คัดกรองสมองเสื่อม 23

Download Report

Transcript คัดกรองสมองเสื่อม 23

สมองเสือ่ ม (Dementia)
พญ. ไพลิน ไพสิน วว. เวชศาสตร์ครอบครัว
เวชกรรมสังคม โรงพยาบาลพิจติ ร
สมองเสือ่ ม
 คืออะไร ?
 มีลกั ษณะอย่างไร
 ใครเป็ น?
?
สมองเสือ่ ม
 คนทัว่ ไปคิดอย่างไร
 แก่แล้ วก็ต้องลืมเป็ นธรรมดา
?
 ถ้ าปล่อยไว้ โดยไม่ทาอะไรจะเกิดอะไรขึ ้น ?
 เป็ นโรคที่ต้องรักษา
เมือ่ อายุมากขึน้ แล้ว สมองจะเป็ นอย่างไร
 ความสามารถลดลง : ความจา การเรี ยนรู้ สิ่งใหม่ๆ
 แต่ไม่รุนแรง ไม่กระทบกับชีวิตประจาวัน
 เพราะมีการปรับตัวด้ วยวิธีอื่นๆ จนสามารถดาเนินชิวิตได้
ตามปกติ
 Cognitive ความสามารถของสมอง
 Delirium
vs Dementia
 หลง หรื อ สมองเสื่อม
Cognitive : ความสามารถของสมอง

ความจา

จินตนาการ

เหตุผล

ความคิด

การรับรู้

การตัดสินใจ
ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
Delirium : หลง
 Delirium
: การเปลี่ยนแปลงของการรู้สติ ญาติจะให้ ประวัติวา่
ใช้ เวลาแค่ไม่นาน(เป็ นชัว่ โมงหรื อเป็ นวัน) ก็มีอาการแบบนี ้
Ex :
อาการปกติ
อาการหลง
วันรุ่งขึ ้น
Essentials of Clinical Geriatrics : Robert L. Kane et al.
Delirium : หลง
 การรู้ สติเปลี่ยน : ซึมลงหรื อสับสน ตื่นตัวมากกว่าปกติ ไม่มีสมาธิ
: จาไม่ได้ ไม่รับรู้เวลา สถานที่ บุคคล
การใช้ ภาษาผิดปกติ พูดไม่ร้ ูเรื่ อง ประสาทหลอน
 อาการขึ ้นๆลงๆ เช่น กลางวันหลับตลอดหรื อคุยกันรู้ เรื่ องดี แต่
กลางคืนหลงพูดไม่ร้ ูเรื่ อง ตื่นวุน่ วายทังคื
้ น
 ความสามารถสมองเปลี่ยน
Essentials of Clinical Geriatrics : Robert L. Kane et al.
Delirium : หลง
 ปั จจัยที่ทาให้ มีโอกาสมีอาการหลงมากขึ ้น :
ประสาทสัมผัสผิดปกติหรื อถูกปิ ดกันประสาทสั
้
มผัส เช่น ถูกปิ ดตา
สองข้ างหรื อหูไม่ได้ ยิน
 อดนอน
 เคลื่อนไหวไม่ได้ หรื อถูกจากัดการเคลื่อนไหว เช่น admitและต้ องอยู่
แต่บนเตียง
 เปลี่ยนสถานที่หรื อเปลี่ยนสิง่ แวดล้ อม เช่น ย้ ายมาอยู่บ้านลูกอีกคน
หรื อย้ ายมานอนโรงพยาบาล

Essentials of Clinical Geriatrics : Robert L. Kane et al.
Dementia : สมองเสือ่ ม
เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะสมองเสือ่ ม (DSM
IV Criteria)
 จะต้ องสูญเสียความสามารถ/ความรอบรู้ ของสมองหลายๆ
ด้ าน โดยจะต้ องมีความจาเสื่อมและมีความบกพร่ องอย่ าง
น้ อยอีก 1 อย่ าง ในเรื่ องต่อไปนี ้
ความผิดปกติในเรื่ องภาษา (Aphasia)
 ทากิจกรรมต่าง ๆ ไม่ได้ ไม่เป็ น (Apraxia)
 ไม่ร้ ู จก
ั ไม่ร้ ูเรื่ อง (Agnosia)
 คิด วางแผน จัดลาดับไม่ได้ (Disturbance in executive

function)
ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
ความจาเสือ่ ม (Memory Impairment)
 เสีย Recent
memory ก่อน
 ความจาเก่า (Remote Memory) จะยังเหลืออยู่
ในระยะแรก
ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
ความผิดปกติดา้ นภาษา
(Aphasia)
 พูดไม่ถก
ู เรี ยกไม่ถกู แต่ร้ ูวา่ ใช้ ทาอะไร เช่น ส่วนของ
ร่างกาย หรื อสิ่งของต่าง ๆ
ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
ความบกพร่องในการทากิจกรรม
(Apraxia)
 มีความบกพร่ องในการทากิจกรรม
 ทากิจกรรมต่างๆไม่ได้ ไม่เป็ น โดยมีความสามารถในการ
เคลื่อนไหวกล้ ามเนื ้ออยูใ่ นเกณฑ์ปกติ
ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
ไม่รจู้ กั ไม่รเู้ รือ่ ง
(Agnosia)
 ไม่ร้ ู จก
ั สิ่งต่างๆแม้ จะมีประสาทรับรู้ปกติ
ไม่ร้ ูจกั คนในครอบครัว คนในกระจก
 คลาเหรี ยญ คลากุญแจไม่ทราบว่าเป็ นอะไร

ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
เช่น
คิด วางแผน จัดลาดับไม่ได้
(Disturbance in Executive Function)
 เสียความสามารถเกี่ยวกับการวางแผน การประมวล การ
วางลาดับ ความคิดเชิงนามธรรม เช่น

ไม่เข้ าใจการเปรี ยบเทียบ ความเหมือน / แตกต่าง


เก้ าอี ้กับโต๊ ะ เหมือนกันอย่างไร
ไม่ร้ ูวา่ ต้ องทาอะไรก่อนหลัง
ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะสมองเสือ่ ม (DSM
IV Criteria)
 ความบกพร่ องที่เกิดขึ ้นจะต้ องรุ นแรงจนทาให้ มผ
ี ลกระทบ
ต่ออาชีพและสังคม และเห็นได้ ชดั ว่าเปลี่ยนแปลง
บกพร่องลงจากระดับเดิม
ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
Dementia : สมองเสือ่ ม
 ความจาเสื่อม
 ความบกพร่ องของสมองอย่างน้ อย 1 ใน 4 อย่าง
 เกิดขึ ้นเป็ นเวลาอย่างน้ อย 6 เดือน
 รุ นแรงจนกระทบต่ออาชีพการงานหรื อสังคม และเห็นได้ ชด
ั เจน
ว่าบกพร่องเปลี่ยนแปลงจากเดิม
Delirium vs Dementia
Essentials of Clinical Geriatrics : Robert L. Kane et al.
Feature
Delirium
Dementia
Onset
Acute
Insidious
Course
Fluctuating, with lucid
interval, worse at night
Generally stable over
course of day
Duration
Hours to weeks
Months to years
Awareness
Reduced
Clear
Alertness
Abnormally low or high
Usually normal
Attention
Hypoalert/hyperalert,
fluctuate
Usually normal
Essentials of Clinical Geriatrics : Robert L. Kane et al.
Feature
Delirium
Dementia
Orientation
Usually impaired : time
Often impaired
Memory
impaired
Immediate & recent
Recent & remote
Thinking
Disorganized
Impoverished
Perception
Illusions & hallucination
(visual)
Usually normal
Speech
Incoherent, hesitant, slow
or rapid
Difficulty in finding words
Sleep-wake
cycle
Always disrupted
Often fragmented sleep
Physical
illness or
Present
Often absent (Alzheimer
dz.)
สมองเสือ่ มมีหลายประเภท
 อัลไซเมอร์
 สมองเสื่อมจากเส้ นเลือดในสมองผิดปกติ
 สมองเสื่อมจากโรคพาร์ กินสัน
 อื่นๆ
Dementia : DDx








D
E
M
E
N
T
I
A
Drug intoxication : TCAs, anticholinergics
Emotional disorder : depression
Metabolic & endocrine : hypothyroid, anemia
Eye & ear disorder
Nutritional disorder : B12, folate
Tumor : 1˚& 2˚, NPH
Infection : HIV, syphilis
Alcohol/Atherosclerosis : vascular
Dementia : สมองเสือ่ ม - สาเหตุอ่นื ๆทีท่ าให้เกิดอาการคล้ายกันได้
 ยาบางชนิดที่ทาให้ งว่ งซึม
 อาการทางจิตเวชบางชนิด เช่น : ซึมเศร้ า
 โรคต่อมไร้ ทอ
่ หรื อเมตาบอลิค เช่น ภาวะธัยรอยด์ต่า โลหิตจาง
 หูหรื อตาไม่ดี
Dementia : สมองเสือ่ ม - สาเหตุอ่นื ๆทีท่ าให้เกิดอาการคล้ายกันได้
 ขาดสารอาหารบางชนิด ได้ แก่ วิตามิน B12
โฟลิค
 เนื ้องอกในสมอง
 การติดเชื ้อ เช่น HIV
ซิฟิลิส
 แอลกอฮอล์
 เส้ นเลือดสมองตีบหรื อเลือดออกผิดปกติในสมอง
Dementia : สมองเสือ่ ม
 รู้ ได้ จาก
 สาคัญที่สด
ุ คือ ประวัติจากญาติใกล้ ชิด (ประวัตทิ ี่แม่นยาที่สดุ
คือประวัติที่ได้ จากผู้ดแู ลที่อยูก่ บั ผู้ป่วยมานานอย่างน้ อย 5 ปี )
 แบบทดสอบสมรรถภาพสมอง : MMSE
 ตรวจร่ างกาย
 ตรวจทางห้ องปฏิบต
ั ิการ
 เอกซเรย์คอมพิวเตอร์
Dementia : สมองเสือ่ ม
 การดาเนินโรค : ค่อยเป็ นค่อยไป ค่อยๆทรุ ดลงเรื่ อยๆ อาจมี
ปั ญหาด้ านพฤติกรรมตามมา เช่น ชอบหลงทางออกนอกบ้ าน
ก้ าวร้ าว อารมณ์เปลี่ยนแปลง ทากิจวัตรประจาวันเองไม่ได้ ติด
คนดูแล
 การดูแลรักษา : โดยไม่ใช้ ยา และด้ วยยา
บทบาทของเจ้าหน้าที่
 คัดกรอง
 ให้ คาแนะนา
 ความรู้ เกี่ยวกับโรคและการดาเนินโรค
 การดูแล
 การจัดกิจวัตรประจาวัน
 อาหารและโภชนาการ

ช่วยเหลือผู้ดแู ล
Dementia : สมองเสือ่ ม
 การคัดกรอง
 แบบประเมินภาวะสมองเสื่อม (สาหรับบุคคลใช้ ประเมิน
ผู้สงู อายุ)
 ให้ คะแนนตามคาถามและความถี่
1. หาของใช้ในบ้านไม่พบ
 หาของไม่เจอ
 หาอะไรไม่เจอบ้ าง
 ไปเจอของอยูท
่ ี่ไหน
 พอเจอแล้ วผู้ป่วยจาได้ มยว่
ั ้ าตนเองเป็ นคนวางไว้ เอง
 เกิดขึ ้นบ่อยแค่ไหน
2. จาสถานทีท่ เ่ี คยไปบ่อยๆไม่ได้
 เช่นที่ไหนบ้ าง
 เดิมเคยไปบ่อยแค่ไหน
 จาไม่ได้ บอ
่ ยแค่ไหน
3. ต้องกลับไปทบทวนงานทีต่ งั ้ ใจทาซ้าถึง 2 ครัง้
 เพิ่งเตรี ยมข้ อมูลการประชุมหรื อเตรี ยมการสอนเอง แต่จาไม่ได้
ต้ องทวนซ ้า
 แม่ค้าจาของที่ตนเองขายไปไม่ได้
 จาไม่ได้ บอ
่ ยแค่ไหน
4. ลืมของทีต่ งั ้ ใจว่าจะเอาออกไปนอกบ้านด้วย
 ลืมอะไร
 ลืมบ่อยแค่ไหน
5. ลืมเรือ่ งทีไ่ ด้รบั ฟงั มาเมือ่ วานนี้หรือเมือ่ 2-3วันก่อน
 เรื่ องที่สาคัญและน่าจะเป็ นเรื่ องที่ผ้ ป
ู ่ วยสนใจ
 ลืมบ่อยแค่ไหน
6. ลืมเพือ่ นสนิทหรือญาติสนิทหรือบุคคลทีค่ บหากันบ่อยๆ
 เป็ นคนที่เจอกันบ่อยๆ แต่นก
ึ ชื่อไม่ออก หรื อลืมไปว่าเป็ นใคร
 ลืมบ่อยแค่ไหน
7. ไม่สามารถเข้าใจเนื้อเรือ่ งในหนังสือพิมพ์หรือวารสารทีอ่ ่าน
 ญาติเห็นผู้ป่วยอ่านหนังสือ เคยถามหรื อไม่วา่ อ่านอะไรอยู่ ให้
ผู้ป่วยเล่าให้ ฟัง
 ตังใจดู
้ โทรทัศน์ฟังวิทยุ แล้ วไม่เข้ าใจเนื ้อเรื่ อง ว่าข่าวว่าอย่างไร
หรื อละครมีเนื ้อเรื่ องอย่างไร
 เป็ นบ่อยแค่ไหน
8. ลืมบอกข้อความทีค่ นอื่นวานให้บอกอีกคนหนึ่ง
 คนอื่นฝากไปบอกอีกคนหนึง่ แต่ลืมบอก
 ลืมบ่อยแค่ไหน
9. ลืมข้อมูลส่วนตัวของตนเอง
 เช่น วันเกิด ที่อยู่ – ข้ อมูลที่ผ้ ป
ู ่ วยเคยจาได้ ดีและไม่ใช่ข้อมูลที่
เปลี่ยนบ่อยๆ
 ลืมบ่อยแค่ไหน
10. สับสนในรายละเอียดของเรือ่ งทีไ่ ด้รบั ฟงั มา
 เรื่ องที่เพิ่งได้ ฟังมา แต่จาไม่ถก
ู สับสน
 เกิดขึ ้นบ่อยแค่ไหน
11. ลืมทีท่ เ่ี คยวางสิง่ ของนัน้ เป็ นประจาหรือมองหาสิง่ ของนัน้ ในทีท่ ไ่ี ม่
น่าจะวางไว้
 ลืมที่วางของหรื อที่ไว้ ของประจา
 ของนันยั
้ งวางอยูท่ ี่ประจาของมัน แต่ผ้ ปู ่ วยหาไม่เจอ หรื อไปหา
ในที่แปลกๆ
 เกิดขึ ้นบ่อยแค่ไหน
12. ขณะเดินทางหรือเดินเล่นหรืออยูใ่ นอาคารทีเ่ คยไปบ่อยๆ มักเกิด
เหตุการณ์หลงทิศหรือหลงทาง
 หลงทางในที่ที่ไปบ่อยๆ
 เป็ นบ่อยแค่ไหน
13. ต้องทากิจวัตรประจาวันบางอย่างซ้าถึงสองครัง้ เพราะมีความ
ผิดพลาดเกิดขึน้
 ทาอาหารแต่จาไม่ได้ วา่ ใส่เครื่ องปรุ งหรื อยังทังๆที
้ ่ใส่แล้ วก็ใส่ซ ้า
ไปอีก
 กินยาแล้ วแต่จาไม่ได้ จงึ กินซ ้าเข้ าไปอีก
 จาไม่ได้ วา่ หวีผมแล้ ว เดินไปหวีซ ้าอีก
14. เล่าเรือ่ งเดิมซ้าอีกครัง้ ซึง่ เมือ่ ครูเ่ พิง่ เล่าเสร็จ
 เพิ่งเล่าเรื่ องนี ้เสร็ จก็เล่าเรื่ องเดิมซ ้าอีกแล้ ว
 เป็ นบ่อยแค่ไหน
เนื่องจากมีภารกิจค่อนข้ างมากทาให้ ชีวิตท่าน
ค่อนข้ างยุง่ ควรจะต้ องได้ รับคาแนะนาเพื่อ
ปรับปรุงความจาให้ ดีขึ ้น
ควรจะไปพบแพทย์
การคัดกรอง
 อาเภออื่นๆ
 อาเภอเมือง
การคัดกรอง : อาเภออื่นๆ
 กรณีสงสัย : คะแนนตังแต่
้ 40 คะแนนขึ ้นไป
 ปรึกษาพยาบาลจิตเวช
การคัดกรอง : อาเภอเมือง
 กรณีสงสัย : คะแนนตังแต่
้ 40 คะแนนขึ ้นไป
 ทยอยส่งปรึกษา
 คลินิกจาแจ่ม : วันจันทร์ รับปรึกษาได้ ไม่เกิน 3 คนต่อวัน
 จิตเวช : วันจันทร์ และ อังคาร รับปรึกษาได้ ไม่เกิน 5 คนต่อวัน
โทรนัดก่ อนส่ งผู้ป่วยมาทุกครั้ ง
โทรนัด
: เวลาราชการ
 คลินิกจาแจ่ม :
 จิตเวช
บทบาทของเจ้าหน้าที่
 คัดกรอง
 ให้ คาแนะนา
 ความรู้ เกี่ยวกับโรคและการดาเนินโรค
 การดูแล
 การจัดกิจวัตรประจาวัน
 อาหารและโภชนาการ

ช่วยเหลือผู้ดแู ล
การติดตามอาการของผูป้ ว่ ยสมองเสือ่ ม
 อาการความจาที่เปลี่ยนแปลงไป : การลืม บ่อยขึ ้นหรื อไม่ เริ่ ม
ลืมอะไรอีก การถามคาถามซ ้าๆ (ถามบ่อยกว่าเดิม – ถามกี่
ครัง้ )
 การทากิจวัตรประจาวันที่เปลี่ยนแปลงไป : ผู้ดแู ลต้ องช่วยเหลือ
ผู้ป่วยในเรื่ องใดเพิ่มขึ ้น
 ปั ญหาด้ านอารมณ์ : อารมณ์ไม่มน
ั่ คง ก้ าวร้ าว โกรธง่าย
 ปั ญหาพฤติกรรมต่างๆ
 ผู้ดแู ลเป็ นอย่างไรบ้ าง
บทบาทของผูด้ แู ล
 ให้ ผ้ ปู ่ วยมีความสุขสบาย
 ชะลอความเสื่อมและการสูญเสียความสามารถของผู้ป่วย
ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
การดูแลผูป้ ว่ ยสมองเสือ่ ม
ยืดหยุน่
 ยอมตามและหาทางเปลี่ยนแปลงทีหลัง
 ยอมรับกับพฤติกรรมของคนไข้

อย่าคิดแก้ ไขพฤติกรรม
 ให้ ความมัน
่ ใจและให้ รับรู้สภาพบ่อย ๆ

ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
การดูแลผูป้ ว่ ยสมองเสือ่ ม

ยอมรับความสามารถที่มีเหลืออยู่
 ใช้ ความสามารถให้ เป็ นประโยชน์


ให้ คาแนะนาเป็ นขันตอน
้
หลีกเลี่ยงความขัดแย้ ง หรื อ การพยายามให้ เหตุผลแก่
ผู้ป่วย
ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
การดูแลผูป้ ว่ ยสมองเสือ่ ม


ลดการรบกวนผู้ป่วย
พูดคุยสื่อสารอย่างง่าย ๆ สัน้ ๆ
ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
การดูแลผ้ ูป่วยสมองเสื่อมเพื่อ
ชะลอการสูญเสียความสามารถ




อาหาร
ออกกาลังกาย
หลีกเลี่ยงอุบตั ิเหตุ
ปรับปรุงที่อยูอ่ าศัย
ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์



หลีกเลี่ยงยาที่ไม่จาเป็ น
ป้องกันโรค
ร่วมกิจกรรมทางสังคม
การส่งเสริมสุขภาพของผูป้ ่ วยสมองเสื่อม
 อาหารและน ้าหนักตัว
 การออกกาลังกาย
 การให้ ภม
ู ิค้ มุ กันและหลีกเลี่ยงโรคติดต่อ
 กิจกรรมทางสังคม เช่น การได้ พบเพื่อน หรื อญาติ
ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
สถานที่อยู่อาศัยปลอดภัยสาหรับผู้ป่วย
สมองเสื่อม
 สิ่งของอันตราย
 ไฟฟ้า/แก๊ ส/น ้าร้ อน
 หน้ าต่าง/ประตู
 ระวังไฟไหม้
 แสงสว่าง
 ของชิ ้นเล็ก ๆ
 เฟอร์ นิเจอร์
ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
สิ่งแวดล้อมกับผูส้ งู อายุสมองเสื่อม
 ให้ อยูใ่ นสิ่งแวดล้ อมที่ค้ น
ุ เคย ในช่วงระยะแรกและระยะปาน
กลางไม่ควรย้ ายที่อยูอ่ าศัยหรื อปรับย้ ายเครื่ องเรื อนหลัก
เพราะอาจทาให้ ผ้ ปู ่ วยสับสนมากขึ ้น
 ใช้ เฟอร์ นิเจอร์ ที่มน
ั่ คง ไม่ลื่น เลี่ยงสิ่งของที่มีล้อ
 เลี่ยงการตกแต่งด้ วยกระจกเงา
 สีห้องและม่าน ควรเป็ นสีโทนเดียว สบายตา ไม่มีลวดลาย
 ทางเดิน พื ้น บันได โล่ง สะดวก
 ยาและสารเคมี จัดเก็บไว้ ในที่มิดชิด
ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
การคงสภาพความจา
 เวลา
 ปฎิทิน กระดานดา
 วัน วันที่ เดือน ปี
 พระอาทิตย์ขึ ้น/ตก
 รายการวิทยุโทรทัศน์
 สถานที่
 ที่อาศัย เฟอร์ นิเจอร์
 บุคคล
 บอกชื่อตนเองและคนอื่นๆ
 รู ปถ่ายใหญ่ๆของครอบครัว
 ดูรูปถ่ายคุยเรื่ องความหลัง
 ให้ เล่าเรื่ องเก่า ๆ
ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
การคงสภาพความจา
อาบน ้า
เตรี ยมอุปกรณ์ให้ พร้ อม
ห้ องน ้าสะดวก
ไม่รีบร้ อน
 การทาความสะอาดใบหน้ า ฟั นปลอม โกนหนวด
แปรงฟั น
ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
การคงสภาพความจา
 กิจวัตรประจาวัน
สม่าเสมอ ตามกาหนดเวลา
ช่วยตัวเอง แต่อานวยความสะดวกให้ ด้วย
การขับถ่าย ห้ องส้ วมแห้ ง ปลอดภัย ไร้ ผ้าขี ้ริ ว้ ติดตัง้
หัวฉีดชาระ
ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
สภาพจิตใจของผ้ ูดแู ล
การเปลีย่ นแปลงด้านภาวะจิตใจของญาติเมือ่
ทราบการวินิจฉัย
1.
2.
3.
ปฏิเสธ ไม่ยอมรับว่าผู้ป่วยมีปัญหาและควรได้ รับการดูแล
ซึมเศร้ า เริ่ มมีอาการซึมเศร้ าสับสนว่าจะทาอย่างไรดี
โกรธ เริ่ มเข้ าใจมากขึ ้นว่าผู้ป่วยต้ องการการดูแลจากผู้อื่น
ปฏิกิริยา ของครอบครัวก็จะมีการโกรธ ต่อโรคสมองเสื่อม
โกรธโชคชะตาตัวเอง และอาจพาลโกรธผู้ป่วยด้ วย
ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
การเปลีย่ นแปลงด้านภาวะจิตใจของญาติเมือ่
ทราบการวินิจฉัย
4. ละอาย ระยะนี ้สภาพจิตใจของครอบครัวเริ่ มสงบ เริ่ มรู้ สกึ
รู้สกึ ละอายในพฤติกรรมที่ผ่านมา
5. ยอมรับ เป็ นระยะสุดท้ ายของการปรับจิตใจที่จะนาไปสู่
ความสาเร็จในการแสวงหาหนทางช่วยเหลือผู้ป่วย
ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
การเปลีย่ นแปลงด้านภาวะจิตใจของญาติเมือ่
ทราบการวินิจฉัย
 ภาวะจิตใจและอารมณ์เหล่านี ้สามารถเปลี่ยนกลับไปกลับมาได้
ตามปั จจัยอื่นๆ เช่น ความเครี ยดใหม่ๆ ข้ อมูลใหม่ๆที่ได้ รับ
การเปลีย่ นแปลงด้านภาวะจิตใจของญาติเมือ่
ทราบการวินิจฉัย
ในช่วง 3 ระยะแรกควรให้ กาลังใจและประคับประคอง
ทางอารมณ์ ส่วนการให้ คาปรึกษาในการวางแผนการ
ดูแลที่บ้านควรทาใน 2 ระยะหลัง
ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
ลักษณะความเครียดของผูด้ แู ลและญาติ
 การทากิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันรู้สกึ ต้ องใช้
ความพยายามเพิ่มขึ ้น
 รู้สกึ ปั ญหาเป็ นเรื่ องใหญ่ไปหมด
 มีความยุง่ ยากในการเผชิญกับสิ่งต่าง ๆ
 ไม่สนุกสนานร่าเริ ง
 ปั ญหาในการนอนหลับ
ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
ไม่แปลกเลยถ้าผูด้ แู ลจะ......
 โกรธ ขาดสติ สติแตก
 โอ๊ ย!ไม่ไหวแล้ ว
 หงุดหงิด
 ไม่ทราบว่าควรทาอย่างไร
 อยากไปให้ พ้นๆ
 ทาอะไรผิดๆไปบ้ าง
ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
การแก้ไขปญั หาความเครียด
 จัดตารางให้ ตนเองมีเวลาผักผ่อน เช่น หาบุคคลอื่นมารับผิดชอบ
เป็ นครัง้ คราว
 หาผู้ที่ตนเองสามารถพูดระบายความรู้ สก
ึ ออกมาได้ บ้าง ซึ่งได้ แก่
แพทย์ พยาบาล หรื อกลุม่ ญาติผ้ ปู ่ วยด้ วยกันเอง
 กล้ าที่จะบอกและแสดงความต้ องการของตนเอง เช่น ต้ องการหยุด
พัก ต้ องการมีเวลาส่วนตัว และขอความช่วยเหลือจากผู้อื่น
 ถ้ ามีปัญหายุง่ ยากที่แก้ ไขไม่ได้ วน
ั นันควรหาทางแก้
้
ไขในวันต่อไป
ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
การแก้ไขปญั หาความเครียด
 มีกิจกรรมนอกบ้ านบ้ าง เช่น ออกไปตลาด ทาบุญที่วด
ั ดู
ภาพยนตร์ เดินซื ้อของตามห้ างสรรพสินค้ า
 หาวิธีผ่อนคลายความเครี ยด เช่น ปลูกต้ นไม้ อ่านหนังสือ เย็บปั ก
ถักร้ อย ดูโทรทัศน์
 เมื่อได้ ปฏิบต
ั ิดงั กล่าวขันต้
้ นแล้ วญาติยงั รู้สกึ ว่าตนมี ความเครี ยด
แพทย์ที่ดแู ล ควรแนะนาให้ หยุดพักสักระยะหนึง่ หากว่ายังไม่
สามารถเผชิญกับความเครี ยดได้ อีกอาจต้ อง ปรึกษาจิตแพทย์
ที่มา : อรพิชญา ไกรฤทธิ์
อย่าลืม!! ผู้ดแู ลก็ต้องดูแลสุขภาพตนเองในเรื่ อง
อาหาร การพักผ่อน และการออกกาลังกายด้ วย
ทุกคนในครอบครัวควรมีสว่ นร่วม
“อย่ าลืมช่ วยเหลือแนะนาผ้ ูดูแล”