นำเสนอHPH

Download Report

Transcript นำเสนอHPH

โครงการสร้างเสริมสุขภาพ
เพือ่ ป้องกันอาการปวดหลังจากการทางาน
ของเจ้าหน้าที่ในทีมนาทางคลินกิ ศัลยกรรม
โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ์ิ
โดย CLT Surg
ปั ญหา
@ อาการปวดหลังส่วนล่างเป็ นปั ญหาด้านสุขภาพที่สาคัญและเป็ นปั ญหาที่พบบ่อย
ที่สดุ ของโรคระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่าง
@ สภาพการทางานที่เสีย่ งเนือ่ งจากต้องเคลือ่ นย้ายผูป้ ่ วยขึ้นลงเตียงบ่อยครัง้ เช่น
จากหอผูป้ ่ วยไปห้องผ่าตัด รับผูป้ ่ วยลงจากห้องผ่าตัด ส่งผูป้ ่ วยไปตรวจพิเศษ ยก
เครือ่ งมือผ่าตัด การช่วยแพทย์ ยืน นัง่ ผ่าตัดเป็ นเวลานาน เป็ นต้น
@ ปี พ.ศ.2553 มีเจ้าหน้าที่ในทีมนาทางคลินกิ ศัลยกรรมเข้ารับการรักษาด้วย
อาการปวดหลังและได้รบั การวินจิ ฉัยว่าเป็ นหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทจานวน
3 ราย ส่งผลกระทบต่อการปฏิบตั ิงานและคุณภาพชีวิตของเจ้าหน้าที่
2
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาความชุกและระดับความรุนแรงของอาการปวดหลังของเจ้าหน้าทีใ่ น
CLT Surg
2.เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปั จจัยด้านบุคคล ลักษณะงาน และสิง่ แวดล้อมในการ
ทางานกับอาการปวดหลังของเจ้าหน้าทีใ่ น CLT Surg
3.เพื่อคัดกรองเจ้าหน้าทีใ่ น CLT Surg ทีม่ ีอาการปวดหลังและส่งเข้ารับการ
ตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม
4.เพื่อให้เจ้าหน้าทีใ่ นทีมสุขภาพสามารถนาข้อมูลมาจัดลาดับความสาคัญและ
ดาเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพให้เหมาะสมกับสภาพการณ์จริงทีเ่ กิดขึ้นดด้
5.ลดอาการปวดหลังของเจ้าหน้าทีใ่ นทีมนาทางคลินิกศัลยกรรม
3
กลุ่มเป้าหมาย
เจ้าหน้าทีใ่ นทีมนาทางคลินิกศัลยกรรมจานวน
170
คน
4
ตัวชี้วดั และเป้าหมาย
ตัวชี้วดั
เป้ าหมาย
1.ความชุกและระดับความรุ นแรงของอาการ
ปวดหลัง
ทราบความชุกและระดับความรุ นแรงของอาการปวดหลังของ
เจ้าหน้าที่ ภายในเดือน กรกฎาคม 2553
2.ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอาการปวด
หลัง
ทราบความสัมพันธ์ของปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอาการปวดหลังภายใน
เดือน กรกฎาคม 2553
3.อัตราการคัดกรอง
-เจ้าหน้าที่ในทีมนาทางคลินิกศัลยกรรมได้รับการ
คัดกรองร้อยละ 90
-เจ้าหน้าที่ที่มีความเสี่ ยงต่อโรคกระดูกสันหลังทับเส้นประสาท
(Herniated disc) ได้รับการตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติมจากแพทย์ทุกคน
4.จานวนโครงการสร้างเสริ มสุขภาพที่เกิดจากการ
จัดลาดับความสาคัญของปัญหา
อย่างน้อย 1 โครงการ
5. อาการปวดหลังของเจ้าหน้าที่
- เจ้าหน้าที่มีระดับความรุ นแรงของอาการปวดหลังลดลง
- ไม่พบเจ้าหน้าที่ที่มีอาการปวดหลังที่เกี่ยวเนื่องจากการทางานราย
ใหม่จากการสารวจทุก 6 เดือน
5
แผนการดาเนินงาน
เดือน(ปี 2553) มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
ผูร้ ับผิดชอบ
กิจกรรม
1.เขียนโครงการ จัดตั้งทีมงาน ทาแบบสารวจและ
แบบสอบถาม
น.ท.เกรี ยงไกร
น.ต.หญิงจิรวรรณ
2. แจกแบบสารวจและแบบสอบถามให้กบั เจ้าหน้าที่
น.ต.หญิงจิรวรรณ
3.ประมวลผล
น.ต.หญิงจิรวรรณ
4.จัดลาดับความสาคัญของปัญหาและจัดทาแนวทางแก้ไข
CLT SURG
5. เสนอแนวทางแก้ไขแก่ผทู ้ ี่เกี่ยวข้อง ทาการแก้ไขตาม
แผนที่กาหนด
น.ท.เกรี ยงไกร
น.ต.หญิงจิรวรรณ
6. ประเมินผลโครงการ
น.ท.เกรี ยงไกร
น.ต.หญิงจิรวรรณ
7. ติดตามผลทุก 6 เดือน 2 ครั้ง โดยใช้แบบสารวจอาการ
ปวดหลัง
ม.ค.54 / มิ.ย. 54
น.ต.หญิงจิรวรรณ
6
ผลการดาเนินงาน
 ความชุ ก
อัตราความชุ กของโรค = จานวนผู้ป่วยทั้งหมดทีม่ อี ยู่ทจี่ ุดเวลาทีก่ าหนด x 100
ทีจ่ ุดเวลาทีก่ าหนด
จานวนประชากรทั้งหมดทีจ่ ุดเวลานั้น
หน่ วย = จานวนต่ อประชากร 100 คน ทีจ่ ุดเวลาทีก่ าหนด
อัตราความชุ กของอาการปวดหลังในรอบ 5 ปี ทีผ่ ่ านมา = 108 x 100
135
= 80 ต่ อประชากร 100 คน
7
ผลการดาเนินงาน
 ระดับความรุนแรงของอาการปวดหลัง
 หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย
= 4.6
 หอผู้ป่วยศัลยกรรมหญิง
= 4.9
 หอผู้ป่วยวิกฤต 4
= 4.8
ห้ องผ่ าตัดศัลยกรรม
=4
ห้ องตรวจโรคศัลยกรรม = 4.3
เฉลีย่ 4.5
8
ผลการดาเนินงาน
 เจ้าหน้าที่ตอบแบบสอบถามคัดกรองจานวน 135
เป็ นร้อยละ 80
แบ่งเป็ น 4 กลุ่ม
1. ผูท้ ่ีไม่มีอาการปวดหลัง 27 คน
2. ผูท้ ่ีเคยปวดหลังไม่มีอาการร่วม 34 คน
3. เคยปวดหลังและมีอาการร่วม 11 คน
4. ปั จจุบนั ปวดหลังไม่มีอาการร่วม 32 คน
5. ปั จจุบนั ปวดหลังมีอาการร่วม 31 คน
คน
คิด
9
ผลการดาเนินงาน
กลุ่มที่ปัจจุบนั ปวดหลังมีอาการร่วม 31 คน
- ได้รบั การตรวจเพิม่ เติมจากแพทย์ 22 คน
- ที่เหลือ 9 คนไม่มาเนือ่ งจากไม่ปวดหลังแล้ว
10
ผลการดาเนินงาน
กลุม่ ที่ปัจจุบนั ปวดหลังมีอาการร่วม 31 คน
ได้รบั การตรวจเพิม่ เติมจากแพทย์ 22 คน ผลการตรวจพบว่า
ตรวจร่างกายปกติ 2 คน
เป็ นโรคเดิม 2 คน
Imp : LBP, muscle pain 6 คน
Film เพิม่ 12 คน
ปกติ 6 คน
ผิดปกติ 6 คน
11
ผลการดาเนินงาน
ผูท้ ่ีพยาธิสภาพให้ยาตามอาการ เชือ่ มโยงกองเวชศาสตร์ฟ้ ื นฟูทา
PM&R และสอนกายบริหาร ให้แผ่นพับ
ติดตามอาการปวดหลังให้การดูแล 1 เดือนเจ้าหน้าที่มีอาการปวดดีข้ นึ
แผนภูมแิ สดงระด ับอำกำรปวดหลงั ของเจ้ำหน้ำที่
20
15
จำนวน 10
ก่อน
5
หลัง
0
ไม่ปวด
ปวดเล็กน้อย
ปวดปานกลาง
ปวดรุนแรง
ระดบั
12
กลุม่ ทีป่ ั จจุบนั ปวดหลังดม่มีอาการร่วม 32 คน

ให้คู่มือการปฏิบตั ิตนเมื่อเป็ นโรคปวดหลังส่ วนล่าง
13
กลุ่มทีเ่ หลือ
ผูท้ ่ีไม่มีอาการปวดหลัง 27 คน
ผูท้ ่ีเคยปวดหลังไม่มีอาการร่วม 34 คน
เคยปวดหลังและมีอาการร่วม 11 คน
เฝ้ าระวังและประเมินอาการปวดหลังทุก 6 เดือน เชือ่ มโยงกับกลุ่มงาน
เวชศาสตร์ฟ้ ื นฟูมาให้ความรูเ้ รือ่ งการทางานที่ถูกต้องตามหลักการยศาสตร์
14
ภาพกิจกรรม
15
ภาพกิจกรรม
16
17