จัดทำแผน BCP โดย - สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่

Download Report

Transcript จัดทำแผน BCP โดย - สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่

Business Continuity Planning : BCP
แผนประคองกิจการภายในองค์กร
Dr. Rungreng Kitpati
Director of Bureau of Emerging Infectious Diseases,
Department of Disease Control , 13 October 2011
ประเด็นการนาเสนอ
1. ความหมาย แนวคิด และ ขัน
้ ตอนการ
จัดทาแผน BCP
2. BCP ในประเทศไทย และ ต่างประเทศ
3. BCP VS Human Influenza Research
4. What next ???
แผนประคองกิจการ
คืออะไร ?
แผนประคองกิจการ หรือ Business Continuity Plan (BCP)
แผนงานที่ จ ดั ท าขึ้ น อย่ า งเป็ นลายลัก ษณ์อ กั ษร โดยก าหนด
ขัน้ ตอนการดาเนินงาน เพื่อรองรับหรือเรียกคืนการดาเนินงานให้กลับสู่
ภาวะปกติ เพื่ อ สร้า งความมั่น ใจว่า การปฏิ บ ัติ ง านปกติ สามารถ
ดาเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง เมื่อมีเหตุการณ์ที่ทาให้การปฏิบตั ิงานปกติ
ต้องหยุ ด ชะงัก เช่น ภัยธรรมชาติ อัคคีภยั หรือ การเกิด โรคระบาด
ร้ายแรงฯลฯ
ทำไม? ต้องจัดทาแผนประคองกิจการภายในองค์กร
• จัดการหรือบรรเทาความรุนแรง จากเหตุการณ์/ภัย
• ลดผลกระทบต่างๆ เช่น การเงิน กฎหมาย ชือ่ เสียง และอืน่ ๆ
• การมีส่วนร่วมของผูบ้ ริหาร ในการกาหนดนโยบาย มาตรฐาน
และการทางานของให้กลับคืนสูภ่ าวะปกติอย่างรวดเร็ว
• องค์การสามารถปฏิบตั งิ านต่อไป โดยใช้ทรัพยากรทีม่ ีอยู่
• องค์ก รสามารถปรับแนวทางปฏิ บตั ิ ให้เ หมาะสมกับบทบาท
หน้าทีไ่ ด้
สาธารณภ ัย
ตามแผนป้องก ันภ ัยฝ่ายพลเรือนแห่งชาติ พ.ศ. 2550
ภ ัยธรรมชาติ
• อุทกภัย วาตภัย โคลนถล่ม
• ภัยแล ้ง
• แผ่นดินไหว อาคารถล่ม
• ไฟป่ า หมอกควัน
• อากาศหนาวจัด
• โรคระบาดในพืช
ั ว์
• โรคระบาดในสต
• ภัยร ้ายแรงจากโรคระบาดในคน
ึ ามิ
• ภัยสน
ภ ัยจากนา้ มือมนุษย์
• อัคคีภย
ั
• ภัยจากสารเคมีและวัตถุ
อันตราย
• อุบต
ั เิ หตุร ้ายแรง
• มาลาเรีย
• ไข ้เลือดออก
• ไข ้ปวดข ้อยุงลาย (chik.)
• ไข ้สมองอักเสบ
้
• โรคเท ้าชาง
• วัณโรค
• ไข ้รากสาด
• ไข ้รากสาดน ้อย
และไข ้รากสาดเทียม
• อาหารเป็ นพิษ
• ไข ้หวัดใหญ่สายพันธุใ์ หม่
• ไข ้สมองอักเสบ นิปาห์
• HFMD (EV71)
• ไข ้หวัดนก
• โรคซารส ์
• กาฬโรค
• ลิชมาเนีย
• อาวุธชวี ภาพ
• วัณโรคดือ
้ ยา
ื้ ต่างๆ
• อุจจาระร่วง จากเชอ
ื้ แบคทีเรียดือ
• เชอ
้ ยา
• โรคฉี่หนู (leptospirosis)
• ไข ้สมองอักเสบเวสต์ไนล์
• โรคติดต่อ อืน
่ ๆ
• โรคอุบต
ั ใิ หม่ อุบต
ั ซ
ิ ้า อืน
่ ๆ
ประสบการณ์การระบาดไข้หวัดใหญ่ 2009
Health
Commercial
Finance
Labour
Multi
Sectors
Education
Essential
service
Security
Other
การเตรียมความพร้อม
หน่วยงานทุกภาคส่วน
ภาครัฐ
ภาคเอกชน
คงกิจการได้
ให้บริการสังคม
อยู่รอดปลอดภัย
ภาคบริการพืน้ ฐาน
ความเสียหายน้อย
แนวคิดการประคองกิจการภายในองค์กร
ช่เฉพาะภาคธุรกิจ นะ ต้อง
• ก่อนระบาดใหญ่ เตรียมพร้อมไว้ ไม่มิทุปใกระมาท
องค์กร ทั้งภาครัฐ
 แต่ละบริษทั มีคนรูด้ ี สอนได้ ประสานได้
จัดการได้
รัฐวิสาหกิจ และเอกชนด้วย
 จัดทาแผนเหมาะสมกับองค์กร (แผน วิธีปฏิบตั )ิ
 เตรียมตัวได้ตามแผน (สอน/แนะนา เตรียมข้าวของ ระบบงาน ข้อมูล)
 ซักซ้อมแผนเป็ นระยะ
• เมื่อระบาดใหญ่ ไม่ตกใจ ทาได้ตามแผน
 คนทีไ่ ม่จาเป็ นต้องมาทีท่ างาน ให้ทางานทีบ่ า้ น ส่งงานทางโทรคมนาคม
ให้ผปู ้ ่ วยพักงาน จัดหาคนทางานแทน
 ช่วยเหลือเจ้าหน้าทีแ่ ละครอบครัวทีป่ ระสบภัย ได้อย่างเหมาะสม
 คงการ สือ่ สาร บริการแก่ลูกค้า ตามสถานการณ์
• หลังระบาดใหญ่ ฟื้ นตัวไว ไม่อบั จน
29 May 08
7 ขัน้ ตอนการประคองกิจการภายในองค์กร
ขัน้ ที่ 1
ทำควำมเข้ำใจใน
กิจกำรของท่ำน
ขัน้ ที่ 7
ฝึกซ้อมและปรับปร ุงแผน
ขัน้ ที่ 2
ค้นหำควำมเสี่ยง
ขัน้ ที่ 6
ขัน้ ที่ 3
ประชำสัมพันธ์แผน
ให้ผอ้ ู ื่นทรำบ
ลดผลกระทบจำก
ควำมเสี่ยง
ขัน้ ที่ 5
ขัน้ ที่ 4
ระบ ุมำตรกำรสำหรับ
ควำมเสี่ยงที่อำจเกิดขึ้น
เตรียมกำร
และปฏิบตั ิตำมแผน
1. ธนาคารแห่งประเทศไทย ได้ออกแนวปฏิบตั ิ
เรือ่ งการจัดทาแผนรองรับการดาเนินธุรกิจ
อย่างต่อเนื่อง (BCP) สาหรับกรณีการระบาด
ของโรคติดต่อร้ายแรง โดยบังคับใช้ตงั ้ แต่
วันที่ 4 สิงหาคม 2551 เพือ่ ให้ธนาคารต่างๆ
ได้ปฏิบตั ิ โดยเน้นการจัดระบบงานเพือ่ รองรับ
ภัยและฟื้นตัวได้เร็วหลังเกิดโรคระบาด
2. สมาคมธนาคารไทยร่วมสนับสนุนและผลักดัน
ให้มกี ารเตรียมการของภาคธนาคาร
3. ธนาคารทหารไทย เป็ นตัวอย่างทีร่ เิ ริม่ การ
จัดทาแผน BCP และเป็ นวิทยากรพีเ่ ลีย้ ง
ให้กบั ธนาคารอื่นๆ ด้วย
1. จัดอบรมให้หน่ วยงานในสังกัดจาก
ส่วนกลางและภูมิภาค
2. สนับสนุนและให้คาแนะนาการ
จัดทาแผนประคองกิจการในองค์กร
แก่หน่ วยงานต่างๆ
3. หน่ วยงานสังกัดกรมควบคุมโรคได้
จัดทาแผน BCP โดยระบุกิจกรรมที่
สาคัญและจาเป็ น พร้อมทัง้ วิธีการ
ปฏิบตั ิ งาน ปรากฏใน web site
สานักโรคติดต่ออุบตั ิ ใหม่
จัดทาแผน BCP โดย
1. จัดระบบงานทีส่ าคัญและจาเป็ น เมือ่
เกิดการระบาดใหญ่ โดยใช้
ประสบการณ์การเกิดโรคซาร์ส ไข้หวัด
นก ,ไข้หวัดใหญ่ และ โรคติดต่ออื่นๆ
2. จัดการหมุนเวียน กาลังสารองบุคลากร
3. ทบทวนการจัดระบบข้อมูลข่าวสาร
จัดการความรูก้ ารป้องกันการติดเชือ้
การสือ่ สารประชาสัมพันธ์ และการ
ประสานงาน โดยระบุทงั ้ กิจกรรมและ
แนวทางปฏิบตั งิ านอย่างชัดเจน
1. ในปี 2552 จัดทาแผน BCP โดยหน่ วยงาน
ทุกภาคส่วนในจังหวัด
2. ปรับใช้จาก 7 ขัน้ ตอนการจัดทาแผน
ประคองกิจการ กรมควบคุมโรค
3. แบ่งกลุ่มจัดทาแผนตามภารกิจ ได้แก่ สสจ./
รพ./ ปศุสตั ว์ / รัฐวิสาหกิจ/สสอ. / ศึกษา /
เอกชน และ ด่าน
4. สามารถระบุกิจกรรมที่สาคัญและจาเป็ น
และวิธีการปฏิบตั ิ เพื่อให้กิจกรรมนัน้
ดาเนินงานต่อไปได้
5. มีแผนการปรับปรุงให้ดีขึน้ ต่อไป
ตัวอย่างรัฐวิสาหกิจ : การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย
1. จัด ท าแผนด าเนิ นธุร กิ จ อย่ า งต่ อ เนื่ อง
ตัง้ แต่ ปี 2547 ควบคู่ไ ปกับ แผนเตรี ยม
ความพร้อม และร่วมจัดทาแนวทางการ
เตรี ย มความพร้ อ มภาคธุ ร กิ จรับ การ
ระบาดใหญ่ฯ ของกระทรวงสาธารณสุข
2. เน้ นการจัด การด้ า นวัต ถุดิ บ และการ
ขนส่ง ระบบการติดต่ อสื่อสารทัง้ ภายใน
และภายนอก และ ส่งเสริมการให้ความรู้
พนักงานและการปฏิบตั ิ งาน
3. ฝึ ก ซ้ อ ม แ ล ะ ป รั บ ป รุ ง แ ผ น อ ย่ า ง
สมา่ เสมอ
4. ถ่ า ยทอดแนวทางและคู่ มื อ ฯ ไปยั ง
หน่ วยงานภูมิภาคเพื่อปรับใช้
 ปี 2551-52 โรงไฟฟ้ าบางปะกงได้จดั ทาแผน
เตรียมความพร้อมและฝึกซ้อมระบบการสังการ
่
(ICS) รับการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ ที่
สอดคล้องกับส่วนกลาง โดยผูบ้ ริหารระดับสูง
สนับสนุนและเข้าร่วมการซ้อม
ปี 2552 ได้รเิ ริม่ วางแผนการจัดทาแผน BCP
ควบคู่กนั ไป
 ปี 2553 จัดทาแผน BCP โดยการปรับใช้
กระบวนการ 7 ขัน้ ตอนการประคองกิจการ
เนื่องจากเป็ นขัน้ ตอนทีเ่ ข้าใจง่าย จนได้แผนทีม่ ี
ความสมบูรณ์ครบถ้วนมากขึน้
กระทรวงแรงงาน ร่วมกับองค์กรแรงงานระหว่างประเทศ
(International Labour Organization : ILO)
1. ตัง้ แต่พบการระบาดของไข้หวัดนก กระทรวงแรงงานร่วมกับ ILO ได้
เตรียมความพร้อมในสถานประกอบการ กลุ่ม SME (ขนาดกลางและขนาด
ย่อม) โดยให้ความรู้ จัดระบบงานและสถานที่ ติดตามประเมินผลตามคู่มือ
และแบบสารวจ
2. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างภาครัฐ / สหภาพแรงงานและลูกจ้าง /
องค์กรนายจ้าง / เกษตรกร /สหประชาชาติ / องค์กรระหว่างประเทศ /
ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน /
ผูป้ ฏิบตั ิ งาน จาก 4 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว มาเลเซีย และ เวียดนาม
3. ปรับปรุงคู่มือการจัดทาแผน BCP ในสถานประกอบการ โดยปรับใช้จาก 7
ขัน้ ตอนการจัดแผนประคองกิจการ
แผนประคองกิจการ 7 ขัน้ ตอน
APEC SMEWG Pandemic Influenza Train the
Trainers Workshop
China - 8 June 2010
ASEAN Consultative Meeting on Promoting Business
Continuity Planning (BCP) within a Multi-sectoral
Pandemic Preparedness and Response (PPR)
Ha Noi , 6 - 7 July 2010
PUBLIC-PRIVATE MULTISECTORAL
COLLABORATION WORKSHOP AND TABLE-TOP EXERCISE
Jakarta , 13 – 15 September 2011
สงิ คโปร์ - กลไกจัดการในภาวะฉุกเฉินคือ Homefront Crisis Management
System (HCMS) เพือ
่ จัดทาแผนพัฒนาระดับชาติทต
ี่ อ
่ เนือ
่ ง
•ให ้บริษัทข ้ามชาติ ได ้จัดตัง้ ศูนย์ BCP ระหว่างประเทศ
ื่ สารทีม
ิ ธิภาพ
• พัฒนาด ้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ
่ ป
ี ระสท
ั ยภาพและทักษะด ้าน BCP
• พัฒนาบุคลากรให ้มีศก
• จัดทากฎระเบียบทีเ่ อือ
้ ต่อการจัดทา BCP ระหว่างประเทศ
ออสเตรเลีย - พัฒนาและเผยแพร่คม
ู่ อ
ื Building Resilience Through
Business Continuity And Pandemic Planning Workbook
ฟิ ลิปปิ นส ์ เตรียมความพร ้อมและวางแผนรับผลกระทบ แผน
BCP ยังไม่ได ้รับการพัฒนาและรวบรวมไว ้ด ้วยกัน จึงมุง่ เน ้นไปที่
แผน BCP ในอนาคต
ี กัมพูชา เวียตนาม – สว่ นใหญ่เป็ นแผนการเตรียมความพร ้อม แต่
มาเลเซย
้
พยายามสง่ เสริม/สนับสนุนการจัดทาแผน BCP/ฝึ กซอมในหน่
วยงาน
BCP VS Human Influenza Research
BCP
Preparedness
• เฝ้ าระวังโรค
• ป้ องกันควบคุมโรค
• จัดการความรู ้ :
งานวิจัย (Human
Influenza Research)
ื่ สารความเสย
ี่ ง
• สอ
Preparedness and Response
• การบริหารจัดการ
แบบบูรณาการ
ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย
่ น ว ันที่ 7 มิถน
(ผลประชุมหน่วยงานทุกภาคสว
ุ ายน 54)
• กลไกการข ับเคลือ
่ น BCP
– ภาครัฐ ยกร่ างเป็ นแผนยุทธศาสตร์ระดับประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ โดยทุกกระทรวงมีการกาหนดนโยบาย และฝึ กซ้อมแผนเป็ นระยะ
– ภาคร ัฐวิสาหกิจ จัดทาแผนจัดการบริ หารความเสี่ ยง/ตั้งศูนย์วกิ ฤต/จัดระบบงาน
การสื่ อสาร และจัดระบบประสานกับหน่วยงานภาครัฐ
– ภาคเอกชน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ กาหนดกฏหมาย ข้อมูลข่าวสาร ประสานงาน
จัดลาดับความสาคัญ
• แนวทางการขยายเครือข่ายและฝึ กอบรม BCP
– ภาครัฐ กระทรวงสาธารณสุ ข ควรเป็ นแกนหลักประสาน/วิเคราะห์ความเสี่ ยง/ขยาย
เครื อข่าย / จัดทาทะเบียนเครื อข่าย และรฝึ กอบรม
– ภาคร ัฐวิสาหกิจ จัดให้อยูใ่ นเครื อข่ายสุ ขภาพ ผลักดันให้เกิดวาระแห่งชาติ และ มี
คณะกรรมการระดับชาติรับผิดชอบ
– ภาคเอกชน เชื่อมต่อการขยายเครื อข่ายกับภาครัฐ
What next?
• พัฒนากลไกและ
ขยายเครือข่าย
BCP สูท่ ุกภาคส่วน
• ภาครัฐ
• รัฐวิสาหกิจ
• เอกชน
ภาครัฐ
ภาคเอกชน
ภาคบริการพืน้ ฐาน
Thank you