Transcript ***** 2

บทที่ 2
พันธะแรกแห่งชีวิต
และพัฒนาการทางจริยธรรม
ความหมายของพันธะแรกแห่งชีวิต
 องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และ
วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ
(UNESCO) ได้กาหนด
เป้าหมายการเรียนรูข้ องมนุษย์
เอาไว้ 4 ประการ
1.Learn to know
2.Learn to do
3.Learn to with the
others
4.Learn to be
 จะเห็นได้ว่า การเรียนรู ้
ข้างต้น เป็ นเป้าหมายที่
เชื่อมโยงการพัฒนาลักษณะ
นิสยั ทางจริยธรรม ในการอยู่
ร่วมกับคนอื่น และพัฒนา
ตนเองให้เป็ นมนุษย์ที่
สมบูรณ์
พันธะแรก = การทีบ่ ุคคลมีจริยธรรม
 มนุ ษย์มีพนั ธะหลักๆ 2 อย่าง คือ
1) พันธะในการพัฒนาตนเองให้เป็ นสมาชิกทีม
่ ีคุณค่าของสังคม
2) พันธะในการพัฒนาตนเองให้เข้าถึงสัจธรรมสูงสุดหรือความ
จริง ความดี ความงาม เพือ่ ความมีอิสรภาพ ความรัก และ
ความสุขทีแ่ ท้จริง
 พันธะแรกแห่งชีวิต คือการพัฒนาตนเองให้เป็ นสมาชิกที่มี
คุณค่าของสังคม....การทีบ่ ุคคลมีจริยธรรมในการดาเนินชีวิตใน
สังคม
ความหมายของจริยธรรม
 จริยธรรม ตรงกับคาในภาษาอังกฤษว่า “Ethic”
 จริยธรรม เป็ นคาสมาส มาจากคาว่า “จริยะ” หรือ “จริยา” กับคา
ว่า “ธรรม”
คาว่า “จริยะ” หมายถึง ความประพฤติหรือกิริยาทีค่ วรประพฤติ
คาว่า “ธรรม” มีความหมายหลายอย่าง เช่น คุณความดี หลักคา
สอนของศาสนา หลักปฏิบตั ิ
 เมือ่ นาคาทั้งสองมารวมกันเป็ น “จริยธรรม” จึ งได้ความหมายตาม
ตัวอักษรว่า “หลักแห่งความประพฤติ” หรือ “แนวทางการ
ประพฤติ”
 จริยธรรม จึ งเป็ นพันธะหรือหน้าทีข่ องบุคคล อันเป็ นสิ่งทีส่ งั คม
ประสงค์และปลูกฝังให้คนในสังคมประพฤติ จึ งเป็ นหลักหรือ
แนวทางการปฏิบตั ิ เพือ่ ให้เป็ นประโยชน์ต่อตนเอง ผูอ้ ื่นและ
สังคม โดยมุ่งหวังให้สงั คมสงบสุข
 จริยธรรมในสังคมไทย จะเกีย่ วโดยตรงกับหลักธรรมของพุทธ
ศาสนา เพราะ
....................................................................................................
....................................................................................................
ความสาคัญของจริยธรรม
 สังคมปั จจุบนั มีการเปลีย่ นแปลงไป จากทีเ่ คยเป็ นสังคมทีเ่ คย
พึง่ พาอาศัยซึ่งกันและกัน กลายเป็ นสังคมทีต่ ่างคนต่ างอยู่
แข่งขัน
 ปั ญหาสังคมมากมาย
 สังคมจะสงบสุขได้ก็เมือ่ ประชากรทีอ่ ยู่ในสังคมนั้นมีจริยธรรม
พัฒนาการทางจริยธรรม
ผูส้ ร้างทฤษฎีการวัดพัฒนาการทางจริยธรรม สามารถแบ่งเป็ น
3 กลุ่ม
กลุ่มทีห่ นึง่
 ใช้วิธีการวัดความรูเ้ กีย่ วกับความดีความชัว่ ความเชื่อและ
ทัศนคติทางจริยธรรม โดยใช้กระดาษ ดินสอ
 วิธีการในยุคนี้ ขาดทฤษฎีและแนวความคิดทีช่ ดั เจนในการ
กาหนดเนื้ อหาของแบบวัดต่างๆ ใช้แยกเด็กปกติออกจากเด็กที่
มีแนวโน้มทีจ่ ะประกอบอาชญากรรม
กลุ่มทีส่ อง
 เริม
่ มีหลักและทฤษฎีประกอบการวัดจริยธรรมมากขึ้ น โดยเน้นที่
พัฒนาการทางการคิดและการตัดสินทางจริยธรรม
 ศึกษาบุคลิกภาพต่างๆทีม
่ ีหลักมาจากทฤษฎีจิตวิเคราะห์และ
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม วิธีการวัดเพือ่ ตรวจสอบการควบคุม
ตนเอง
กลุ่มทีส่ าม
 ใช้วิธีการวัดแบบสะท้อนภาพ เป็ นการวัดเนื้ อหาทางจริยธรรมทีม
่ ี
ต่อการทางานของบุคคล โดยใช้ภาพกระตุน้ ให้ผูต้ อบแสดง
ความคิดเห็น
ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางจริยธรรม
แนวคิดของเพียเจย์
แนวคิดของโคลเบิรก์
ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางจริยธรรมตามแนวคิดของเพียเจย์
 เพียเจย์เป็ นนักจิ ตวิทยา
ชาวสวิส เป็ นผูร้ ิเริม่ ทาง
ความคิดว่า พัฒนาการทาง
จริยธรรมของมนุษย์น้นั
ย่อมขึ้ นอยู่กบั พัฒนาการทาง
สติปัญญาของบุคคล
เพียเจย์ได้แบ่งพัฒนาการทางจริยธรรมเป็ น 3 ระยะ คือ
1. ขั้นก่อนจริยธรรม เป็ น
ระยะแรกเริม่ ตั้งแต่เกิดถึงสอง
ขวบ
2. ขั้นยึดคาสังเป็
่ นใหญ่ เป็ นระยะ
ทีส่ องระดับอายุต้ งั แต่ 2-8 ปี
3. ขั้นยึดหลักแห่งตน เป็ นระยะที่
สาม ระดับอายุต้ งั แต่ 8 ปี ขึ้ น
ไป
ขั้นก่อนจริยธรรม
 ระยะแรกเริม
่ ตั้งแต่เกิดถึงสองขวบ
 จริยธรรมเกิดจากผูใ้ หญ่เป็ นผูส้ นองความต้องการของเด็ก เด็ก
ไม่สามารถรับรูต้ ่อสภาพแวดล้อมอย่างสมบูรณ์
ขั้นยึดคาสังเป็
่ นใหญ่
 ระยะทีส่ องระดับอายุต้ งั แต่ 2-8 ปี
 เด็กเริม
่ มีการรับรูต้ ่อสภาพแวดล้อมอย่างละเอียดลึกซึ้ งยิง่ ขึ้ น
เด็กต้องการกระทาหรืองดการกระทาตามทีพ่ ่อแม่หรือผูใ้ หญ่
กาหนด ทั้งนี้ เพราะเด็กต้องการความรัก ความเอาใจใส่ คา
ชมเชย การยอมรับจากผูใ้ หญ่ จึ งต้องกระทาตามคาสัง่
ขั้นยึดหลักแห่งตน
 ระยะที่สาม ระดับอายุต้ งั แต่ 8 ปี ขึ้ นไป
 ระดับนี้ เด็กมีพฒ
ั นาการทางสติปัญญาสูงรูอ้ ะไรถูกอะไรควรไม่ควร จาก
ความสามารถของตนเอง และจากการได้ปฏิสมั พันธ์ (Interaction)
กับเพือ่ น ๆ ทาให้เด็กยอมรับกฎเกณฑ์สากล สิง่ เหล่านี้ จะนาไปสู่
พัฒนาการทางจริยธรรมเป็ นของตนเอง
ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางจริยธรรมตามแนวคิดของโคลเบิรก์
 โคลเบิรก์ เกิดเมือ่ ปี 1927
เติบโตทีบ่ รูกวิวล์ ในนิวยอร์ค
สหรัฐอเมริกา
 โคลเบิรก์ ศึกษาพัฒนาการทาง
จริยธรรมของมนุษย์โดยยึด
ฐานมาจากทฤษฎีพฒ
ั นาการ
ทางจริยธรรมของจอง เพียเจย์
(Jean Piaget)
โคลเบิรก์ เน้นพัฒนาการทางจริยธรรม ทีเ่ กิดจากระบวนการ
คิดโดยให้เหตุผลในการกระทา ซึ่ง
 โคลเบอร์ก ศึกษาตามแนวทฤษฎีของเพเจย์แล้วพบว่า พัฒนาการทาง
จริยธรรมของมนุ ษย์ส่วนมากไม่ได้บรรลุถงึ ขั้นสูงสุดเมือ่ อายุ 10 ปี แต่จะ
มีพฒ
ั นาการอีกหลายขั้นตอนจากอายุ 1 ปี ถึง 25 ปี
 โคลเบอร์กเชื่อว่าการบรรลุนิติภาวะเชิงจริยธรรมของบุคคลนั้นจะ
แสดงออกทางการใช้เหตุผลทางจริยธรรมซึ่งไม่ขึ้นอยู่กบั กฎเกณฑ์ของ
สังคมใดสังคมหนึง่ เป็ นเหตุผลที่ลึกซึ้ งบริสุทธิ์มีลกั ษณะเป็ นสากล
กว้างขวางมีหลักการไม่ขดั แย้งไม่เข้าข้างตนเองและเป็ นอุดมคติ
 วิธีการศึกษาของโคลเบอร์ก คือ การใช้เรื่องราวที่มีเป็ นปั ญหาทาง
จริยธรรม(moral dilemmas) เป็ นเรื่องเกีย่ วกับสภาพการณ์ใน
ชีวิตประจาวันที่ตดั สินใจยาก จานวน 10 เรื่อง คาถามจะเป็ นคาถาม
ปลายเปิ ดให้เด็กตอบคาถามและให้เหตุผล
 โคลเบิรก์ ไม่ได้สนใจว่ากลุ่มตัวอย่างจะตอบ ว่าควรทา หรือไม่ควรทา
แต่เหตุผลจากคาตอบเป็ นสิง่ ที่โคลเบิรก์ สนใจ
 โคลเบิรก์ ใช้เวลาในการศึกษาและวิจยั เป็ นเวลา 12 ปี และพบว่า
พัฒนาการทางจริยธรรมขึ้ นอยู่กบั พัฒนาการทางเชาว์ปัญญาของมนุ ษย์
ซึ่งผูกพันกับอายุ โดยแบ่งพัฒนาการทางจริยธรรมออก3 ระดับ
(Levels) แต่ละระดับมีแบ่งการให้เหตุผลทางจริยธรรมออกเป็ น 2 ขั้น
(Stages)
 การพัฒนาจะก้าวขึ้ นไปทีละ 1 ขั้น จากขั้นตา่ ไปขั้นสูง ไม่มีการข้ามขึ้ น
หรือย้อนกลับ โดยการขึ้ นไปทีละขั้น บุคคลเกิดการพัฒนาจริยธรรมให้
สูงขึ้ นไปอีก 1 ขั้น จะต้องให้เด็กมีการอภิปรายร่วมกัน ทาให้ได้รบั ฟัง
ความคิดเห็นของบุคคลที่มีระดับพัฒนาการทางจริยธรรมที่สูงกว่าตนเอง
อย่างน้อย 1 ขั้น
พัฒนาการทางจริยธรรมตามแนวคิดของโคลเบิร์ก
ระดับของจริยธรรม
1. ระดับก่ อนมีจริยธรรมหรือระดับก่ อน
กฎเกณฑ์ สังคม (2-12 ปี )
2. ระดับจริยธรรมตามกฎเกณฑ์ สังคม
(12-20 ปี )
การให้ เหตุผลเชิงจริยธรรม
1. การยึดหลักการลงโทษ
2. การยึดหลักการความพึงพอใจและการ
แลกเปลี่ยนในการตอบสนองความ
ต้ องการของตนเอง
3. การยึดหลักการยอมรับของสังคม
4. การยึดหลักระเบียบแบบแผนและ
กฎเกณฑ์ ของสังคม
3. ระดับจริยธรรมตามหลักการด้ วย
5. การยึดหลักสัญญาสังคม
วิจารณญาณ หรือระดับเหนือกฎเกณฑ์ 6. การยึดหลักการจริยธรรมสากล
สังคม (20 ปี ขึน้ ไป)
ระดับที่ 1 ระดับก่อนมีจริยธรรมหรือระดับก่อนกฎเกณฑ์สงั คม พบในเด็ก 2-12 ปี
 ขั้นที่ 1 การถูกลงโทษและการเชื่อฟัง เด็กจะยอมทาตามคาสัง่ ผูม้ ีอานาจ
เหนือตนโดยไม่มีเงือ่ นไขเพือ่ ไม่ให้ตนถูกลงโทษ
ทา“ผิด” ถูกลงโทษจะพยายามหลีกเลีย่ งไม่ทาสิง่ นั้นอีก
ทา “ถูก” ได้รบั รางวัลหรือคาชมจะทาซ้ าอีกเพือ่ หวังรางวัล
 ขั้นที่ 2 ความพอใจและการแลกเปลีย่ น
“ถ้าเธอทาให้ฉนั ฉันจะให้.......”
ระดับที่ 2 ระดับจริยธรรมตามกฎเกณฑ์สงั คม พบในวัยรุ่นอายุ 12 -20 ปี
 ขั้นที่ 3 ความคาดหวังและการยอมรับในสังคม
พฤติกรรมที่จะทาให้ผูอ้ ื่นชอบและยอมรับ จึ งใช้หลักทาตามที่ผูอ้ ื่น
เห็นชอบ ใช้เหตุผลเลือกทาในสิง่ ที่กลุ่มยอมรับโดยเฉพาะครอบครัวและ
กลุ่มเพือ่ น เพือ่ เป็ นที่ชื่นชอบและยอมรับ ไม่เป็ นตัวของตัวเอง
 ขั้นที่ 4 การทาตามกฎระเบียบของสังคม
บุคคลเรียนรูก้ ารเป็ นหน่วยหนึง่ ของสังคม ปฏิบตั ิตามหน้าที่ของสังคม
เพือ่ ดารงไว้ซึ่งกฎเกณฑ์ในสังคม
ระดับที่ 3 ระดับจริยธรรมตามหลักการด้วยวิจารณญาณ หรือระดับเหนือ
กฎเกณฑ์สงั คม พบในบุคคลมีอายุ 20 ปี ขึ้ นไป
 ขั้นที่ 5 สัญญาสังคม
บุคคลมีเหตุผลในการเลือกกระทาที่ถูกต้องตามค่านิยมของตนและ
มาตรฐานของสังคม พฤติกรรมที่ถูกต้องจะต้องเป็ นไปตามค่านิยม
ส่วนตัว ผสมผสานกับมาตรฐานจากสังคม ที่ให้มีการแก้ไขได้ โดย
คานึงถึงประโยชน์และสถานการณ์แวดล้อมในขณะนั้น
 ขั้นที่ 6 หลักการจริยธรรมของสากล
เป็ นหลักการเพือ่ มนุ ษยธรรม เพือ่ ความเสมอภาคในสิทธิมนุ ษยชนและ
เพือ่ ความยุติธรรมของมนุ ษย์ทุกคน เป็ นขั้นสูงสุดพบในวัยผูใ้ หญ่ที่มี
ความเจริญทางสติปัญญา
ความรูเ้ พิม่ เติม
ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรม จริยศาสตร์ และปรัชญา
 จริยศาสตร์เป็ นศึกษาเรือ่ งทีว่ ่าอะไรถูก อะไรผิด อะไร
ควร อะไรไม่ควร อะไรดี อะไรชัว่
 จริยศาสตร์ จึ งทาให้เกิดหลัก หรือแนวในการประพฤติปฏิ บตั ิ ก็
คือ จริยธรรม
 จริยศาสตร์เป็ นสาขาย่อยหนึง่ ของปรัชญา
 ปรัชญา ในภาษาไทยเป็ นคาที่พระวรวงศ์เธอกรมหมืน
่ นราธิปพงศ์
ประพันธ์ทรงบัญญัติขึ้นใช้แทนคาว่า Philosophy ในภาษาอังกฤษ
 ปรัชญาหมายถึงความรูอ้ นั ประเสริฐ เป็ นความรอบรู ้ รูก้ ว้างขวาง
 อยากรูห้ รือไม่ว่า จริยศาสตร์ จึ งเป็ นสาขาหนึง่ ของปรัชญา
สาขาปรัชญา
1. อภิปรัชญา
(Metaphysics)
หรือ ภววิทยา
(Onthology)
2. ญาณวิทยา
(Epistemology
3. คุณวิทยา
(Axiology)
การศึกษา
เป็ นการศึกษาเกีย่ วกับความ
จริง เพือ่ ค้นหาความจริงอันเป็ นที่สูงสุด ได้แก่ความจริง
ที่เกีย่ วกับธรรมชาติ จิ ตวิญญาณ รวมทั้งเรื่องของพระ
เจ้า อันเป็ นบ่อเกิดของศาสนา
เป็ นการศึกษาเกีย่ วกับเรื่องความรู ้ (Knowledge) ศึกษา
ธรรมชาติของความรู ้ บ่อเกิดของความรู ้ ขอบเขตของ
ความรู ้
ศึกษาเรื่องราวเกีย่ วกับคุณค่าหรือค่านิยม (Value) เช่น
คุณค่า
เกีย่ วกับความดีและความงาม มีอะไรเป็ นเกณฑ์ในการ
พิจารณาว่าอย่างไรดี อย่างไรงาม
คุณวิทยา (Axiology)
 แบ่ง ออกเป็ น 2 ประเภท คือ
 จริยศาสตร์ ได้แก่คุณค่าแห่งความประพฤติ หลักแห่งความดี
ความถูกต้อง เป็ นคุณค่าแห่งจริยธรรม เป็ นคุณค่าภายใน
 สุนทรียศาสตร์ ได้แก่คุณค่าความงามทางศิลปะ ซึ่งสัมพันธ์กบั
การศึกษาจริยศาสตร์มีประโยชน์มากมาย สรุปได้ดงั นี้
 ทาให้รูว้ ่าอะไรดี อะไรชัว่ อะไรถูก อะไรผิด สามารถเลือกปฏิบตั ิในทางที่




ถูกที่ควร
ทาให้รูท้ างดาเนินชีวิตทั้งในส่วนตัวและสังคม
ทาให้เข้าใจกฏความจริงของชีวิต เป็ นสิง่ ที่ชีวิตต้องการ ทาให้ชีวิตสมบูรณ์
การศึกษาจริยธรรมจึ งเป็ นการศึกษาถึงกฏธรรมชาติให้รูว้ ่าชีวิตที่แท้จริงคือ
อะไรต้องการอะไร
การประพฤติหลักจริยธรรมเป็ นการพัฒนาสิง่ มีชีวิตให้สูงขึ้ นเรียกว่า มี
วัฒนธรรมทาให้ชีวิตมนุ ษย์เป็ นชีวิตที่ประเสริฐกว่าสัตว์ ถ้าขาดด้านจริยธรรม
แล้วคนไม่ต่างจากสัตว์แต่อย่างใด
ทาให้รูจ้ กั ค่าของชีวิตว่า ค่าของชีวิตอยู่ที่ไหน ทาอย่างไรชีวิตจะมีค่าและก็
เลือกทางที่ดีมีค่าชีวิตก็มีค่าตามที่ตอ้ งการ
หลักเกณฑ์และการตัดสินคุณค่าทางจริยธรรม
หลักเกณฑ์และการตัดสินคุณค่าทางจริยธรรม
 เกณฑ์ตดั สินจริยธรรม คือ หลักที่ใช้ตดั สินว่าการกระทาอย่างหนึง่ ดีหรือ
ชัว่ ถูกหรือผิด ซึ่งเป็ นปั ญหาสาคัญปั ญหาหนึง่ ของจริยศาสตร์ …. อยู่ใน
คุณวิทยา (Axiology) ศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับคุณค่าหรือค่านิยม
(Value)
 ปั ญหานี้ คือ เมือ่ คนคนหนึง่ กระทาการอย่างใดอย่าง หนึง่ ลงไป เราจะใช้
หลักเกณฑ์อะไรมาตัดสินว่าการกระทาของเขาถูกหรือผิด หรือเมื่อเราตก
อยู่ใน สถานการณ์ที่ตอ้ งตัดสินใจเลือกทาอย่างใดอย่างหนึง่ ลงไป เรามี
หลักศีลธรรมใดที่จะช่วยเราบอก ว่าเราควรทาอย่างนั้น เราควรทาอย่างนี้
ค่านิยม (Value)
 ความเชื่อว่าอะไรดี ไม่ดี อะไรควร ไม่ควร ค่านิยม (value)
จึ งเป็ นแนวคิดหรือเกณฑ์มาตรฐาน กติกาของสังคม
 ค่านิยม แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท
1.
ค่านิยมจริยธรรม
2. ค่านิยมสุนทรียภาพ
3. ค่านิยมสังคมและการเมือง
การพิจารณาคุณค่าทางจริยะและสนุ ทรียะ
แนวคิดสัมพัทธ์นิยม (Relativism)
 การกระทาอย่างหนึง่ ดีหรือเลว ถูกหรือผิด ขึ้ นอยู่กบั เงือ่ นไข และปั จจัย
หลายอย่าง
 แบ่งออกเป็ นกลุ่มใหญ่ ๆ 2 กลุ่ม คือ
1.1.พวกโซฟิ สท์ (Sophist)
“คนแต่ละคนเป็ นผูต้ ดั สินทุกสิง่ เอง”
1.2.เกณฑ์การตัดสินจริยธรรมขึ้ นอยู่กบั จารีตประเพณีของแต่ ละสังคม
แนวคิดพวกสัมบูรณนิยม (Absolutism)
 มีทศั นะตรงข้ามกับพวกสัมพัทธนิยม
 เกณฑ์ตดั สินจริยธรรมที่ถูกต้องสูงสุดนั้นมีเพียงเกณฑ์ เดี ยว และเป็ น
เกณฑ์ที่แน่นอนตายตัว
แนวประโยชน์นยิ ม (Utilitarianism)
 แนวคิดที่สอดคล้องกับพวกสัมพัทธนิยม ความดีมีลกั ษณะ ไม่เด็ดขาด
ตายตัวภายในตัวของมันเอง
 แต่พวกประโยชน์นิยมจะมีทศั นะเพิม
่ เติมออกไปในแง่ที่ถอื ว่า ดีชวั ่ ขึ้ นอยู่
กับ ผลประโยชน์สุข
 ยึดหลักหลักมหสุข (The Greatest Happiness Principle)
 การกระทาดี ที่สุดคือการกระทาที่ก่อให้เกิดผลประโยชน์สุขมากที่สุดแก่
คนจานวนมากที่สุด
ตามทัศนะของกลุ่มประโยชน์นิยมนี้ ในการตัดสินคุณค่าทาง
จริยธรรม มีหลักเกณฑ์พอสรุปได้ ดังนี้
(1) จะต้องกาหนดในสิง่ ทีส่ ามารถให้ประโยชน์สุขทีส่ ุด และยาวนานทีส่ ุด
(2) จะต้องเลือกเอาสิง่ ทีเ่ ลวน้อยทีส่ ุด ถ้าหากไม่มีสงิ่ ใดสิง่ หนึง่ ให้เลือก
(3) จะต้องยึดเอาประโยชน์สุขจานวนมากทีส่ ุดของคนจานวนมากทีส่ ุดในสังคมนั้น
(4) จะต้องไม่ลดประโยชน์สุขของตนให้นอ้ ยลงไปกว่าประโยชน์ของผูอ้ ื่น หรือไม่
ลด ประโยชน์ของผูอ้ ื่นให้นอ้ ยไปกว่าประโยชน์ของตน นันคื
่ อจะต้องให้เกิด
ความสุขเสมอหน้ากัน
(5) จะต้องไม่คานึงถึงเจตนาในการกระทาเป็ นสาคัญ แต่จะถือเอาประโยชน์ที่
เกิดขึ้ น อันเป็ นผลสาคัญยิง่ กว่า
(6) จะต้องคานึงตัวผูก้ ระทานั้นด้วยว่าเป็ นผูห้ นึง่ ทีจ่ ะได้รบั ผลของการกระทานั้น
เหมือนกันกับผูอ้ ื่นในสังคม
แนวคิดปฏิบัตินิยม
 การตัดสินคุณค่าทางจริยธรรมว่า อะไรดี อะไรชัว่ อะไรถูก อะไรผิด เป็ น
ต้น ต้องอาศัยผลของการปฏิบตั ิ
 ความดี ความชัว่ จึ งสามารถจะยืดหยุ่นได้เสมอไม่ตายตัว
 สามารถเปลีย่ นแปลงไปตามสังคม ตามกาลสมัยนั้น ๆ หลักการทาง
จริยธรรมที่จะอานวย ประโยชน์สุขแก่สงั คม หรือใช้ได้ในสังคมจะต้อง
ยืดหยุ่นได้เสมอ
 คุณค่าทางจริยธรรมก็คือ การทดสอบว่าใช้ได้จริง ใช้ประโยชน์ได้จริงตาม
สมมติฐานที่ได้วางไว้ และประโยชน์สุขนั้นจะต้องเป็ น ประโยชน์สุขของ
ส่วนรวม และเป็ นที่ยอมรับของสังคมด้วย
แนวคิดบริสทุ ธิ์ นิยม
 เจตนาดีเป็ นเครือ่ งตัดสินการกระทาของมนุ ษย์ ว่าอะไรดี อะไรถูกต้อง
 อิมมานู เอล ค้านท์ ผูก้ ่อตั้งแนวคิดนี้ กล่าวว่า
“การกระทาทีด่ ีคอื การกระทาด้วยเจตนาดี และการกระทาด้วยเจตนาดีนี้เอง
หมายถึง การกระทาตามหน้าที”่
แนวคิดอั ตถิภาวะนิยม
 คุณค่าทางจริยธรรมเป็ นสิง่ ที่มนุ ษย์กาหนด ขึ้ นมาเอง โดยอาศัยความ
รับผิดชอบเป็ นพื้ นฐาน ไม่มีเกณฑ์ทางจริยธรรมที่แน่นอนตายตัว แต่
มนุ ษย์ เป็ นผูส้ ร้างเกณฑ์ขึ้นมาเองโดยอิสระ และอาศัยเสรีภาพ โดยทาแต่
ในสิง่ ที่ดีและมีคุณค่าแก่ตนเอง และผูอ้ ื่นให้มากที่สุด
“มนุษย์เป็ นผูก้ าหนดชนิด กาหนดการใช้ และกาหนดคุณค่าให้แก่ทุก ๆ
สิ่ง”
กิจกรรม
 ให้นกั ศึกษาแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ทุกกลุ่มทากิจกรรมต่อไปนี้
 แต่ละกลุ่มศึกษาตัวอย่างคาถามปั ญหาทางจริยธรรม ของโคลเบิรก์ แล้ว
ระดมสมองว่า ถ้าหากตนเองประสบสถานการณ์ตามตัวอย่างนี้ จะเลือก
ตัดสินใจปฏิบตั ิอย่างไรหรือแก้ไขปั ญหาอย่างไร พร้อมอธิบายเหตุผล
ประกอบ
 หลังจากนั้น ให้วิเคราะห์เพิม
่ เติมว่า การตัดสินใจเลือกนั้น ใช้หลักเกณฑ์
และการตัดสินคุณค่าทางจริยธรรมตามแนวใด เพราะเหตุใด
 แต่กลุ่มนาคาตอบที่ได้เขียนลงในกระดาษ A4 ส่งท้ายคาบเรียน
ตัวอย่างคาถามปัญหาทางจริยธรรม ของโคลเบิร์ก
 เรื่อง ฮินซ์ขโมยยา
ในยุโรป หญิงสาวคนหนึง่ กาลังใกล้จะเสียชีวิตจาก
โรคมะเร็ง เนือ่ งจากไม่มียา หมอจึ งไม่สามารถรักษาเพือ่
ช่วยชีวิตเธอได้ แต่ในร้านขายยาแห่งหนึง่ มีตวั ยาที่สามารถจะ
รักษาเธอซึ่งราคาสูงมาก เพราะคนขายยาเอากาไรมาก ราคา
ต้นทุนยาเพียง 200 ดอลลาร์ แต่ขายให้คนซื้ อถึง 2,000
ดอลลาร์ ฮินซ์สามีของหญิงชาวผูน้ ี้ พยายามไปขอยืมเงินจากทุก
คนเพือ่ จะซื้ อยา แต่ก็สามารถหามาได้เพียงครึ่งเดียวของราคา
ยา คือ 1,000 ดอลลาร์ ฮินซ์บอกกับคนขายยาให้ช่วยขายยาให้
เขาก่อนเพราะภรรยาของเขากาลังจะตาย แล้วเขาจะนาเงินส่วน
ที่เหลือมาคืนให้ในภายหลัง แต่เจ้าของร้านยาปฏิเสธที่จะขายให้
เขา เขาจึ งหมดหวังและได้เข้าไปขโมยยา ถามว่า “ฮินซ์เขาควร
ทาหรือไม่ ?”