ผลสำเร็จของการควบคุมโรค

Download Report

Transcript ผลสำเร็จของการควบคุมโรค

อำเภอควบคุมโรคเข้ มแข็งแบบยัง่ ยืน
อำเภอคลองท่ อม จังหวัดกระบี่
กำรวิเครำะห์ ปัญหำ สำธำรณสุ ขในระดับพืน้ ที่
โดยการประเมินภาวะสุ ขภาพของชุนชน ทั้ง 3 ด้าน
1 .คน เป็ นตัวบ่งชี้สุขภาพอนามัยของชุนชนโดยรวม ประกอบด้วย ดังนี้
1.1 ลักษณะประชากรและสภาพต่างๆของชุมชน
อาเภอคลองท่อม ประชากรส่ วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ประมง
และรับจ้าง , สัดส่ วนประชากรวัยพึ่งพิงต่อวัยทางาน เท่ากับ 1 ต่อ 1 นามา
ทานายภาวะสุ ขภาพ ได้เช่นคนคลองท่อมอาจเจ็บป่ วยด้วยโรคทางกล้ามเนื้อ
,โรคติดต่อนาโดยแมลงไข้เลือดออก มาลาเรี ย เพราะเป็ นพื้นที่สวนมาก
1.2 ข้อมูลบ่งชี้สภาวะสุ ขภาพอนามัยของประชากรในชุมชน
ดัชนีอนามัยที่นามาใช้ประกอบด้วย ตัวชี้วดั เกี่ยวกับการป่ วย ตัวชี้วดั เกี่ยวกับการตายของ
ประชากร ตัวชี้วดั เกี่ยวกับการบริ การสาธารณสุ ข ตัวชี้วดั เกี่ยวกับทรัพยากรด้านสังคม
เศรษฐกิจ และสิ่ งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับสุ ขภาพ เช่นอัตราป่ วยไข้เลือดออกปี 53 = 287.36 ต่อ
แสน
1.3 ข้อมูลเกี่ยวกับวิถีชีวติ ความรู ้ เจตคติ และ พฤติกรรมสุ ขภาพ
จากการประเมินพฤติกรรมเสี่ ยงที่เป็ นปัญหาต่อสุ ขภาพของชุนชน พบว่า
ประชาชนยังคงมีพฤติกรรมเสี่ ยงด้านต่างๆ ดังนี้ พฤติกรรมเสี่ ยงทางเพศกับการเกิดโรคเอดส์ เช่น
จากการสารวจในเยาวชนไม่สวมถุงยางเมื่อมีเพศสัมพันธ์ , พฤติกรรมการไอจามไม่ปิดปาก
ปิ ดจมูกเสี่ ยงต่อการแพร่ เชื้อวัณโรค ไข้หวัด
2. สิ่ งแวดล้ อมและลักษณะทัว่ ไปของชุมชน


ข้อมูลทางด้านสิ่ งแวดล้อม ได้ แก่ สภาพพื้นที่ สถานที่ต้ งั ภูมิ
ประเทศ ความสะอาด ความมัน่ คง ความเป็ นระเบียบของชุมชน ซึ่ ง
สามารถเป็ นตัวทานายภาวะสุ ขภาพของชุมชนได้
อาเภอคลองท่อม มีภูมิประเทศเป็ นแบบร้อนชื้น โดยพื้นที่ดา้ นทิศ
ตะวันออก เป็ นเนินเขาและป่ าดิบชื้น อยูใ่ นเขตอุทยาน และลาดลงไปทาง
ทิศตะวันตก เป็ นทะเล จะมีฝนตกตลอดปี พื้นที่จะมีแหล่งน้ าขังอยู่
โดยทัว่ ไป และมีความชื้นสู ง ซึ่ งเหมาะแก่การอยูอ่ าศัยและเจริ ญเติบโต
ของเชื้อโรค และสัตว์พาหะนาโรค บางชนิด
3.ระบบสั งคมและกำรบริกำรด้ ำนสำธำรณสุ ข


เป็ นตัวบ่งชี้สุขภาพโดยรวมของชุมชน คือ รู ปแบบการปกครอง ผูน้ า
ชุมชน กระบวนการตัดสิ นใจของบุคคลในชุมชน ส่ วนใหญ่แล้วอาเภอ
คลองท่อม ผูน้ าชุมชนส่ วนใหญ่มีบทบาทน้อยในกระบวนการตัดสิ นใจ
ของหมู่บา้ น
ด้านการจัดบริ การสาธารณสุ ข อาเภอคลองท่อมมีสถานบริ การระดับปฐม
ภูมิท้ งั หมด 11 แห่ง ทุกแห่งผ่านการประเมินมาตรฐานการบริ การปฐมภูมิ
มีศกั ยภาพในการให้บริ การทั้งในและนอกสถานบริ การ โรงพยาบาลคลอง
ท่อมผ่านเกณฑ์มาตรฐานหลายอย่างเช่น HPH ,SRRT
เครื่องมือที่ใช้ ในกำรค้ นหำปัญหำ
รายงาน 506
 รายงานสาเหตุการตาย
 แผนที่ทางเดิน
ยุทธศาสตร์ อาเภอ
คลองท่อม

ตารางการตัดสิ นใจ ใช้สาหรับจัดลาดับ
ความสาคัญของปั ญหา โดยใช้ตวั แปร ต่างๆดังนี้

1. ขนาดของปัญหา (size of problem)
2. ความรุ นแรงของปัญหา (ต่อตนเอง ครอบครัวและชุมชน)
3. แนวโน้มการแก้ปัญหาหรื อความยากง่ายในการแก้ปัญหา
4. ความร่ วมมือของชุมชนหรื อความตระหนักของชุมชน
5. ผลกระทบในระยะยาว (ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม)
6. นโยบายรัฐบาล
กระบวนกำรแก้ ปัญหำ

คณะกรรมการอานวยการ / คณะทางาน นาข้อมูลจากระบบระบาดวิทยาระดับ
อาเภอ หรื อเหตุการณ์สาคัญ มาวิเคราะห์สถานการณ์และกาหนดแนวทางแก้ไข
พร้อมกับมอบหมายให้มีผรู ้ ับผิดชอบในการดาเนิ นงานแก้ไข ทั้งติดตามผลการ
ดาเนินงาน

คณะกรรมการอานวยการ /คณะทางาน นาข้อมูลจากระบบระบาดวิทยาระดับ
อาเภอที่เป็ นโรคสาคัญ มากาหนดเป็ นแผนงาน/โครงการ โดยระบุ ขั้นตอนการ
ปฏิบตั ิ ระยะเวลาที่ปฏิบตั ิ แนวทางการประเมินผลสาเร็ จ งบประมาณ ที่มา
ของงบประมาณ ประเมินผลตามโครงการ ส่ งผลการประเมินเข้าสู่ คณะ
กรรมการฯ ปรับเปลี่ยนแผน
กระบวนกำรแก้ ปัญหำ

ทรัพยากรและงบประมาณ ได้รับการสนับสนุนจาก CUPอาเภอคลองท่อม
กองทุนสุ ขภาพระดับตาบล อสม. องค์กรอิสระ และ องค์กรปกครองส่ วน
ท้องถิ่นในอาเภอคลองท่อม เพื่อสนับสนุนเข้าในแผนงาน/โครงการ ควบคุม
ป้ องกันโรคอาเภอคลองท่อม

ระบบระบาดวิทยา ระดับอาเภออาเภอคลองท่อม รวบรวม ข้อมูลจากทุกแหล่ง
ได้แก่ ระบบรายงานเฝ้ าระวังโรค เหตุการณ์ผิดปกติที่เกิดขึ้นในพื้นที่ โดย
การประสานข้อมูลจากทุกแหล่ง เช่น SRRT ตาบล งานระบาดวิทยาระดับรพ.
จังหวัด รพ.ชุมชน สสจ. ทั้งในและต่างจังหวัด ทั้งในแนวดิ่ง และแนวราบ
เพื่อให้ได้ขอ้ มูลที่รวดเร็ ว แม่นยา เพื่อนามาวิเคราะห์ขอ้ มูล หาการระบาดของ
โรค หรื อเหตุการณ์ที่ผิดปกติและมีผลกระทบกับสุ ขภาพของประชาชน
สรุปสถำนกำรณ์ และปัญหำสำธำรณสุ ขในพืน้ ที่
ลาดับที่
เป้ าหมาย
สถานการณ์อำเภอคลองท่ อม 2553
1. โรคไข้เลือดออก อัตราป่ วยไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร อัตราป่ วย 287.36 ต่อแสน
ประชากรอัตราป่ วยตาย 0.48
2. โรคมะเร็งทุกชนิด
อัตราตายไม่เกิน 40 ต่อแสนประชากร อัตราตาย 29.01 ต่อแสนประชากร
3. โรคเบาหวาน
อัตราป่ วย 855.30 ต่อแสนประชากร
อัตราป่ วย ไม่เกิน ร้อยละ 4
อัตราตายไม่เกิน5ต่อแสนประชากร (ร้อยละ 0.97)
อัตราตาย 2.76 ต่อแสนประชากร
4. วัณโรค
อัตราป่ วยตายไม่เกินร้อยละ 5
ร้อยละ 2.78
อัตราการการรักษาหาย≥ร้อยละ 87 ร้อยละ 95.83
ผลสาเร็ จของการควบคุมโรค
รู ปแบบการควบคุมโรควัณโรค
และ
การแจ้งข่าวการระบาดไข้เลือดออกในชุมชน
อาเภอคลองท่อม
ผลสำเร็จของกำรการแจ้งข่าวการระบาดไข้เลือดออกในชุมชน
(Best Practice)
แนวคิด : การดาเนินงานป้ องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของ
อาเภอคลองท่อม ที่ผา่ นมา พบปั ญหาเรื่ องการแจ้งข่าว ผูป้ ่ วยรักษาที่
คลินิกเอกชน/รพ.เอกชน หรื อผูป้ ่ วยที่วนิ ิจฉัยโรคช้า การดาเนินการ
ควบคุมโรคภายใน24 ชม อาจไม่ทนั การ เพราะเมื่อได้รับแจ้งอาจมี
ผูป้ ่ วยรายงาน 2 หรื อ 3 ตามมาแล้ว
 คณะกรรมการอาเภอควบคุมโรค จึงได้พฒ
ั นาระบบเครื อข่ายการแจ้ง
ข่าวไข้เลือดออก โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ทราบข่าวการป่ วยเร็ วทีสุด
โดยเริ่ มจาก ชุมชน เป็ นผูแ้ จ้ง
DHF card (ระบบแจ้ งข่ ำวโรคไข้ เลือดออก )
 เมื่อคุณมีอาการดังนี้

“ตัวร้ อนจัด กินยำและเช็ดตัวแล้วไข้ ไม่ ลด หน้ ำแดง ปวดศีรษะหรือมี
เพือ่ นบ้ ำนป่ วยเป็ นไข้ เลือดออก”
 กรุ ณำแจ้ ง คุณ............................. อสมประจาบ้านคุณ
 โทร...........................................
ขั้นตอนการดาเนินงาน
1.อสม. เจ้าของพื้นที่รับผิดชอบ แจกจ่าย DHF Cardให้ทุกบ้านในพื้นที่
รับผิดชอบ
2.เมื่อมีอาการตามที่แจ้งใน card ให้ติดต่อ อสม. ประจาบ้านคุณ ด้วยการ
โทรศัพท์ตามหมายเลขที่แจ้ง หรื อ แจ้งด้วยวาจา






อสม.ส่ ง SMS หรื อโทรฯแจ้งต่อ อสม. พื้นที่ใกล้เคียง , จนท.ใน รพ.
สต. ทันทีที่ได้รับแจ้งประชาชน
SRRT ตาบล ดาเนินการควบคุมโรคร่ วมกับ รพ.สต. พร้อมสอบสวน
โรคเฉพาะราย ภายใน 24 ชม
SRRT ตาบล รายงาน SRRT อาเภอ ภายใน 48 ชม.
เมื่อผูป้ ่ วยเข้ารับการรักษาที่ รพ. ถ้าหากแพทย์วินิจฉัยหรื อ R/Oให้
รพ.รายงานผูป้ ่ วยผ่านระบบ DHF online
SRRT ตาบล และ SRRT อาเภอ ประสานข้อมูล และทบทวนข้อมูล
สรุ ปรายงานการสอบสวนโรค
ผลการดาเนินงานพื้นที่สอ.ทุ่งครก
ก่อนดาเนินการ
หลังดาเนินการ
ม.ค. – พ.ค.
ม.ค. – พ.ค.
2550
2551
2552
2553
2554
4
34
13
7
6
รู ปแบบการควบคุมโรควัณโรค
การวิเคราะห์
จุดอ่อน จุดแข็ง ปัญหา และ ปัจจัยสาเร็ จ
เป้ ำหมำย
๑) อัตรำกำรค้ นพบผู้ป่วยวัณโรคเสมหะบวก
รำยใหม่ มำกกว่ ำหรือเท่ ำกับ
ร้ อยละ ๗๐ ของจำนวนที่คำดว่ ำจะมีอยู่ใน
ชุ มชน
(๒) อัตรำควำมสำเร็จของกำรรักษำผู้ป่วย
วัณโรคปอดรำยใหม่ เสมหะพบ
เชื้อมำกกว่ ำหรือเท่ ำกับร้ อยละ ๙๐
(๓) อัตรำขำดกำรรักษำในผู้ป่วยวัณโรคปอด
รำยใหม่ เสมหะพบเชื้อน้ อย
กว่ ำร้ อยละ 3
(๔) พักรักษาในรพ. ๒ อาทิตย์ ๑๐๐%
กลยุทธ นวัตกรรม TB COMPLIANT ISOLATED ROOM & Admit
at Home การดูแลรักษาในโรงพยาบาลและเตียงชุมชนHOME HEALTH CARE แบบ
ผูป้ ่ วยเป็ นศูนย์กลาง จนท. เยีย่ มทุกวันครบ ๒ อาทิตย์แรก
พักรักษาในโรงพยาบาล 2 สัปดาห์(M+)
ผูป้ ่ วยไม่ยนิ ยอม/มีความจาเป็ นไม่สามารถนอนพักรพ.ได้
จนท.TBคลินิกประสานกับพื้นที่นายาและchartไปให้
ก่อนผูป้ ่ วยกลับบ้าน
Admit at home ครบ 2 สัปดาห์
พยาบาลวิชาชีพรพ.สต เยีย่ มให้การพยาบาลเหมือนอยูร่ พ.เช่น
ให้ยา,สัญญาณชีพ,สุ ขศึกษา , บันทึกทางการพยาบาล
ส่ งข้อมูลกลับรพ. (Chart) และ ข้อดี / ปัญหาอุปสรรค
การดาเนินงาน
ผลการดาเนินงาน
อัตรำกำรค้ นพบผู้ป่วยวัณโรคเสมหะบวกรำยใหม่ มำกกว่ ำ
หรือเท่ ำกับร้ อยละ ๗๐ ของจำนวนทีค่ ำดว่ ำจะมีอยู่ในชุมชน
รายการ
อัตรำกำรค้ นพบ
ผู้ป่วยวัณโรค
เสมหะบวกรำย
ใหม่
2551 2552 2553 2554
26
24
36
29
(17/ 06/54)
เป้ าหมาย
30
อัตรำผลสำเร็จของกำรรักษำผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะบวก
รำยใหม่ มำกกว่ ำหรือเท่ ำกับร้ อยละ ๙๐
รายการ
อัตราความสาเร็ จของการรักษา
ในผูป้ ่ วยวัณโรคปอดรายใหม่
เสมหะพบเชื้อ
2551 2552 2553 2554
75
96.15 95.83 94.44
อัตราขาดการรักษาในผูป้ ่ วยวัณโรคปอดรายใหม่เสมหะพบ
เชื้อน้อยกว่าร้อยละ 3
ตั้งแต่ปี 2552 – ปัจจุบนั ไม่มีผปู ้ ่ วยขาดการรักษา
พักรักษาในรพ. ๒ อาทิตย์ ๑๐๐%
2552
วัณโรค
ปอดm+
24
2553
2554
นอน Admit at วัณโรค นอนพัก Admit at วัณโรค นอนพัก Admit at
พักรพ. home ปอดm+ รพ.
home ปอดm+ รพ.
home
21
3
36
36
0
29
29
0
ขอขอบคุณ
คณะกรรมการอานวยการ/คณะทางานอาเภอ
ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยัง่ ยืนอาเภอคลองท่อม
จนท.TBคลินิกและเครื อข่าย
สานักระบาดกระทรวงสาธารณสุ ข