แผนพัฒนาจังหวัด

Download Report

Transcript แผนพัฒนาจังหวัด

แนวทางการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดและ
แผนปฏิบตั ิราชการประจาปี 2556
ในลักษณะบูรณาการเชิงพื้นที่
สุริยา จันทรกระจ่าง
สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคตะวันออกเฉียงเหนื อ
สศช.
ที่มาของแผนปฏิบัตริ าชการประจาปี ของ จว.และ กลุ่มจว.
พ.ร.ฎ.ว่ าด้ วยการบริหารราชการจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
แบบบูรณาการ พ.ศ. ๒๕๕๑
ก.น.จ.
มติ ก.น.จ. ครัง้ ที่ ๓/๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๓
อ.ก.น.จ.
แนวทางและหลักเกณฑ์ การพิจารณาทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
และการจัดทาแผนปฏิบัตริ าชการประจาปี ของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕
แผนพัฒนา จ./ กจ.
กบจ. / กบก.
แผนปฏิบัตริ าชการประจาปี จ./ กจ.
ขัน้ ตอนการของบประมาณประจาปี ของ จว.และ กลุ่มจว.
รัฐสภา (อนุมัต)ิ
ส.ง.ป. (ร่างงบประมาณ)
ก.น.จ. (เห็นชอบ)
อ.ก.น.จ. (กลั่นกรอง)
กบจ. /กบก. (เห็นชอบ)
แผนปฏิบัตริ าชการประจาปี จ./ กจ.
แผนพัฒนา จ./ กจ.
พ.ร.ฎ. ว่ าด้ วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
แบบบูรณาการ ปี 2551
“แผนพัฒนาจังหวัด” หมายความว่ า รายการเกี่ยวกับโครงการและแผนงานต่ าง ๆ ของจังหวั ดที่
จาเป็ นต้ องจัดทาเพื่อให้ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ และทิศทางการพัฒนาของจังหวัดในอนาคต
“แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด” หมายความว่ า รายการเกี่ยวกับโครงการและแผนงานต่ าง ๆ ของกลุ่ม
จังหวัดที่จาเป็ นต้ องจัดทาเพื่อให้ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ และทิศทางการพัฒนาของกลุ่มจังหวัด
ในอนาคต
“แผนปฏิบัติราชการประจาปี ของจังหวัด ” หมายความว่ า แผนที่แปลงแผนพัฒนาจังหวัดสู่การ
ปฏิบัติโ ดยระบุถึงโครงการต่ าง ๆ ที่จาเป็ นต้ องดาเนิ น การในจังหวัด ในแต่ ล ะปี งบประมาณ
เพื่อให้ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ และทิศทางการพัฒนาของจังหวัด ทัง้ นี ้ ไม่ ว่าโครงการนั น้ จะ
ดาเนินการโดยจังหวัด กระทรวง ทบวง กรม องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นหรื อหน่ วยงานอื่ นใด
ของรัฐ หรือเอกชน
“แผนปฏิบัติร าชการประจาปี ของกลุ่ มจั ง หวั ด ” หมายความว่ า แผนที่แ ปลงแผนพัฒนากลุ่ ม
จังหวัดสู่การปฏิบัติโดยระบุถึงโครงการต่ าง ๆ ที่จาเป็ นต้ องดาเนินการในกลุ่มจังหวัดในแต่ ละ
ปี งบประมาณเพื่อให้ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ และทิศทางการพัฒนาของกลุ่มจังหวัด ทัง้ นี ้ ไม่ ว่า
โครงการนัน้ จะดาเนินการโดยจังหวัด กลุ่มจังหวัด กระทรวง ทบวง กรม องค์ กรปกครองส่ วน
ท้ องถิ่นหรือหน่ วยงานอื่นใดของรัฐ หรือเอกชน
พ.ร.ฎ. ว่ าด้ วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
แบบบูรณาการ ปี 2551
มาตรา ๖ การบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการให้ คานึงถึงหลักการดังต่ อไปนี ้
(๑) การบริหารงานให้ เป็ นไปตามแผนพัฒนาจังหวัดหรือแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แล้ วแต่ กรณี
(๒) การสร้ างโอกาสและส่ งเสริมให้ เกิดการมีส่วนร่ วมระหว่ างภาครัฐ องค์ กรปกครองส่ วน
ท้ องถิ่น ภาคธุรกิจเอกชน และภาคประชาสังคมในจังหวัด เพื่อเสริมสร้ างศักยภาพในการ
แข่ งขันและการแก้ ไขปั ญหาร่ วมกันเพื่อการพัฒนาอย่ างยั่งยืน
(๓) การกระจายอานาจการตัดสินใจลงไปสู่ระดับผู้ปฏิบตั ิ เพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพและความ
รวดเร็วในการปฏิบัตริ าชการ
(๔) การส่ งเสริมและสนับสนุนให้ ท้องถิ่นมีความพร้ อมในการรองรับการกระจายอานาจให้
องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น
(๕) การบริหารกิจการบ้ านเมืองที่ดี มีความโปร่ งใส และมีการตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ของการ
ปฏิบัตริ าชการ
(๖) การบริหารงบประมาณจังหวัดให้ เป็ นไปตามวิธีการบริหารงบประมาณจังหวัดแบบบูรณา
การตามหลักเกณฑ์ และวิธีปฏิบัตติ ามที่ ก.น.จ. กาหนดตามข้ อเสนอแนะของสานัก
งบประมาณ
มติ ก.น.จ. ครัง้ ที่ ๓/๒๕๕๓
• ให้ นานโยบายของรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่ นดิน แผนพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแห่ งชาติ กรอบยุทธศาสตร์ การพัฒนาภาค รวมถึงยุทธศาสตร์ รายสาขา เช่ น
ยุทธศาสตร์ การท่ องเที่ยว ทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรม แนวทางการพัฒนาการ
เกษตร เป็ นต้ น ตลอดจนผลการศึกษาของส่ วนราชการที่เกี่ยวข้ องมาเป็ นกรอบหลักใน
การจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
• มุ่งเน้ นการทางานแบบเครือข่ ายร่ วมกันทุกภาคส่ วนโดยคานึงความพร้ อมของทุกภาค
ส่ วน โดยให้ พจิ ารณาความพร้ อมของส่ วนราชการต่ างๆ ทัง้ ส่ วนกลางและส่ วนภูมภิ าค
ในการบูรณาการแผนงาน/โครงการตามแผนปฏิบัตริ าชการประจาปี ให้ สอดคล้ องกับ
แผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดที่กาหนดไว้ และความพร้ อมขององค์ กร
ปกครองส่ วนท้ องถิ่น ในการดาเนินโครงการพัฒนาร่ วมระหว่ างจังหวัด/กลุ่มจังหวัดกับ
องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น หรือโครงการพัฒนาร่ วมระหว่ างองค์ กรปกครองส่ วน
ท้ องถิ่นในจังหวัดและกลุ่มจังหวัดโดยสมัครใจ ตลอดจนความพร้ อมของภาคเอกชน
ของแต่ ละพืน้ ที่ในการสนับสนุนหรือร่ วมลงทุนกับภาครัฐในการจัดโครงการ/กิจกรรม
เพื่อสนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
มติ ก.น.จ. ครัง้ ที่ ๓/๒๕๕๓ (ต่ อ)
• รั บฟั งความคิดเห็นของประชาชนในท้ องถิ่นในจังหวัด จังหวัดและกลุ่ม
จังหวัดต้ องมีการดาเนินการรั บฟั งความคิดเห็นของประชาชนในท้ องถิ่นใน
จังหวัด โดยให้ ใช้ กระบวนการประชาคมชุมชน เพื่อพิจารณาปั ญหาและ
ความต้ องการของประชาชนรวมทัง้ นาข้ อมูลตามแผนชุมชนมา
ประกอบการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดด้ วย
• ให้ ความสาคัญกับกลุ่มจังหวัด จังหวัดและกลุ่มจังหวัดต้ องให้ ความสาคัญ
ในแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดให้ มากขึน้ ซึ่งจะก่ อให้ เกิดการพัฒนาและ
กระจายความเจริญเติบโตระหว่ างจังหวัด และเพิ่มขีดความสามารถในการ
แข่ งขันอันจะก่ อให้ เกิดประโยชน์ ต่อประชาชนในแต่ ละพืน้ ที่ของแต่ ละ
จังหวัด
มติ ก.น.จ. ครั ง้ ที่ ๓/๒๕๕๓ (ต่ อ)
ขอบเขตของแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด/จังหวัด
ขอบเขตของแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
• แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดเป็ นแผนที่ม่ ุงเน้ นการพัฒนาเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ
ในการแข่ งขันของกลุ่มจังหวัดและนาไปสู่การกระตุ้นให้ เกิดการลงทุนของ
ภาคเอกชนและสร้ างรายได้ ให้ กลุ่มจังหวัด
ขอบเขตของแผนพัฒนาจังหวัด
• แผนพัฒนาจังหวัดเป็ นแผนที่ม่ ุงการพัฒนาจังหวัดแบบองค์ รวมที่ครอบคลุม
ทุกมิตใิ นด้ านเศรษฐกิจ สังคม ทรั พยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้ อมและความ
มั่นคง เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติ สร้ างโอกาสและอาชีพ ซึ่งตอบสนองต่ อความ
ต้ องการของประชาชนในจังหวัด
มติ ก.น.จ. ครั ง้ ที่ ๓/๒๕๕๓ (ต่ อ)
แนวทางการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
• ความสอดคล้ องเชื่อมโยง กับนโยบายของรั ฐบาลแผนพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแห่ งชาติ กรอบยุทธศาสตร์ การพัฒนาภาค รวมถึงยุทธศาสตร์
รายสาขารวมทัง้ ความสอดคล้ องกับศักยภาพ โอกาส สภาพปั ญหา และ
ความต้ องการของประชาชนในพืน้ ที่
• คุณภาพของแผน ในการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่ม
จังหวัดที่มีคุณภาพ จะต้ องผ่ านกระบวนการเห็นชอบร่ วมกันของทุกฝ่ าย
และแผนดังกล่ าวจะต้ องมีความชัดเจน ความเป็ นเหตุเป็ นผลของ
แผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดที่สอดคล้ อง เชื่อมโยงตัง้ แต่
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชีว้ ัด ค่ าเป้าหมาย กลยุทธ์
จนถึงแผนงาน/โครงการ (Logical Framework) โดยมี
รายละเอียดดังนี ้
มติ ก.น.จ. ครัง้ ที่ ๓/๒๕๕๓ (ต่ อ)
แนวทางการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
 มีการกาหนดประเด็นปั ญหาและโอกาสการพัฒนาชัดเจนทัง้ ในเชิงของ
ขนาด และพืน้ ที่ พร้ อมทัง้ จัดลาดับความสาคัญของปั ญหาและโอกาสการ
พัฒนานัน้ ๆ
 มีวัตถุประสงค์ ตัวชีว้ ัดและค่ าเป้าหมายในเชิงปริมาณและคุณภาพที่ชัดเจน
สะท้ อนให้ เห็นถึงการแก้ ปัญหา และการใช้ โอกาสในการพัฒนาจังหวัดและ
กลุ่มจังหวัด
 มีประเด็นยุทธศาสตร์ และแนวทางการพัฒนา และการแก้ ไขปั ญหาที่
ตอบสนองกับวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของแผน โดยในการกาหนด
ประเด็นยุทธศาสตร์ จะต้ องมีการหาข้ อตกลงร่ วมกันเพื่อยืนยันประเด็น
ยุทธศาสตร์ นัน้ ๆ และเป็ นที่ยอมรั บของทุกภาคส่ วน
 มีการจัดลาดับความสาคัญของประเด็นยุทธศาสตร์
 มีแผนงาน /โครงการ ตอบสนองกับแนวทางพัฒนานัน้ ๆ และมีการจัดลาดับ
ความสาคัญของโครงการ
มติ ก.น.จ. ครัง้ ที่ ๓/๒๕๕๓ (ต่ อ)
แนวทางการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
• แผนปฏิบัตริ าชการประจาปี ของจังหวัด และกลุ่มจังหวัด จะต้ องสอดคล้ องกับ
วัตถุประสงค์ และทิศทางการพัฒนาตามแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด รวมทัง้ กรอบ
ของแผนงาน/โครงการที่กาหนดไว้ ในแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
• กาหนดโครงการที่จาเป็ นต้ องดาเนินการในแต่ ละประเด็นยุทธศาสตร์ และแสดงให้
เห็นถึงบทบาทและความรั บผิดชอบของผู้มีส่วนเกี่ยวข้ องในแต่ ละโครงการชัดเจน ไม่
ซา้ ซ้ อน และสนับสนุนกัน เพื่อให้ หน่ วยงานดังกล่ าวนาไปใช้ ประกอบการจัดทาคาขอ
งบประมาณหรื อจัดงบประมาณมาสนับสนุนและดาเนินกิจการโดยกาหนดว่ า
• โครงการใดที่ดาเนินการโดยกลุ่มจังหวัด/จังหวัด
• โครงการใดที่ดาเนินการโดยกระทรวง กรม
• โครงการใดที่ดาเนินการโดยองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น
• โครงการใดที่ดาเนินการโดยภาคธุรกิจเอกชนหรื อร่ วมกับภาคธุรกิจเอกชน
• โครงการใดที่ดาเนินการโดยชุมชน
มติ ก.น.จ. ครัง้ ที่ ๓/๒๕๕๓ (ต่ อ)
แนวทางการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
•
โครงการที่ดาเนินการโดยจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ตามแผนปฏิบัตริ าชการ
ประจาปี จะต้ องอยู่ในแนวทางดังนี ้
 เป็ นโครงการที่ต้องสอดคล้ องและเชื่อมโยงกับประเด็นยุทธศาสตร์ ของ
จังหวัด/กลุ่มจังหวัด
 ความจาเป็ นของโครงการ ต้ องเป็ นโครงการที่ช่วยพัฒนา (เพิ่มขีด
ความสามารถในการแข่ งขันและนาไปสู่การกระตุ้นให้ เกิดการลงทุน
ของภาคเอกชนและสร้ างรายได้ ให้ จังหวัด/กลุ่มจังหวัด) หรื อแก้ ปัญหา
ที่เกิดขึน้ และหากไม่ ดาเนินการจะเกิดความเสียหาย
มติ ก.น.จ. ครัง้ ที่ ๓/๒๕๕๓ (ต่ อ)
แนวทางการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
• โครงการที่ดาเนินการโดยจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ตามแผนปฏิบัตริ าชการประจาปี จะต้ องอยู่
ในแนวทางดังนี ้ (ต่ อ)
ความเหมาะสมและเป็ นไปได้ ของโครงการ ต้ องมีความเหมาะสมและเป็ นไปได้
 ด้ านเทคนิค (วิธีการหรื อรู ปแบบที่ใช้ ในการดาเนินการ)
 ด้ านกายภาพ (ความพร้ อมของพืน้ ที่ดาเนินงาน บุคลากร การบริหารความเสี่ยง
และการบริหารจัดการ)
 ด้ านงบประมาณ (ความสมเหตุสมผลของวงเงินกับประโยชน์ ท่ไี ด้ จากการดาเนิน
โครงการ) ด้ านระยะเวลาที่ดาเนินการได้ แล้ วเสร็จภายในปี งบประมาณ รวมทัง้
การวิเคราะห์ ผลกระทบทางลบในการดาเนินโครงการ
ความคุ้มค่ า ผลลัพธ์ หรื อประโยชน์ ของโครงการที่คาดว่ าจะได้ รับทัง้ ทางด้ านเศรษฐกิจ
สังคม ทรั พยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้ อม และความมั่นคง อาทิ จานวนประชากร
จานวนเกษตรกร พืน้ ที่เพาะปลูก รายได้ ฯลฯ โดยเฉพาะในส่ วนของผลประโยชน์ ท่ ี
กระทบในส่ วนของประชาชนในพืน้ ที่
มติ ก.น.จ. ครัง้ ที่ ๓/๒๕๕๓ (ต่ อ)
แนวทางการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
 ลักษณะโครงการที่จะนามาเป็ นคาของบประมาณของจังหวัด /กลุ่มจังหวัด
จังหวัด
กลุ่มจังหวัด
1. การดาเนินเศรษฐกิจชุมชนตามปรัชญา 1. การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ เชิ ง สร้ างสรรค์
เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง อาทิ โ ครงการที่
(Creative Economy) อาทิ
ก ารใช้ ภู มิ ปั ญ ญ าท้ อ ง ถิ่ นม าส ร้ า ง
สนับสนุนและส่งเสริ มการเพิ่มศักยภาพ
มูลค่าเพิ่มสินค้ าและบริ การ รวมถึ งการ
ในการประกอบอาชีพ การเพิ่มรายได้
เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ
แ ล ะ ส ร้ า ง โ อ ก า ส ใ น ก า ร พั ฒ น า
สินค้ าหนึ่งตาบลหนึง่ ผลิตภัณฑ์
เศรษฐกิจของชุมชน การพัฒนาสินค้ า
2. การพัฒนาคุณภาพและสร้ างมูลค่าเพิ่ ม
OTOP
ของสินค้ าเกษตร
2. การพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้ างสรรค์
มติ ก.น.จ. ครัง้ ที่ ๓/๒๕๕๓ (ต่ อ)
แนวทางการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
 ลักษณะโครงการที่จะนามาเป็ นคาของบประมาณของจังหวัด /กลุ่มจังหวัด
จังหวัด
กลุ่มจังหวัด
3. การฟื น้ ฟูและพัฒนาการท่องเที่ยว
ของจังหวัด
4. การบริ หารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้ อมอย่างยัง่ ยืน
5. การยกระดับคุณภาพชีวิต
6. ความมัน่ คง
3. การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในพื ้นที่
เฉพาะหรื อพื ้นที่พิเศษ อาทิ กลุม่ การค้ า
ชายแดน กลุม่ ธุรกิจและสินค้ าฮาลาล
4. การพัฒนาการท่องเที่ยวที่ยงั่ ยืนเพื่อ
เพิ่มการจ้ างงาน และกระจายรายได้ สู่
ชุมชน
5. การบริ หารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้ อม
มติ ก.น.จ. ครัง้ ที่ ๓/๒๕๕๓ (ต่ อ)
แนวทางการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
• ลักษณะโครงการจังหวัด/กลุ่มจังหวัดที่ไม่ ควรเสนอขอเป็ นคาของบประมาณ
ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
 พืน้ ที่ดาเนินการอยู่ในเขตป่ าสงวนแห่ งชาติ หรื อที่สาธารณะ เว้ นแต่ ได้ รับ
อนุญาตหรื อเห็นชอบจากหน่ วยงานที่รับผิดชอบ
 ไม่ ควรก่ อสร้ างถนนที่เป็ นการก่ อสร้ างเส้ นทางใหม่ เว้ นแต่ เป็ นการสร้ าง
ทางที่จะทาให้ ประเด็นยุทธศาสตร์ ของจังหวัดหรื อกลุ่มจังหวัด บรรลุผลได้
อย่ างแท้ จริง
 การฝึ กอบรม ดูงาน
 เป็ นการขุดลอกคูคลอง
 เป็ นการจัดซือ้ ครุ ภัณฑ์ เพื่อแจกจ่ ายแก่ ประชาชนโดยตรง ยกเว้ นในกรณี
ของครุ ภั ณ ฑ์ ท่ ี จั ด ซื อ้ นั ้น เป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของกิ จ กรรมภายใต้ โ ครงการที่
สอดคล้ องกับประเด็นยุทธศาสตร์ ของจังหวัดหรื อกลุ่มจังหวัด
มติ ก.น.จ. ครัง้ ที่ ๓/๒๕๕๓ (ต่ อ)
แนวทางการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
• ลักษณะโครงการจังหวัด/กลุ่มจังหวัดที่ไม่ ควรเสนอขอเป็ นคาของบประมาณ
ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด (ต่ อ)
 มีวัตถุประสงค์ หลัก เกี่ยวกับการศึกษา ฝึ กอบรม ดูงาน ยกเว้ นการฝึ กอบรมด้ านอาชีพ
และการศึ ก ษาวิ จั ย เพื่ อ แก้ ไ ขปั ญหาที่ ส าคั ญ ของพื น้ ที่ หรื อ การท าแผนแม่ บทซึ่ ง มี
ความสั ม พั น ธ์ กั บ การพั ฒ นาจั ง หวั ด หรื อ กลุ่ มจั ง หวั ด ซึ่ งต้ องใช้ องค์ ความรู้ จาก
สถาบันการศึกษา
 เป็ นโครงการในลักษณะของกิจกรรมย่ อย (ควรมีการบูรณาการภารกิจหรื อกิจกรรมของ
หน่ วยงานที่เกี่ยวข้ องเข้ าด้ วยกันเป็ นโครงการเพื่อให้ เกิดการแก้ ไขปั ญหาเชิงบูรณาการ
อย่ างมีประสิทธิผล เช่ น กรณีท่ เี ป็ นโครงการพัฒนาแหล่ งนา้ หรื อสร้ างทาง ควรจัดทาเป็ น
ชุดโครงการ เช่ น “โครงการพัฒนาแหล่ งนา้ หรื อทางเพื่อ ...” โดยรวมกิจกรรมและพืน้ ที่
ดาเนินการในการพัฒนาแหล่ งนา้ /ทาง มารวมไว้ ในโครงการเดียวกัน ไม่ ควรขอเป็ น ๑)
โครงการพัฒนาแหล่ งนา้ /ทางหมู่บ้านโคกหมากมาย ตาบลหนองเหล็ก หรื อ ๒) โครงการ
พัฒนาแหล่ งนา้ /ทางบ้ านยางน้ อย ตาบลยางน้ อย เป็ นต้ น)
 เป็ นโครงการบริ การสาธารณะ หรื อบริ การประชาชนซึ่ง เป็ นภารกิจประจาของหน่ วยงาน
ราชการต่ างๆ หรือขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นอยู่แล้ ว เว้ นแต่ เป็ นโครงการที่จะทาให้
ประเด็นยุทธศาสตร์ บรรลุผลอย่ างแท้ จริง
ข้ อสังเกตแผนพัฒนาจังหวัด ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 การวิเคราะห์สภาพแวดล้ อมของจังหวัด
• ขาดการวิเคราะห์ด้านสังคมและด้ านสิ่งแวดล้ อม )
• นาเสนอข้ อมูลเพียงปี เดียว ไม่เห็นแนวโน้ มของศักยภาพหรื อสภาพปั ญหา
• ไม่มีการเปรี ยบเทียบข้ อมูลกับค่าเฉลี่ยของกลุม่ หรื อของภาคหรื อของประเทศ
• การนาเสนอเป็ นการอธิบายข้ อมูลมากกว่าเหตุผล
 การวิเคราะห์ SWOT
• ยังไม่ถกู ต้ องและไม่สมบูรณ์ หรื อคลาดเคลื่อน ทังในด้
้ านจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค
โดยเฉพาะการแยกแยะปั จจัยภายในและปั จจัยภายนอก
• ขาดการวิเคราะห์เชื่องโยง ระหว่างจุดแข็งกับโอกาส
 การกาหนดบทบาทของจังหวัดและกลุม่ จังหวัดในอนาคต
• ไม่ได้ กาหนดบทบาทของจังหวัด
 การกาหนดวิสยั ทัศน์
• มีลกั ษณะเป็ นคาขวัญ หรื อเป็ นเพียงภาพปั จจุบนั
• ไม่เชื่อมโยงกับบทบาทที่กาหนด
• ใช้ ภาพปั จจุบนั ไม่มีลกั ษณะเชิงรุก หรื อไม่มีความท้ าทาย (แต่ต้องเป็ นไปได้ )
ข้ อสังเกตแผนพัฒนาจังหวัด ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ต่ อ)
 การกาหนดประเด็นยุทธศาสตร์
• ไม่เชื่อมโยงกับบทบาท และวิสยั ทัศน์
 การกาหนดตัวชี ้วัด
• มีลกั ษณะเป็ นนามธรรม วัดค่าเชิงปริ มาณไม่ได้
• เน้ นกระบวนการ มากกว่า output หรื อ outcome
• ไม่มีค่าฐาน (benchmark) ของตัวชี ้วัด
 บัญชีชดุ โครงการ
• ไม่สอดคล้ องกับยุทธศาสตร์
• ขาดความต่อเนื่องในระยะปานกลางหรื อระยะยาว
• ไม่แสดงภาพการบูรณาการระหว่างภาคีการพัฒนา (ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ท้ องถิ่น ชุมชน
เอกชน)
สรุ ปความเห็น อ.ก.น.จ. คณะที่ 5
ในการประชุมพิจารณาคุณภาพแผนและกลั่นกรองโครงการตาม
แผนปฏิบัตริ าชการประจาปี 2555
•
•
•
•
แผนพัฒนาจังหวัดยังไม่ ครอบคลุมทุกมิติ
ขาดการบูรณาการโครงการระหว่ างภาคส่ วนต่ างๆ
โครงการมีลักษณะเป็ นกิจกรรมย่ อยๆ มารวมกัน
โครงการส่ วนใหญ่ เป็ นการสร้ าง/ซ่ อมแซมถนน ขุดลอก คูคลอง การ
ฝึ กอบรม ยังไม่ สามารถบ่ งบอกถึงความสาเร็จของการพัฒนา
• ขาดการอธิบายเหตุผลและความจาเป็ น พืน้ ที่และกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน
• แนวทางการบริหารจัดการเมื่อโครงการแล้ วเสร็จ
คะแนนคุณภาพแผนปฏิบัตริ าชการประจาปี 2555 ของจังหวัดกาฬสินธุ์
ประเด็นการพิจารณา
1.แผนพัฒนาจังหวัด
1.1 ความถูกต้อง
เกณฑ์ การพิจารณา
 กรณี ยน
ื ยัน
ครบถ้วนตามขั้นตอน แผนพัฒนาเดิม : ไม่
การทบทวน
มีผลกระทบต่อ
สถานการณ์
ศักยภาพและทิศ
แผนพัฒนาจังหวัด ทางการพัฒนาของ
และการจัดทา
จังหวัด
แผนปฏิบตั ิราชการ  กรณี ที่จาเป็ นต้อง
ประจาปี ของจังหวัด เปลี่ยนแปลง
แผนพัฒนาฯ ใน
นา้ หนัก คะแนน
ทีไ่ ด้ รับ
20
20 -
ความเห็น
ยืนยันตาม
แผนพัฒนาจังหวัด
เดิม (เนื้อหา
ครอบคลุมทั้งด้าน
กายภาพเศรษฐกิจ
สังคม และ
สิ่ งแวดล้อมรวมทั้ง
เนื้อหาในส่ วนของ
สถานการณ์อื่นๆที่
คะแนนคุณภาพแผนปฏิบัตริ าชการประจาปี 2555 ของจังหวัดกาฬสินธุ์
ประเด็นการพิจารณา
ขอบเขตของ
แผนพัฒนาจังหวัด
1.2
เกณฑ์ การพิจารณา
 เป็ นแผนที่มุ่งการพัฒนา
จังหวัดแบบองค์รวม
ครอบคลุมทุกมิติ เพื่อ
พัฒนาคุณภาพชีวติ
สร้างโอกาสและอาชีพ
ซึ่งตอบสนองความ
ต้องการของประชาชน
ในจังหวัด
นา้ หนัก คะแนน
ทีไ่ ด้ รับ
20
ความเห็น
18 -
-
การวิเคราะห์ SWOT
ขาดข้อมูลด้านสังคม
และ
ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่ งแวดล้อม
ควรปรับปรุ งการ
วิเคราะห์สถานการณ์
การเปลี่ยนแปลงด้าน
สังคมและ
ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่ งแวดล้อมโดย
ควรนาข้อมูลมา
วิเคราะห์เป็ นอนุกรม
คะแนนคุณภาพแผนปฏิบัตริ าชการประจาปี 2555 ของจังหวัดกาฬสินธุ์ (ต่ อ)
ประเด็นการพิจารณา
เกณฑ์ การพิจารณา
2.แผนปฏิบัตริ าชการประจาปี (คา
ของบประมาณ)
2.1 ความเชื่อมโยงและ  มีความสอดคล้องและ
สอดคล้องกับประเด็น
ยุทธศาสตร์และการบูร
ณาการกับภาคส่ วน
ต่างๆ
นา้ หนัก คะแนนที่
ได้ รับ
25
ความเห็น
20.5 -
สนับสนุนกับประเด็น
ยุทธศาสตร์ของ จังหวัด
และมีการบูรณาการ
ระหว่างจังหวัด
กระทรวง/กรม และ
ภาคส่ วนต่างๆ
-
หลายโครงการยังขาด
เหตุผลและความจาเป็ น
ที่ชดั เจนที่จะนาไปสู่
ความเชื่อมโยงกับ
วิสยั ทัศน์ควรพิจารณา
ทบทวนแผนงาน/
โครงการ ให้ตอบสนอง/
ครอบคลุมกับแนว
ทางการพัฒนาในแต่ละ
ประเด็นยุทธศาสตร์
กิจกรรมในบาง
โครงการเป็ นภารกิจ
คะแนนคุณภาพแผนปฏิบัตริ าชการประจาปี 2555 ของจังหวัดกาฬสินธุ์ (ต่ อ)
ประเด็นการพิจารณา
เกณฑ์ การพิจารณา
ความจาเป็ นของ  ช่วยพัฒนาหรื อแก้ไข
โ ค ร ง ก า ร / ค ว า ม ปัญหาที่เกิดขึ้น หากไม่
เ ห ม า ะ ส ม ข อ ง ดาเนินการจะเกิดความ
โครงการฯ
เสี ยหาย (แก้ปัญหา
เร่ งด่วนของพื้นที่)
 เพื่อสร้างโอกาสและอาชี พ
ที่ตอบสนองความต้องการ
ของประชาชนในจังหวัด
 มีความพร้อมที่จะ
ดาเนินงานทั้งในเรื่ อง
พื้นที่ บุคลากร การบริ หาร
จัดการ
 ระยะเวลาที่ดาเนิ นการ/
2.2
นา้ หนัก คะแนนที่
ได้ รับ
10
9
ความเห็น
-
ควรระบุความจาเป็ น
เร่ งด่วน และความสาคัญ
ของโครงการที่จะแก้ไข
ปัญหาเร่ งด่วนของพื้นที่
ให้ชดั เจน
คะแนนคุณภาพแผนปฏิบัตริ าชการประจาปี 2555 ของจังหวัดกาฬสินธุ์ (ต่ อ)
ประเด็นการพิจารณา
เกณฑ์ การพิจารณา
2.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะ  ผลลัพธ์หรื อประโยชน์ของโครงการ
ได้ รับและรวมทั ้งตัวชี ้วัดและ
ที่คาดว่าจะได้ รับ และผลประโยชน์
ที่ประชาชนในพื ้นที่จะได้ รับ ซึง่
ค่าเป้าหมาย
สะท้ อนให้ เห็นถึง การแก้ ปัญหา
และโอกาสในการพัฒนาจังหวัด
 มีวตั ถุประสงค์ ตัวชี ้วัด ค่า
เป้าหมายในเชิงปริมาณและ
คุณภาพที่ชดั เจน
นา้ หนัก
15
คะแนนที่
ได้ รับ
ความเห็น
12.5 - โครงการส่วนใหญ่ขาดการพัฒนา
เพื่อส่งเสริมสร้ างความยัง่ ยืนในการ
ดาเนินงานในอนาคต
- โครงการส่วนใหญ่ ตัวชี ้วัดและค่า
เป้าหมาย ไม่สะท้ อนเป้าประสงค์
ของยุทธศาสตร์
- ควรระบุตวั ชี ้วัดที่สะท้ อน
เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ ไม่ใช่
การระบุโดยใช้ หน่วยนับ
คะแนนคุณภาพแผนปฏิบัตริ าชการประจาปี 2555 ของจังหวัดกาฬสินธุ์ (ต่ อ)
ประเด็นการพิจารณา
เกณฑ์ การพิจารณา
บั ญ ชี ร า ย ชุ ด  มีการจัดลาดับความสาคัญ
โครงการ
ของโครงการ
 มีโครงการทุกแหล่ง
งบประมาณ โดยมีการ
จาแนกโครงการ ที่
ดาเนินการโดย จังหวัด
กระทรวง/กรม ท้องถิ่น
ภาคธุรกิจเอกชน
 สอดคล้องและตอบสนอง
ประเด็นยุทธศาสตร์
 สอดคล้องกับหลักเกณฑ์
การพิจารณาโครงการของ
ก.น.จ.
2.4
นา้ หนัก คะแนนที่
ได้ รับ
10
9 -
ความเห็น
ยังมีโครงการที่ไม่ควร
นาเสนอในคาขอ
งบประมาณ เช่น
โครงการขุดลอก เป็ นต้น
การปรับปรุ ง
แผนปฏิบัตริ าชการประจาปี
ต้ องเริ่มจากการปรั บปรุ งแผนพัฒนาจังหวัด
แนวทางการปรั บปรุ งแผนพัฒนาจังหวัด
1) ปรั บแนวคิดในการจัดทาแผน/โครงการของจังหวัด
 การจั ดท าแผนพั ฒ นาจั ง หวั ด มุ่ ง เน้ น การสร้ างโอกาสทางเศรษฐกิ จ
พัฒนาสังคม และรั กษาฟื ้ นฟูส่ ิงแวดล้ อมให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่ าง
เป็ นรู ปธรรม
 มุ่งเน้ นให้ แผนงาน/โครงการบังเกิดผลอย่ างยั่งยืนในระยะยาว ไม่ ใช่ การ
แก้ ปัญหาในระยะสัน้
 ให้ ความสาคัญกับสังคมส่ วนรวมหรื อคนส่ วนใหญ่ มากกว่ าส่ วนบุคคล
หรื อเฉพาะบางกลุ่ม
 ถ้ าเป็ นการแก้ ปัญหาความเดือดร้ อนของประชาชน ควรเป็ นปั ญหา
เรื อ้ รั งที่ต้องใช้ เวลาแก้ ไข หรื อปั ญหาที่ต้องการความมีส่ วนร่ วมอย่ าง
กว้ างขวาง หรื อเป็ นปั ญหาเร่ งด่ วนกระทบคนส่ วนใหญ่ และไม่ มีแ หล่ ง
ช่ วยเหลืออื่นๆ
แนวทางการปรั บปรุ งแผนพัฒนาจังหวัด
1) ปรั บแนวคิดการจัดทาแผน/โครงการของจังหวัด (ต่ อ)
 ผลักดันการดาเนินงานของทุกฝ่ าย (ส่ วนราชการ สถาบันการศึกษา
ประชาชน ธุรกิจเอกชน) ตามบทบาทหน้ าที่ ความถนัด ความ
รั บผิดชอบ และศักยภาพ
 ส่ งเสริม/ผลักดันให้ เอกชน/ประชาชน เป็ นตัวขับเคลื่อนหลักในการ
พัฒนา รั ฐเป็ นผู้สนับสนุน
 ดาเนินโครงการอย่ างต่ อเนื่อง และมีการประเมินผลโครงการและ
ตัวชีว้ ัดอยู่เสมอ
 ควรทบทวนแผนพัฒนา จว. /กลุ่ม จว. และบัญชีโครงการ หาก
จาเป็ นต้ องปรั บปรุ งควรเป็ นความเห็นร่ วมกันของทุกภาคส่ วน
 สร้ างความรู้ ความเข้ าใจสถานการณ์ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้ อม และ
แนวทางการพัฒนาจังหวัดให้ แก่ ภาครั ฐและเอกชน เพื่อให้ เกิดแรง
กระตุ้นด้ านการลงทุนในพืน้ ที่
แนวทางการปรั บปรุ งแผนพัฒนาจังหวัด
 เน้ นการพัฒนาหรือแก้ ไขปั ญหาเชิงพืน้ ที่ และกลุ่มเป้าหมาย
 ยึดหลักความคุ้มค่ า ของเวลา กาลังคน และงบประมาณที่มีอย่ างจากัด
 สร้ างความสอดคล้ องความเชื่อมโยงหรื อสนับสนุนกัน ระหว่ างแผน
จังหวัด และกลุ่มจังหวัด และแผนงานของส่ วนราชการและท้ องถิ่น
2) พัฒนาปั จจัยสนับสนุนการจัดทาแผน
 พัฒนาระบบข้ อมูล ข่ าวสาร เชิงลึกที่จาเป็ นในการวางแผน
 พัฒนางานศึกษาวิจัยสนับสนุนการจัดทาแผนจังหวัด
 พัฒนาเวทีประชาคม กลุ่มผู้มีส่วนได้ เสียในระดับพืน้ ที่ (ชุมชน /
ท้ องถิ่น / อาเภอ / จังหวัด / กลุ่มจังหวัด) เพื่อแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ หรื อ
การระดมสมอง
 พัฒนาระบบการติดตามประเมินผลการดาเนินงานโครงการ /
ยุทธศาสตร์
สาระสาคัญที่ควรปรับปรุ งแผนพัฒนาจังหวัด
 การวิเคราะห์ สภาพแวดล้ อมของจังหวัด
• วิเคราะห์สภาพแวดล้ อมให้ ครบถ้ วนทุกมิติ เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม
ความมัน่ คง
• แสดงข้ อมูลให้ เป็ นอนุกรม และวิเคราะห์แนวโน้ มการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ ในระยะปาน
กลาง 4 - 5 ปี หรื อระยะยาว (10 -15 ปี ) หรื อตามรอบแผนพัฒนา โดยมีฐานข้ อมูลรองรับอย่าง
เป็ นระบบ หรื อเชื่อมโยงกับฐานข้ อมูลอื่นๆ ของจังหวัด เช่น GPP, แรงงาน, การศึกษา,
สุขภาพ
 การวิเคราะห์ SWOT
• วิเคราะห์ SWOT ให้ ชดั เจน ทังในด้
้ านจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค สามารถใช้
เครื่ องมือเสริ ม เช่น BCG model
• วิเคราะห์เชื่อมโยง ระหว่างจุดแข็งกับโอกาส
 การกาหนดบทบาทของจังหวัด
• กาหนดบทบาทของจังหวัดให้ ชดั เจน และสอดคล้ องกับศักยภาพของจังหวัด (กาหนดได้
มากกว่า 1 ด้ าน แต่ไม่ควรมากเกินไปจนขาดจุดเน้ น)
สาระสาคัญที่ควรปรับปรุ งแผนพัฒนาจังหวัด(ต่ อ)
• การกาหนดวิสัยทัศน์
• ควรเป็ นภาพในอนาคตของจังหวัดที่ประชาคมต้ องการ มีความท้ าทาย (แต่ต้องเป็ นไปได้ )
• การกาหนดประเด็นยุทธศาสตร์
• ต้ องเชื่อมโยงกับผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้ อม วิสยั ทัศน์ และบทบาทของจังหวัด
• ควรเชื่อมโยงกับแผนชาติ แผนภาค และแผนกลุม่ จังหวัดและแผนรายสาขา
• การกาหนดตัวชีว้ ัด
• มีลกั ษณะเป็ นตัวเลขเชิงประจักษ์ วัดค่าได้ อย่างเป็ นรูปธรรม โดยแสดงค่าฐานและทิศทางการ
เปลี่ยนแปลงที่ผ่านมา
• สามารถตอบสนองวิสยั ทัศน์ และประเด็นยุทธศาสตร์
• มีการกาหนดค่าเป้าหมายของตัวชี ้วัด
• ควรเป็ นผลผลิต (output) หรื อผลลัพท์ (outcome) มากกว่า ผลสาเร็จของกิจกรรม
(process)
สาระสาคัญที่ควรปรับปรุ งแผนพัฒนาจังหวัด (ต่ อ)
• บัญชีชุดโครงการ
• มีความสอดคล้ องกับประเด็นยุทธศาสตร์ /กลยุทธในการพัฒนาจังหวัด
• มีความต่อเนื่องในระยะปานกลางหรื อระยะยาว
• มีการบูรณาการระหว่างภาคีการพัฒนา (ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค
ท้ องถิ่น ชุมชน เอกชน)
• จัดลาดับความสาคัญของโครงการ ตามความจาเป็ นหรื อความเร่งด่วน
ในการแก้ ไขปั ญหา
ความเชื่อมโยงของแผน
แผนชาติ (ฉบับที่10)
แผนภาค ตอน.
ย1. การพัฒนาคุณภาพคนและ ย2. สร้ างคนให้ มีคุณภาพ
สังคมไทยสู่สังคมภูมิปัญญา
และการเรี ยนรู้
ย2. การสร้ างความเข้ มแข็งของ
ชุมชน และสังคม
แผนจังหวัด
กาฬสินธุ์
ย4. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ย4. การพัฒนาคนและสั งคมทีม่ ี
คุณภาพ
ย1. การพัฒนาการค้ าและ
ความสัมพันธ์ กับประเทศ
เพื่อนบ้ าน
ย2. การพัฒนาการท่ องเที่ยว
ย3. การพัฒนาการเกษตรและ
อุตสาหกรรมการเกษตร
ย1. การพัฒนาการผลิตทาง
การเกษตร
ย3. สร้ างสังคมและเศรษฐกิจฐาน
รากให้ เข้ มแข็ง
ย3. การปรับโครงสร้ างเศรษฐกิจ ย1. การเพิม่ ศักยภาพการแข่ งขัน
ให้ สมดุลและยั่งยืน
ด้ านเศรษฐกิจ
ย4. การพัฒนาบนความ
ย4. ฟื ้ นฟูทรั พยากรธรรมชาติ
หลากหลายทางชีวภาพและ
และสิ่งแวดล้ อมให้ สมบูรณ์
ความมั่นคงของฐาน
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้ อม
ย5. การเสริมสร้ างธรรมาภิบาล
ในการบริหารจัดการ
ประเทศ
แผนกลุ่มจังหวัด
ตอน. กลาง
ย2. การพัฒนาผ้าไหมแพรวา
ย3. การพัฒนาเศรษฐกิจและการ
ท่องเทีย่ ว
ข้ อเสนอการปรับปรุ งแผนพัฒนาจังหวัด
1. วิ เ ค ร า ะ ห์ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ใ ห้ ค ร บ ทุ ก มิ ติ ( เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สั ง ค ม
ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อม ความมั่ นคง (เพิ่ ม เติ ม ตาม
ข้ อเสนอของสภาความมั่นคงแห่ งชาติ)
2. พิจารณาความครอบคลุมของประเด็นยุทธศาสตร์
3. ปรั บแนวทางการจัดทาโครงการในลักษณะห่ วงโซ่ คุณค่ า (value
chain)
4. บูรณาการแผนงานโครงการระหว่ างภาคีการพัฒนาให้ มากขึน้ โดยยึด
หลัก AFP
5. พิจารณาความสอดคล้ องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ /
แผนพัฒนาภาค / แผนรายสาขา
ข้ อเสนอการปรับปรุ งแผนพัฒนาจังหวัด
1. วิเคราะห์สภาพแวดล้ อมให้ ครบทุกมิติ (เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้ อม ความมัน่ คง (เพิ่มเติมตามข้ อเสนอของสภาความมัน่ คงแห่งชาติ)
 ให้ ความสาคัญของการวิเคราะห์เชิงพื ้นที่และกลุม่ เป้าหมาย ในแต่ละประเด็น
ปั ญหา และศักยภาพของจังหวัด (ภาค /กลุ่มจังหวัด / จังหวัด / พื ้นที่เฉพาะ
จุด)
 มีข้อมูลแสดงการเปลี่ยนแปลงแนวโน้ ม (เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้ อม ความมัน่ คง) ตามช่วงเวลาแผนพัฒนาฯ (5 ปี ) ที่สามารถ
อธิบายพฤติกรรมของการเปลี่ยนแปลงของจังหวัดได้ สามารถเปรี ยบเที ยบใน
ระดับจังหวัด กลุม่ จังหวัด และในระดับภาค
 การน าเสนอผลการวิเ คราะห์ ค วรชี ป้ ระเด็นขี ดความสามารถ ปั ญหาหรื อ
ข้ อจากัด หรื อสิง่ ที่ต้องแก้ ไข
 Swot และสรุปผลวิเคราะห์โดยเชื่อมโยงศักยภาพ (s) และโอกาส (o)
ข้ อเสนอการปรับปรุ งแผนพัฒนาจังหวัด
2. พิจารณาความครอบคลุมของประเด็นยุทธศาสตร์
 ด้ านเศรษฐกิจ : สร้ างงาน สร้ างอาชีพ
สร้ างรายได้ แก้ ปัญหาความเดือดร้ อน (เน้ น
เสริ มสร้ างผู้ประกอบการทุกสาขาอาชีพ)
เลย
1. โอกาสจากความร่วมมือของอนุภมู ิภาคลุม่ น ้าโขง
(GMS) และกรอบความร่วมมือ อิรวดี
เจ้ าพระยา แม่โขง (ACMECS)
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจตามแนว
EWEC
2. นโยบายด้ านการเกษตร เช่น เกษตรอินทรี ย์ พืช
พลังงาน ยางพารา เป็ นต้ น
3. ด้ านอุตสาหกรรมอาหาร และอื่นๆ
4. ศักยภาพผลิตภัณฑ์ชมุ ชนไปสูเ่ ศรษฐกิจ
สร้ างสรรค์ ไหมแพรวา และ อื่นๆ
5. ศักยภาพด้ านการท่องเที่ยว
ประตูการค้ ากับ
ประเทศเพื่อนบ้ าน
พืน้ ที่อนุรักษ์
หนองคาย
นครพนม
หนองบัวลาภู
อุดรธานี
ประตูการค้ ากับ
ประเทศเพื่อนบ้ าน
ประตูการค้ ากับ
ประเทศเพื่อนบ้ าน
สกลนคร
แหล่งท่องเที่ยวยุคก่อน
ประวัติศาสตร์ มุกดาหาร
ขอนแก่ น
กาฬสินธุ์
มหาสารคาม
ร้ อยเอ็ด
ชัยภู
มิ
นครราชสี
มา
พืน้ ที่อนุรักษ์
ยโสธร
อานาจเจริ
ประตูกญารค้ ากับ
ประเทศเพื่อนบ้ าน
ศรีสะเกษ
บุรีรัมย์
สุรินทร์
อุบลราชธานี
พืน้ ที่อนุรักษ์
ทางหลวง
เส้ นทางรถไฟ
40
ข้ อเสนอการปรับปรุ งแผนพัฒนาจังหวัด
2. พิจารณาความครอบคลุมของประเด็นยุทธศาสตร์ (ต่ อ)
 ด้ านสังคม : สร้ างสังคมอยูด่ ีมีสขุ โดยเน้ นการมีสว่ นร่วมของชุมชนและองค์กร
ปกครองท้ องถิ่นในการแก้ ไขปั ญหา
1. ปั ญหาโอกาสทางการศึกษาของประชาชน
2. ปั ญหาสุขภาวะ
3. ปั ญหาผู้ด้อยโอกาส ปั ญหาผู้สงู อายุ ปั ญหาเด็กและเยาวชน
4. ปั ญหาด้ านแรงงาน
5. เมือง/ชุมชนน่าอยู่
ข้ อเสนอการปรับปรุ งแผนพัฒนาจังหวัด
2. พิจารณาความครอบคลุมของประเด็นยุทธศาสตร์ (ต่ อ)
 ด้ านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม : การอนุรักษ์ ดูแล รักษา ฟื น้ ฟู
เพื่อให้ เกิดการพัฒนาที่ยงั่ ยืน โดยเน้ นการมีสว่ นร่วมของภาคีการพัฒนา
1. ป่ าไม้ และความหลากหลายทางชีวภาพ
2. แหล่งน ้า
3. น ้าเสีย
4. ขยะ
5. ฝุ่ นละออง และอากาศเสีย
6. มลพิษอื่นๆ
 ด้ านความมั่นคง (เพิ่มเติมตามข้ อเสนอของสภาความมัน่ คงแห่งชาติ) : เน้ นการมีส่วน
ร่วมโดยชุมชนและท้ องถิ่น
1. ยาเสพติด
2. ความสมานฉันท์
3. ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
4. การปกป้องสถาบันฯ ฯลฯ
ข้ อเสนอการปรับปรุ งแผนพัฒนาจังหวัด
3. ปรั บแนวทางการจัดทาโครงการในลักษณะห่ วงโซ่ คุณค่ า (value
chain)
• มิติเศรษฐกิจ
• มิติสงั คม
• มิติสิ่งแวดล้ อม
4. เน้ นการบูรณาการโครงการระหว่ างภาคีการพัฒนา (ส่ วนกลาง ส่ วนภูมภิ าค
ส่ วนท้ องถิ่น ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม) โดยยึดหลัก AFP
5. เตรี ยมการปรั บแผนจังหวัดให้ สอดคล้ องกับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 และ
ยุทธศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่ วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
ข้ อเสนอการปรับปรุ งแผนปฏิบัตริ าชการประจาปี 2556
• ให้ ความสาคัญกับ มติ ก.น.จ.
- โครงการที่ไม่ควรดาเนินการ ได้ แก่ การก่อสร้ างถนน ซ่อมถนน ขุดลอกคูคลอง
ฝึ กอบรม หากจาเป็ นต้ องดาเนินการต้ องระบุเหตุผลที่ชดั เจน หรื อให้ เป็ นเพียง
กิจกรรมสนับสนุนโครงการ หรื อเพื่อแก้ ไขอุปสรรคของโครงการเท่านัน้
- การบริหารจัดการหลังเสร็จสิ ้นโครงการ หากเป็ นโครงการก่อสร้ างหรื อจัดซื ้อ
ครุภณ
ั ฑ์ จะต้ องมีหนังสือข้ อตกลงของหน่วยงานที่จะรับช่วงดูแลรักษาต่อไป
• เน้ นการบูรณาการโครงการระหว่างภาคส่วนต่างๆ
• ปรับปรุงตัวชี ้วัดโครงการให้ สะท้ อนผลการกาเนินงานและเชื่อมโยงกับตัวชี ้วัด
ยุทธศาสตร์
• การเสนอวงเงินควรยึดหลักเกณฑ์ของสานักงบประมาณ โดยมีการแสดง
รายละเอียดค่าใช้ จ่าย และใช้ ราคาต่อหน่วยที่สอดคล้ องกับอัตรากลาง
แนวทางการนาเสนอข้ อมูลและวิเคราะห์ สภาพแวดล้ อม
ตารางที่ 1 : โครงสรางกสิ
กรรม ของภาค
้
ตะวันออกเฉี ยงเหนือ
กิจกรรมการผลิต
2547
2548 2549 2550 2551 2552
พืช
80.3
39.7
5.1
10.3
2.5
11.9
7.8
78.3
42.2
4.2
5.0
2.8
13.5
8.2
ขาว
้
มันสาปะหลัง
ออยโรงงาน
้
ยางพารา
ปศุสัตว ์
ประมงและป่าไม้
เกษตร
76.7
38.4
6.4
6.1
3.2
15.3
8.0
76.9 75.8
37.2 35.3
7.2 6.3
7.1 9.2
3.5 3.8
15.5 16.7
7.6 7.5
73.9
30.8
5.3
8.2
4.3
18.1
8.0
100.0 100.0 100.0 100. 100. 100.0
0
0
Growth
(45-49)
1.0
0.02
13.3
6.3
15.2
6.8
-2.6
1.4
Growth
(50-52)
2.3
-3.6
-1.7
15.7
14.5
9.4
3.8
3.6
• ภาคเกษตรกรรมมี บ ทบาทส าคั ญ ในการเป็ นแหล่ งผลิ ต พื ช หลั ก ของประเทศ แต่
ประสิทธิภาพการผลิตต่า โดยพืชหลักของภาคได้ แก่ ข้ าว มันสาปะหลัง อ้ อยโรงงาน และยางพารา
ได้ ผลผลิตมากที่สดุ คิดเป็ นร้ อยละ 30.8 5.3 8.2 และ 4.3 ตามลาดับ โดยภาคเกษตร ในช่วง 3
ปี แรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 มีการขยายตัวเฉลี่ย ร้ อยละ 3.6 ต่อปี โดยกสิกรรมขยายตัวเฉลี่ย
ร้ อยละ 3.7 ต่อปี ปศุสตั ว์เฉลี่ย ร้ อยละ 9.4 และประมง เฉลี่ยร้ อยละ 0.4 ต่อปี
แนวทางการปรับปรุ งตัวชีว้ ัดความสาเร็จ
เป้าหมายรวม
ตัวชี ้วัดรวม
GPPรวม
เป้าหมาย
ยุทธศาสตร์
ตัวชี ้วัด
ยุทธศาสตร์
มูลค่าเพิ่ม
การผลิตข้ าว
เป้าหมาย
โครงการ
ตัวชี ้วัด
โครงการ
ผลผลิตต่อไร่
ของข้ าวหอม
มะลิ
1. ควรตอบสนองเป้าหมายการพัฒนาที่
เชื่อมโยงกันในแต่ละระดับ
2. ควรเป็ นตัวเลขเชิงปริ มาณ ที่นบั หน่วย
ได้
3. ให้ ความสาคัญของตัวชี ้วัดตามลาดับ
- ผลลัพท์ (outcome)
- ผลผลิต (output)
- ขันตอนการด
้
าเนินงาน
(process)
4. ควรมีข้อมูลค่าฐาน (benmark)
ของตัวชี ้วัดย้ อนหลังก่อนที่จะมี
โครงการ
5. กาหนดค่าที่เป็ นไปได้ จากค่าฐาน
ย. การยกระดับการผลิตภาคเกษตร
/ โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการปลูกข้ าวหอมมะลิ
แนวทางการปรับปรุ งตัวชีว้ ัดโครงการ/ยุทธศาสตร์
ตารางที่ 2 : ตัวชีว้ ด
ั และคาเป
่ ้ าหมายโครงการ
แนวคิดการพัฒนาห่ วงโซ่ คุณค่ า
(Value Chain)
การวิเคราะห์ แผนงานโครงการต้ องพิจารณาทุกขัน้ ตอนสาคัญตลอดกระบวนการ
(ตัง้ แต่ ต้นนา้ ถึงปลายนา้ ) เพื่อออกแบบแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (ตามกระบวนการ
ส่ งมอบคุณค่ า) ที่มีลักษณะบูรณาการ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการพัฒนาอย่ าง
แท้ จริง
ความต้ องการของผู้รับบริการ
และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย
มีการประยุกต์ ใช้
ปรั ชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงในการ
ประกอบอาชีพ
กระบวนการสร้ างคุณค่ า
มีกลไก
การบริหารจัดการ
เพื่อเพิ่มมูลค่ า
ความพึงพอใจของผู้รับบริการ
และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย
มีสินค้ าที่ได้ รับรอง
มีการวิจัย
มาตรฐานจาก
และพัฒนาการผลิต
หน่ วยงานสากล
ให้ มีคุณภาพ
การรวมกลุ่ม (Cluster) เพื่อสร้ างความเข้ มแข็งของอุตสาหกรรม
มีระบบตลาด
ที่ได้ รับพัฒนาให้
มีประสิทธิภาพ
การวางแผนห่วงโซ่การผลิต (ผ้ าไหม)
ต้ นน ้า
กลางน ้า
ความพึงพอใจของลูกค้ า
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต (ปั จจัยการผลิต : ทุน ที่ดิน นา้ วัตถุดิบ แรงงาน เทคโนโลยี)
การปลูก
หม่ อน
การเลีย้ งไหม
การสาวไหม
การย้ อม
การทอ
การ
ออกแบบ/
การตัดเย็บ
บรรจุภณ
ั ฑ์
การขนส่ ง
การตลาด/
ประชาสัมพันธ์
ชป/ทน/กษ
กษ
อก
อก
อก
อก
พณ
ขส
พณ/ปชส/ททท
สภาพ ผู้ผลิต พืน้ ที่
ปั จจุบัน
ข้ อมูลพืน้ ฐาน
กิจกรรม
ปลายน ้า
SWOT
ทิศทางพัฒนา
โครงการ/
กิจกรรม/
แนวทาง
วัตถุประสงค์ /
เป้าหมาย
ตัวชีว้ ัด :
ผลลัพท์ /
ผลผลิต/
กระบวนการ
งบประมาณ
ผู้รับผิดชอบ
การบูรณาการโครงการ โดยยึดหลัก AFP
(Area Function Participation)
พืน้ ที่/ภารกิจ
1.ประเด็นยุทธศาสตร์ .......
เหตุผลและความจาเป็ น
อาเภอ ....
ขาดแคลนแหล่งน ้า
หน่วยงาน/ภารกิจ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
กิจกรรม
พัฒนาแหล่งน ้า
อาเภอ .....
ผลผลิตต่า
พัฒนาเทคโนโลยีการผลิต
กลุม่ เป้าหมาย
เกษตรกรผู้ปลูกข้ าว 50
รายในพื ้นที่ อบต......
เกษตรกร 100 รายในพื ้นที่
อบต......
ผู้รับผิดชอบ/ภารกิจ
กรมชลประทาน/คลองส่ง
น ้าทรัพยากรน ้า/จัดหาน ้า
อบต.ท่อส่งน ้า
เกษตรและสหกรณ์จงั หวัด/
ส่งเสริ มเกษตรกร
สถาบันเทคโนโลยี/
พัฒนาผลิตภัณฑ์
สานักวิจยั เกษตร/พัฒนาพันธุ์
แนวทางการบูรณาการโครงการเชื่อมโยงระหว่ างประเทศ(ส่ วนกลาง) กลุ่มจังหวัด จังหวัด
โครงการของกระทรวง/กรม
ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 : การค้าชายแดน และความสัมพันธ์
กับประเทศเพือ่ นบ้าน
1. โครงการพัฒนาศักยภาพชุด ชรบ.
หมูบ
่ ้านตามแนวชายแดน
2. โครงการจัดตัง้ และฝึ กอบรมตารวจ
อาสารักษาหมูบ
่ ้านตามแนวชายแดน
ระดับ
ยุทธศาสตร์
จังหวัด
2. โครงการเสริมสร ้างความสัมพันธ์
อันดีกบ
ั ประเทศเพือ
่ นบ ้านทัง้ ระดับ
่ มวลชน
รัฐบาล ประชาชน และสือ
โครงการของกลุม
่ จ ังหว ัด
โครงการของกลุม
่ จ ังหว ัด
1. จ ัดทาเป็นคาของบประมาณกลุม
่
จ ังหว ัด
ทีข
่ อร ับการสน ับสนุนจากกระทรวง/
กรม
่ มโยงภาค
1.โครงการสร ้างทางรถไฟเชือ
และกลุม
่ จังหวัด
2.โครงการพัฒนาระบบศูนย์ตรวจปล่อย
รถบรรทุกสินค ้าขาออกให ้เป็ นทีส
่ าธารณะ
3.โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางด ้านการ
ลงทุนคลังสินค ้าทัณฑ์บนในประเทศ
เพือ
่ นบ ้าน
4.โครงการจัดตัง้ แหล่งทุน และการ
ให ้บริการด ้านการลงทุนในประเทศเพือ
่ น
บ ้านต่อผู ้ประกอบการในกลุม
่ จังหวัด
5....
1.โครงการพัฒนาเขตปลอดอากร (Duty
Free) ของกลุม
่ จังหวัด
2.โครงการพัฒนากิจกรรมทางด ้าน
การตลาดการค ้าชายแดน
3. โครงการผู ้ผลิตชุมชนกลุม
่ จังหวัดพบ
ผู ้ประกอบการอินโดจีน
4. โครงการ Roadshow ของดีมค
ี ณ
ุ ค่า
5.โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางด ้านการ
ลงทุนในประเทศเพือ
่ นบ ้าน
6.....
โครงการของจ ังหว ัดทีจ
่ ัดทาเป็น
คาของบประมาณของจ ังหว ัด
1.โครงการลงทุนในอุตสาหกรรมใน
ภาคอีสานตอนบน 11 จังหวัด
โครงการของกลุม
่ จ ังหว ัดทาใน
พท.จว.
2. จ ัดทาเป็นคาของบประมาณจ ังหว ัด
1. โครงการศึกษาการพัฒนา/
ปรับเปลีย
่ นรูปแบบการใช ้ศูนย์กระจาย
สินค ้า
2. โครงการจัดตัง้ ศูนย์ Export Center
3. โครงการจัดตัง้ Information
Center (Trade & Investment)
กลุ่มจังหวัด
พื้ นทีเ่ ป้าหมาย
ของยุทธศาสตร์
ประเทศ/
ส่วนกลาง
กลุ่มจังหวัด
โครงการของจ ังหว ัดทีข
่ อร ับการ
สน ับสนุนจากกระทรวง/กรม
1.โครงการประสานความร่วมมือด ้าน
การเกษตรระหว่างเมืองคูแ
่ ฝด
(มุกดาหาร-สะหวันเขต) ภายใต ้
กรอบ ACMECS
2.……
ประเทศ/ส่วนกลาง
จังหวัด
51
ร่ างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 11
วิสัยทัศน์
“สังคมอยูร่ ่วมกันอย่างมีความสุข ด้ วยความเสมอภาค เป็ นธรรม และมีภมู ิค้ มุ กันต่อ
การเปลี่ยนแปลง”
พันธกิจ พัฒนาประเทศให้ สอดคล้ องกับวิสยั ทัศน์ บนหลักการของปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง :
• สร้ างความเป็ นธรรมในการกระจายรายได้ ควบคูก่ บั การสร้ างสังคมคุณธรรม
• พัฒนาฐานการผลิตและบริการให้ เข้ มแข็งและมีเสถียรภาพบนฐานความรู้และการ
สร้ างสรรค์ สร้ างความมัน่ คงด้ านอาหารและพลังงาน และปรับโครงสร้ างสาขาการ
ผลิตและการบริโภคของประเทศให้ เป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้ อม
• สร้ างภูมิค้ มุ กันให้ เข้ มแข็งสามารถป้องกันและรองรับผลกระทบและความเสี่ยงจาก
วิกฤตเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ ้นในอนาคต พัฒนาคนให้ มีความรู้ และทักษะสามารถ
รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงอย่างมีเหตุผล
ร่ างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 11
ยุทธศาสตร์ ประเทศ
1. การสร้ างความเป็ นธรรมในสังคม
2. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาคนสู่สังคมแห่ งการ
เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่ างยั่งยืน
ประเด็นสาคัญของภาค ตอน.
การดูแลผู้ด้อยโอกาส เด็ก คนชรา
การเข้ าถึงบริ การของรัฐ และระบบสวัสดิการสังคม
การเงินชุมชน ที่ดินทากิน (การออกโฉนดชุมชน)
คุณภาพการศึกษา ทักษะฝี มือแรงงาน ยาเสพติด
แรงงานต่างด้ าว วัฒนธรรมประเพณี
3. ยุทธศาสตร์ การสร้ างความสมดุลและมั่นคง เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชอาหารและพลังงาน
และสร้ างความสมดุลของการผลิตและการบริ โภค
ของอาหารและพลังงาน
4. ยุทธศาสตร์ การสร้ างเศรษฐกิจฐานความรู้ เศรษฐกิจสร้ างสรรค์ การพัฒนาท่องเที่ยว
การพัฒนาโลจิสติกส์
และการสร้ างปั จจัยแวดล้ อม
ประตูการค้ า การลงทุน กับประเทศเพื่อนบ้ านและ
ประชาคมอาเซียน
6. ยุทธศาสตร์ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ป่ าไม้ ทรัพยากรน ้า ภัยพิบตั ิ
และสิ่งแวดล้ อมอย่ างยั่งยืน
5. ยุทธศาสตร์ การสร้ างความเชื่อมโยงกับ
เศรษฐกิจในภูมภิ าค
เศรษฐกิจสร้ างสรรค์
คือ แนวคิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจบนพืน้ ฐานของการใช้ องค์ ความรู้
(Knowledge) การศึกษา (Education) การสร้ างสรรค์งาน (Creativity) และการใช้ ทรัพย์สินทางปั ญญา
(Intellectual Property) ที่เชื่อมโยงกับพื ้นฐานทางวัฒนธรรม (Culture) การสัง่ สมความรู้ ของสังคม (Wisdom)
และเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่ (Technology and Innovation)
เศรษฐกิจสร้ างสรรค์
(Creative Economy):
ระบบเศรษฐกิจที่ใช้ ความคิด
สร้ างสรรค์ และนวัตกรรม
เพื่อสร้ างมูลค่ าเพิ่มให้ แก่
สินค้ าและบริการของตนเอง
ความคิดสร้ างสรรค์
(Creativity):
เป็ นการใช้ ความคิดทัง้ ใหม่
และเก่ าเพื่อสร้ างสิ่งใหม่ ให้
เกิดขึน้ โดยที่ความ
สร้ างสรรค์ มีรากฐานจาก
จินตนาการและความ
ชานาญเฉพาะของบุคคล
มรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ
(1) งานฝี มือ/หัตถกรรม (2) การแพทย์แผนไทย
(3) อาหารไทย
(4) การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
และความหลากหลายทางชีวภาพ
ศิลปะ
(1) ศิลปะการแสดง
(2) ทัศนศิลป์ (จิตรกรรม, ประติมากรรม, สถาปั ตยกรรม)
สื่อ
(1) ภาพยนตร์ และวีดีทศั น์ (2) การพิมพ์
(3) การกระจายเสียง
(4) ดนตรี
งานสร้ างสรรค์ และออกแบบ
(1) การออกแบบ (2) แฟชัน่
(3) สถาปั ตยกรรม (4) การโฆษณา (5) ซอฟต์แวร์
ขอบคุณครั บ