรับลำาดับชั้นของคลาสคือความต้องคล้ายกับข้อกำาหนดในการ
ร่ างหนังสื อ
แนวคิดของ root ได้กล่าวถึงลำาดับชั้น อย่างไรก็ตาม (บ่อยครั้งที่มกั จะแสดงถึง
subclasses โดยตรงในบางคลาสทัว่ ไป ตัวอย่างเช่น Thing) หมายถึงหน่วยงานที่สาำ คัญของ
โดเมนและไม่ตอ้ งมีแนวคิดที่คล้ายกัน
4.2วิเคราะห์ การเป็ นพีน่ ้ องในลำาดับชั้นของคลาส(ต่ อ)
จำานวนวิธีทมี่ ากเกินไปและบางวิธีการน้ อยเกินไป
ไม่มีกฎที่ยากสำาหรับจำานวนของ subclasses โดยตรงที่คลาสควรจะเป็ น
อย่างไรก็ตามโครงสร้างของ ontology ต้องมีระหว่าง 2 และไม่เกิน 12ของ subclasses
โดยตรง เราจึงมี 2 แนวทางดังต่อไปนี้ :
-ถ้าคลาสมีเพียงหนึ่ง subclass โดยตรงอาจเกิดปัญหาการสร้างแบบจำาลอง
หรื อ ontologyไม่สมบูรณ์
-หาก subclasses มีมากกว่า 12 อาจทำาให้คลาสที่ถกู เพิ่มเติมนั้นจัดอยูใ่ น
ประเภทปานกลาง
4.การกำาหนดคลาสและลำาดับชั้นของคลาส(ต่ อ)
4.3 การสื บทอดทีห่ ลากหลาย
ระบบฐานความรู ้แสดงถึงการสื บทอดที่หลากหลายในคลาสลำาดับชั้น :
คลาสสามารถมี subclass ของคลาสที่หลากหลายได้ สมมติวา่ เราต้องการจะสร้าง
คลาสไวน์ที่แยกทั้งไวน์แดงและไวน์สาำ หรับทานกับขนมหวาน
ดังนั้นเราจึงกำาหนดคลาสไวน์ท้ งั สองเป็ น superclasses : ไวน์แดงและ
สำาหรับทานกับขนมหวาน กรณี ท้ งั หมดของคลาสไวน์ จะกรณี ท้ งั ของคลาสไวน์แดง
และคลาสไวน์สาำ หรับทานกับขนมหวาน คลาสไวน์จะสื บทอดคุณลักษณะมาจากพ่อ
ำ
แม่ ดังนั้นการสื บทอด SWEET สำาหรับสล็อตน้าตาลมาจากไวน์
สาำ หรับทานกับขนม
หวาน สล็อต tannin level มาจากสี ของคลาสไวน์แดง
4.การกำาหนดคลาสและลำาดับชั้นของคลาส(ต่ อ)
4.4 เมือ่ ไหร่ ทเี่ ราจะเริ่ม Class ใหม่
หนึ่งในร้อยของการตัดสิ นใจในการที่เราจะเริ่ ม Class ใหม่ หรื อ อธิบายความ
แตกต่างของคุณสมบัติของข้อมูล มันเป็ นสิ่ งที่ยากเย็นในการจัดการกับมันในการ
ทำาให้มนั เป็ นระเบียบในหลายๆ Class ที่ไม่เกี่ยวข้องและการจัดการข้อมูลในบาง
คลาสจะต้องมีการเข้ารหัสข้อมูลใน Slot ในการหาความเหมาะสมถึงแม้วา่ มันจะไม่
ง่ายก็ตาม
คุณสมบัติโดยทัว่ ไปของ Subclass
1. จะมีคุณสมบัติของ Superclass
2. จะทำาการควบคุมความแตกต่างของ Superclass
3. เกี่ยวข้องในความแตกต่างของความสัมพันธ์ของ Superclass
4.การกำาหนดคลาสและลำาดับชั้นของคลาส(ต่ อ)
4.5 คลาสใหม่ หรือคุณค่ าคุณสมบัติ
ถ้าความแตกต่างมีความสำาคัญและเราคิดว่าวัตถุที่มีค่าแตกต่างกันสำาหรับ
ความแตกต่างของวัตถุดงั นั้นเราจึงควรที่จะสร้างคลาสใหม่สาำ หรับมัน เช่นการ
พิจารณาศักยภาพของแต่ละชั้นอาจเป็ นประโยชน์ในการตัดสิ นใจหรื อไม่แนะนำา
คลาสใหม่ คลาสที่มีขอ้ มูลอยูแ่ ล้วไม่ควรที่จะเปลี่ยนบ่อย
โดยปกติแล้วเราจะใช้คุณสมบัติภายนอกมากว่าคุณสมบัติภายใน เช่น เมื่อเรา
ทำาการย้ายคลาสจากคลาสหนึ่งๆบ่อยๆ เช่น ไวน์แช่เย็นไม่ควรที่จะมีคลาสใน
ontology ในการบรรยายข้างขวดในร้านอาหาร ความเย็นเป็ นคุณสมบัติของไวน์ที่อยู่
ในขวด สามารถที่จะทำาให้มนั หายไปหรื อกลับมาใหม่ได้ ปกติแล้วจำานวน สี สถานที่
ที่ใช้เก็บไม่ใช่สาเหตุที่เราจะนำามาสร้างคลาสใหม่
4. การกำาหนดคลาสและลำาดับชั้นของคลาส(ต่ อ)
4.6 instance หรือ class คืออะไร
เป็ นการตัดสิ นใจว่าแนวคิดใดเป็ นคลาสใน ontology หรื อตัวอย่างนั้นขึ้น
ำ ดของ
อยูก่ บั ศักยภาพการใช้งานของ ontology โดยจะเริ่ มต้นในระดับต่าสุ
ontology ก่อน
อีกนัยหนึ่งคือ สิ่ งที่เป็ นรายการเฉพาะนั้นสามารถแสดงผลในฐานความรู ้
ได้หรื อไม่ โดยให้กลับไปดูที่ส่วนของคำาถามที่ได้ระบุไว้ในความสามารถขั้นที่ 1
ในส่ วนที่ 3 ซึ่ งแนวคิดนี้จะเป็ นคำาตอบที่ได้
4. การกำาหนดคลาสและลำาดับชั้นของคลาส(ต่ อ)
4.6 instance หรือ class คืออะไร (ต่ อ)
ตัวอย่างเช่น ถ้าเรามีการไปพูดคุยเฉพาะเรื่ องของไวน์กบั อาหาร เราก็จะ
ไม่ไปสนใจในส่ วนลักษณะภายนอกของขวดไวน์อีก อย่างเช่น Sterling
Vineyards Merlot ควรจะไปเป็ นคำาเฉพาะที่เราใช้ สำาหรับคำาอื่นๆ คือ
ชั้นไวน์ที่ไม่ได้เป็ นชุดของแต่ละขวดของไวน์ แต่เป็ นไวน์ที่ผลิตจากแหล่ง
ผลิตไวน์เฉพาะ ดังนั้น Sterling Vineyards Merlotจึงควรที่จะเป็ นตัวอย่าง
ในฐานความรู ้
4. การกำาหนดคลาสและลำาดับชั้นของคลาส(ต่ อ)
4.6 instance หรือ class คืออะไร (ต่ อ)
ในทางตรงกันข้าม ถ้าเราต้องการรักษาสิ นค้าคงคลังของไวน์ในร้าน
อาหารไว้นอกเหนือจากฐานความรู ้ของการจับคู่ไวน์และอาหารที่ดี ขวดของไวน์
แต่ละชนิดอาจจะเป็ นกรณี บุคคลในฐานความรู ้ของเราไป
ในทำานองเดียวกัน ถ้าเราต้องการจะบันทึกความแตกต่างของคุณสมบัติ
สำาหรับเหล้าองุ่นโดยเฉพาะ ของ Sterling Vineyards Merlot แล้วเหล้าองุ่น
เฉพาะของไวน์จะเป็ นตัวอย่างในฐานความรู ้และ Sterling Vineyards Merlot
จะเป็ นชั้นที่มีตวั อย่างสำาหรับเหล้าองุ่นทั้งหมด
4. การกำาหนดคลาสและลำาดับชั้นของคลาส(ต่ อ)
4.6 instance หรือ class คืออะไร (ต่ อ)
กฎอื่นๆที่สามารถทำาได้ คือ การย้ายบางกรณี บุคคลจากชุดของชั้น :โดย
ถ้าหากเป็ นไปตามแนวคิดรู ปแบบลำาดับชั้นตามธรรมชาติแล้ว เราควรแสดงพวก
เขาเป็ นชั้นด้วย
4. การกำาหนดคลาสและลำาดับชั้นของคลาส(ต่ อ)
4.6 instance หรือ class คืออะไร (ต่ อ)
พิจารณาภูมิภาคของไวน์ เริ่ มแรกเราอาจกำาหนดภูมิภาคหลักของไวน์
เช่น ฝรั่งเศส สหรัสอเมริ การ เยอรมัน และอื่นๆ เป็ นชั้นและภูมิภาคเฉพาะ
ของไวน์ กับกรณี ของภูมิภาคขนาดใหญ่เหล่านี้ ตัวอย่างเช่น ภูมิภาค Bourgogne
เป็ นตัวอย่างของชั้นภูมิภาคฝรั่งเศส แต่เรายังต้องการพูดว่า Cotes d’Or เป็ นส่ วน
ของ Bourgogne region ดังนั้น Bourgogne region จึงเป็ น class อีก classหนึ่ง
(เพือ่ จะได้มี subclasses or instances) แต่ภมู ิภาค Bourgogne นั้น class และ
Cotes d'Or พื้นที่ตวั อย่างของภูมิภาค Bourgogne ดูเหมือนกับ arbitrary
4. การกำาหนดคลาสและลำาดับชั้นของคลาส(ต่ อ)
4.6 instance หรือ class คืออะไร (ต่ อ)
ซึ่ งมันมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจนกับเรื่ องของภูมิภาคที่เป็ นชั้น
และที่เป็ นกรณี ดังนั้นเราจึงกำาหนดภูมิภาคเป็ นชั้นของไวน์ท้งั หมด
จาก Protege-2000 ช่วยให้ผใู้ ช้ระบุช้ นั ที่เป็ นนามธรรม โดยมีความหมายว่า
ชั้นที่ไม่สามารถมีกรณี ใดๆได้โดยตรงนั้น ภูมิภาคของชั้นทั้งหมดจะถือเป็ น
นามธรรม ดังรู ปที่ 8
4. การกำาหนดคลาสและลำาดับชั้นของคลาส(ต่ อ)
รูปที่ 8 แสดงลำาดับชั้นของภูมภิ าคไวน์ โดย"A" คือ ชื่อ class ถัดไป
ทีเ่ ป็ นนามธรรมและกรณีทไี่ ม่ สามารถทำาได้ โดยตรง
4. การกำาหนดคลาสและลำาดับชั้นของคลาส(ต่ อ)
4.6 instance หรือ class คืออะไร (ต่ อ)
ใน class เดียวกันนั้นจะเกิดความไม่ถูกต้อง ถ้าเราละเว้นคำาว่าภูมิภาค
(region) จากชื่อของ class เราไม่สามารถบอกได้วา่ class Alsace เป็ น subclass
ของ class France เพราะ Alsace ไม่ได้เป็ นชนิดของ France แต่เป็ นชนิดของ
France region ซึ่ ง class เพียงอย่างเดียวสามารถจัดลำาดับชั้นในระบบได้ โดย
ระบบการแทนความรู ้ ไม่สามารถทำาได้ในส่ วนของ sub-instance ดังนั้น ถ้ามี
ลำาดับชั้นตามธรรมชาติ อยูใ่ นเงื่อนไข เช่นในลำาดับชั้นถ้อยคำาจากหัวข้อที่ 4.2
เราสามารถกำาหนดเงื่อนไขที่ classได้ แม้วา่ อาจจะไม่มีกรณี ใดๆของตนเอง
4. การกำาหนดคลาสและลำาดับชั้นของคลาส(ต่ อ)
4.7 การจำากัดขอบเขต
เป็ นขั้นตอนสุ ดท้ายในการกำาหนด class hierarchy ตามรู ปแบบของกฎที่
เป็ นประโยชน์ต่อการตัดสิ นใจ
เมื่อการกำาหนด ontology เป็ นไปอย่างสมบูรณ์ เพราะ ontology ไม่ควร
ประกอบด้วยข้อมูลทั้งหมดที่เป็ นไปได้เกี่ยวกับโดเมน นัน่ คือ คุณไม่จาำ เป็ นต้อง
มีความเชี่ยวชาญ มากกว่าสิ่ งที่ในใบสมัครของต้องการ
4. การกำาหนดคลาสและลำาดับชั้นของคลาส(ต่ อ)
4.7 การจำากัดขอบเขต (ต่ อ)
ใน ontology ของเรา แน่นอนว่าเราไม่ได้รวมคุณสมบัติท้งั หมดที่ไวน์
หรื ออาหารมีอยู่ แต่เราจะแสดงถึงคุณสมบัติที่เด่นที่สุดของ class ของรายการ
ใน ontology ของเรา แม้วา่ หนังสื อเกี่ยวกับไวน์จะบอกปริ มาณขององุ่น เราก็
ไม่ได้รวมความรู ้น้ ี ในทำานองเดียวกัน เราไม่ได้เพิ่มความสัมพันธ์ท้ งั หมดที่เป็ น
สิ่ งหนึ่งในข้อกำาหนด ในระบบของเรา ตัวอย่างเช่นเราไม่ได้รวมความสัมพันธ์
เช่นไวน์ที่ชอบและ อาหารที่ชอบใน ontology เพียงแค่เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์
ของความสัมพันธ์ท้งั หมด ของการเชื่อมโยงระหว่างคำาที่เราได้ กำาหนดไว้
4. การกำาหนดคลาสและลำาดับชั้นของคลาส(ต่ อ)
4.8 subclasses ทีม่ ีความคลาดเคลือ่ น
ระบบจำานวนมากช่วยให้เราสามารถระบุได้อย่างชัดเจนว่ามีหลาย class
ที่เคลื่อนไป class จะคลาดเคลื่อน ถ้าไม่สามารถมีกรณี ใดที่เหมือนกัน
ตัวอย่างเช่น ไวน์ที่ดื่มกับของหวาน และไวน์ขาว classใน ontology จะไม่
คลาดเคลื่อน เพราะไวน์จาำ นวนมากเป็ นทั้งสองกรณี น้ นั
4. การกำาหนดคลาสและลำาดับชั้นของคลาส (ต่ อ)
4.8 subclasses ทีม่ ีความคลาดเคลือ่ น (ต่ อ)
แต่ในทำานองเดียวกันไวน์แดงและไวน์ขาว class ก็อาจมีความ
คลาดเคลื่อนได้ นัน่ คือ ไม่มีไวน์ที่เป็ นทั้งสี แดงและสี ขาวพร้อมกัน (ในเวลา
เดียวกัน) จึงได้วา่ class นั้นมีความคลาดเคลื่อน ซึ่ งจะช่วยให้ระบบสามารถ
ตรวจสอบ ontology ได้ดีกว่า ถ้าเรากำาหนดให้class ของไวน์แดงและไวน์ขาว
มีความคลาดเคลื่อน และมีการสร้าง class ที่เป็ น subclass ของทั้งคู่ข้ ึนมา
5. การกำาหนดรายละเอียดคุณสมบัติ
5.1 ช่ องผกผัน
ค่าของ slot อาจขึ้นอยูก่ บั ค่าของ slot อื่นด้วย เช่น ถ้าไวน์ผลิตโดย
Winery ดังนั้น Winery จึงเป็ นผูผ้ ลิตไวน์ จะได้วา่ ทั้งสองมีความสัมพันธ์กนั คือ
เป็ นผูผ้ ลิตและผลิตภัณฑ์ เรี ยกว่า มีความสัมพันธ์ที่ผกผันกัน การจัดเก็บข้อมูลใน
ำ อน เมื่อเรารู ้วา่ ไวน์ผลิตโดย Winery การกรอกค่า
ทั้งสองทิศทางเป็ นการซ้าซ้
ความสัมพันธ์ผกผันมีการยืนยันได้วา่ สอดคล้องกับฐานความรู ้ ตัวอย่างเช่น เรามี
คู่ของช่องผกผัน maker slot ของ classไวน์ และ produces slot ของ class Winery
เมื่อผูใ้ ช้สร้างตัวอย่างของ class ไวน์ และเติมในค่า slot ของ maker slot ของ
ระบบโดยอัตโนมัติ ซึ่ งเป็ นการเพิม่ การสร้างขึ้นมาใหม่
5.การกำาหนดรายละเอียดคุณสมบัติ(ต่ อ)
5.2 ค่ า Default
ระบบ frame-based จำานวนมาก เป็ นการกำาหนดค่าเริ่ มต้น
สำาหรับslot ถ้าค่าช่วงหนึ่งเหมือนกันสำาหรับกรณี ส่วนใหญ่ของ class เรา
สามารถกำาหนดค่านี้เป็ นค่าเริ่ มต้นสำาหรับslot จากนั้นเมื่อแต่ละตัวอย่าง
ใหม่ของ class ที่มีช่วงนี้จะมีการสร้าง ระบบเติมค่าเริ่ มต้นโดยอัตโนมัติ
ซึ่งเราสามารถเปลี่ยนค่าเป็ นค่าอื่นๆในส่ วนของด้านได้ นัน่ คือค่าเริ่ มต้น
จะมีความสะดวก เพราะพวกเขาจะได้ไม่ตอ้ งบังคับใช้ขอ้ จำากัดใหม่ ๆ ใน
ตัวอย่างหรื อเปลี่ยนรู ปแบบใดๆ
6.อะไรอยู่ในชื่อ ?
ข้อตกลงในการกำาหนดการตั้งชื่อสำาหรับ class หรื อ slot และควรปฏิบตั ิตามนั้น
ตามที่กล่าวมานั้นในระบบการแทนความรู ้นนั่ มีผลต่อข้อตกลงในการตั้งชื่อ ระบบจะมี
พื้นที่ชื่อเดียวกันสำาหรับ class ระบบจะอณุญาตให้ class และ slot มีชื่อเดียวกัน
ในกรณี ที่ระบบมีความอ่อนไหว นัน่ คือ ระบบจะมีการรักษาชื่อไม่ให้ซากั
้ ำ นเพื่อให้
ชื่อมีความแตกต่างกัน
สิ่ งที่คนั่ อยูร่ ะหว่างการยอมรับชื่อของระบบคืออะไร นัน่ คือ ชื่อสามารถมีช่องว่าง
คอมม่า ดอกจันทร์
ตัวอย่าง การรรักษาพื้นที่สาำ หรับชื่อหนึ่งๆให้อยูใ่ นกรอบ ในกรณี ที่ระบบมีความ
อ่อนไหว เราจะไม่สามารถมี class winery และ slot winery ในทางกลับกัน ในกรณี ที่ระบบ
ไม่มีความอ่อนไหว การรักษาพื้นที่สาำ หรับ class และ slot และสำาหรับส่ วนตัว ในมุมมอง
ของระบบจะไม่มีปัญหาในการตั้งชื่อของทั้ง class และ slot winery
6.อะไรอยู่ในชื่อ (ต่ อ)
6.1 ตัวพิมพ์ ใหญ่ และตัวคัน่
อันดับแรก เราต้องทำาให้การอ่านง่ายขึ้นสำาหรับ ontology ถ้าเราใช้ตวั พิมพ์
ใหญ่สาำ หรับชื่อแนวคิดเช่น ใช้ตวั พิมพ์ใหญ่สาำ หรับชื่อ class และตัวพิมพ์เล็กสำาหรับ
ชื่อ slot เมื่อชื่อของแนวคิดบรรจุมากกว่าหนึ่ง word เราต้องทำาการกั้นขอบเขตของ
word นี่คือตัวเลือกที่เป็ นไปได้
การใช้พ้ืนที่ : Meal course ทำาการนำาคำามาเชื่อมต่อกันและใช้ตวั พิมพ์ใหญ่หน้าคำา
ที่เรานำามาเชื่อม MealCourse
การใช้อนั เดอร์สกอร์ หรื อ ขีดยาว หรื อตัวคัน่ อื่นๆ Meal-Course, Mealcourse,Meal_course
6.อะไรอยู่ในชื่อ (ต่ อ)
6.2 เอกพจน์ หรือพหูพจน์
แสดงการจัดเก็บชื่อวัตถุ เช่น การแสดงชั้นของไวน์ เป็ นธรรมชาติ
ของนักออกแบบที่จะเรี ยกชื่อของไวน์ไปตามไวน์น้ นั ๆ ไม่มีทางเลือกที่ดี
หรื อร้ายไปกว่าสิ่ งอื่นๆ อย่างไรก็ตามอะไรที่เป็ นตัวเลือกบางทีอาจจะใช้
ontology เดียวกันทั้งหมด บางระบบต้องใช้ user ในการแจ้งล่วงหน้าหรื อไม่
พวกเขาจะใช้เป็ นเอกพจน์หรื อพหูพจน์สาำ หรับชื่อแนวคิดและไม่อนุญาตให้
พวกเขาหลงทางจากทางเลือกที่นกั ออกแบบจะใช้รูปแบบเดียวกันในการ
สร้างโมเดลเพื่อไม่ให้ผดิ ผลาดในการสร้างชั้นไวน์
6.อะไรอยู่ในชื่อ (ต่ อ)
6.3 ข้ อตกลงเกียวกับกำานำาหน้ าและคำาท้ าย
ฐานความรู ้บางส่ วนมีวธิ ีการในการใช้คาำ นำาหน้าและคำาต่อท้ายของ
ชื่อเพื่อใช้จาำ แนกความแตกต่างระหว่าง class และ slot วิธีการปฏิบตั ิที่เป็ น
สามัญ 2 ข้อจะใช้ has-or ในคำาต่อท้ายและใช้ of สำาหรับชื่อ slot ดังนั้น slot
ของเราจะกลายเป็ น has-maker และ has-winery ถ้าเราเลือกการใช้ has ถ้า
slot ของเราจะกลายเป็ น maker-of และ winery-of ถ้าเราเลือก of การทำา
แบบนี้ ต่างก็เป็ นที่ยอมรับ
6.อะไรอยู่ในชื่อ (ต่ อ)
6.4 การพิจารณาการตั้งชื่อแบบอืน่ ๆ
นี่คือบางสิ่ งเล็กๆน้อยๆเมื่อเราตัดสิ นใจที่จะตั้งหัวข้อ
อย่าตั้งชื่อเดียวกับ class และ slot และ ชื่อของหัวข้อ ตัวอย่าง เช่น ในทาง
บวกเราใช้การตั้งชื่อที่แตกต่างกันสำาหรับ class และ slot ชื่อของตัวมันจะต้องบ่งบอก
ถึงแนวความคิดของมันว่าคืออะไร
ความคิดที่ดีควรที่จะหลีกเลี่ยงการย่อชื่อของแนวความคิด ชื่อโดยตรงของ
subclass สำาหรับ class แล้วควรจะครอบคลุมทั้งหมด หรื อ ไม่รวมแค่ชื่อชื่อของ
subclass เช่น ถ้าเราสร้าง subclass มา 2 subclass ของ wine class เพื่อที่จะแสดง red
wine และ white wine ชื่อของ subclass ทั้ง 2 ควรจะเป็ น Red wine หรื อ White wine
และ Red หรื อ White ไม่ใช่ Red wine หรื อ White
7. แหล่ งทีม่ าอืน่ ๆ
เราใช้ Protégé-2000 เพื่อใช้ในการพัฒนา ontology ตัวอย่าง Duineveld และ
เพื่อนร่ วมงานได้ทาำ การบรรยายและได้เปรี ยบเทียบตัวเลขในการพัฒนาสภาพ
แวดล้อมของ ontology เราพยายามที่จะพูดถึงพื้นฐานแบบสุ ดๆในการพัฒนา
ontology แต่ยงั ไม่ได้หวั ข้อใหม่ หรื อ ทางเลือกอื่นๆในการพัฒนา ontology ใน
ปั จจุบนั ได้ให้ความสำาคัญกับการวิจยั ไม่ใช่เพียงแต่วิธีการพัฒนา ontology เราต้อง
ทำาการวิเคราะห์ ontology ด้วย ในขณะที่ ontology ส่ วนมากได้ถกู นำากลับมาใช้ใหม่
มีเครื่ องมือจำานวนมากในการใช้วเิ คราะห์ ontology ตัวอย่างเช่น Chimaera
8. ส่ วนสุ ดท้ าย
ในขั้นต้นเราได้บรรยายถึงวิธีการในการพัฒนา ontology สำาหรับอธิบายโครง
ร่ างของระบบเราได้ทาำ รายการในกระบวนการพัฒนา ontology และได้บรรยายปั ญหา
ที่ซบั ซ้อนของการกำาหนดลำาดับการปกครองและคุณสมบัติของ class และยกตัวอย่าง
อย่างไรก็ตามหลังจากที่ทาำ ตามกฎและคำาแนะนำาทั้งหมดแล้วหนึ่งในปั ญหาที่สาำ คัญที่
ควรจำาไว้คือ ไม่มี ontology ใด ontology หนึ่ง ถูกต้องไปหมดสำาหรับแนวความคิด
ต่างๆ การสร้างสรรค์กระบวนการในการออกแบบ ontology ในการออกแบบระหว่าง
บุคคล 2 คนนั้น ontology ควรที่จะเหมือนกัน การพัฒนา ontology นักออกแบบจะ
ต้องเข้าใจในมุมมองของขอบเขตความรู้และไม่มีความลังเลในการออกแบบ