Transcript 11

1
พระบรมราโชวาท
(เมื่อวันที่ ๒๕ สิ งหาคม พุทธศักราช ๒๕๔๒)
การควบคุมและตรวจสอบเงินแผ่ นดินเป็ นสิ่ ง
สาคัญและจาเป็ นเพราะเงินแผ่ นดินนั้นคือเงิน
ของประชาชนทั้งชาติ ผู้ทางานนีจ้ งึ ต้ องแน่ แก่
ใจอยู่เป็ นนิตย์ ทจี่ ะปฏิบัตหิ น้ าทีใ่ นความ
รับผิดชอบของตนด้ วยความอุสาหะพยายาม
2
ด้ วยความซื่ อสั ตย์ สุจริต และด้ วยความ
ละเอียดถี่ถ้วนระมัดระวังอย่ างเต็มทีเ่ พื่อมิให้
เกิดความพลั้งพลาดเสี ยหาย และให้ มั่นใจได้
ว่ าการใช้ จ่ายเงินของแผ่ นดินได้ เป็ นไปโดย
บริสุทธิ์ และบังเกิดผลประโยชน์ เต็มเม็ดเต็ม
หน่ วย
3
นายพิศิษฐ์ ลีลาวชิโรภาส
รองผู้ว่าการตรวจเงิน
แผ่ นดิน
รักษาราชการแทน
ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่ นดิน
4
การตรวจเงินแผ่ นดิน
(เรื่ อง การตรวจสอบของสานักงานการตรวจเงินแผ่ นดิน)
บรรยายโดย
คุณเกรียงไกร นิศากร
ผู้อานวยการกลุ่มตรวจสอบสื บสวนที่ ๓ สพส.๓
5
หัวข้ อการบรรยาย
1. สตง. ในยุคโลกาภิวฒ
ั น์
2. ข้ อสั งเกตจากการตรวจสอบของสานักงานการตรวจเงินแผ่ นดิน
2.1 การตรวจสอบบัญชีและการเงิน (การตรวจสอบการเงินทัว่ ไป/
การตรวจสอบงบการเงิน)
2.2 การตรวจสอบการบริหารงานพัสดุ/ทรัพย์ สิน (จัดซื้อจัดจ้ าง)
2.3 การตรวจสอบการจัดเก็บรายได้
2.4 การตรวจสอบการดาเนินงาน
2.5 การตรวจสอบสื บสวน
3. ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่ นดินว่ าด้ วยวินัยทางงบประมาณและการ
คลัง พ.ศ.2544
4. สาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางแก้ ไข
6
1. สตง. ในยุคโลกาภิวฒ
ั น์
 1.1
คณะกรรมการตรวจเงินแผ่ นดิน
 1.2 ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่ นดิน
 1.3 สานักงานการตรวจเงินแผ่ นดิน
7
1. สตง. ในยุคโลกาภิวฒ
ั น์ (องค์ กรการตรวจเงินแผ่ นดิน)
1.1 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่ นดิน (คตง.)
การได้ มา
ประธานวุฒิสภาจัดให้ มีคณะกรรมการสรรหา
ได้ รับความเห็นชอบจากสมาชิกวุฒิสภา
ประกอบด้ วยประธาน คตง. 1 คน กรรมการ 9 คน
วาระการดารงตาแหน่ ง 6 ปี เพียงวาระเดียว

1
2
3
4
8
1.1 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่ นดิน (คตง.) (ต่ อ)
1
2
3
4
5
6
7
อานาจหน้ าที่
วางนโยบายการตรวจเงินแผ่ นดิน
กาหนดหลักเกณฑ์ มาตรฐานเกีย่ วกับการตรวจเงินแผ่ นดิน
ให้คาแนะนาแก่ฝ่ายบริหารในการแก้ไขกฎหมาย ระเบียบหรือ
ข้อบังคับเกีย่ วกับการควบคุมการเงินของรัฐ
ออกระเบียบหรื อประกาศกาหนดมาตรฐานหรื อมาตรการเกีย่ วกับ
ระบบและการควบคุมการตรวจสอบ
เสนอแนะให้ หน่ วยรับตรวจแก้ไขข้ อบกพร่ องหรื อปฏิบตั ใิ ห้ ถูกต้ อง
ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้ อบังคับหรื อมติ ครม.
กากับและเป็ นองค์กรชีข้ าดสูงสุดว่าด้วยวินยั ทางงบประมาณและการคลัง
พิจารณาเลือกผู้สมควรดารงตาแหน่ งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่ นดิน
9
1.2 ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่ นดิน
การได้มา
1 ได้รับการคัดเลือกจาก คตง. เสนอสมาชิกวุฒิสภา
2 ได้รับความเห็นชอบจากสมาชิกวุฒิสภา
3 วาระการดารงตาแหน่ ง 5 ปี เพียงวาระเดียว
อานาจหน้ าที่
1 เป็ นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบการบริหารทั่วไปของ สตง.
2 เป็ นผู้แทน สตง. ในกิจการของ สตง. ที่เกีย่ วกับบุคคลภายนอก
3 รายงานผลการตรวจสอบต่ อ คตง./คณะกรรมการวินัยทาง
งบประมาณและการคลัง
10
1.3 สานักงานการตรวจเงินแผ่ นดิน (สตง.)
1 เป็ นหน่ วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญมีฐานะเป็ นกรม
2 อานาจหน้ าที่
2.1 ตรวจสอบการรับ-จ่ าย การเก็บรักษา การใช้ จ่ายเงินและ
ทรัพย์ สิน
2.2 การตรวจสอบบัญชีและรายงานการรับจ่ ายเงินงบแสดง
ฐานะการเงินแผ่ นดิน
2.3 ตรวจสอบบัญชีทุนสารองเงินตราประจาปี
2.4 ศึกษาและเสนอความเห็นเกีย่ วกับแผนงาน งาน โครงการ
2.5 การจัดเก็บภาษีอากร ค่ าธรรมเนียมและรายได้ อื่น
11
1.3 สานักงานการตรวจเงินแผ่ นดิน (สตง.) (ต่ อ)
3 การแจ้งผลการตรวจสอบ(โดยคตง.เป็ นผู้พจิ ารณาผลการตรวจสอบ)
3.1 บกพร่ องเนื่องจากไม่ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
และมติ ครม. แจ้ งหน่ วยรับตรวจให้ ชี้แจงแก้ ไขภายใน 60 วัน
กรณีหน่ วยรับตรวจไม่ ดาเนินการโดยไม่ มีเหตุอนั ควร แจ้ ง
กระทรวงเจ้ าสั งกัด หรื อผู้ควบคุมกากับดูแล
3.2 บกพร่ องเนื่ องจากไม่ มีข้อกาหนด แจ้ งกระทรวงเจ้ าสั งกัด
เพื่อกาหนดมาตรการและกระทรวงเจ้ าสั งกัดแจ้ งต่ อ คตง.
ภายในระยะเวลาที่กาหนด
3.3 พฤติการณ์ น่าเชื่ อว่ าทุจริตหรื อใช้ อานาจหน้ าที่โดยมิชอบ
12
1.3สานักงานการตรวจเงินแผ่ นดิน (สตง.) (ต่ อ)
4 การรายงานผลการปฏิบัติงานของ สตง.
4.1 รายงานผลงานประจาปี ต่ อสภาผู้แทนราษฎร/
วุฒิสภา/ครม.
4.2 รายงานผลงานระหว่ างปี ต่ อสภาผู้แทนราฏร/
วุฒิสภา/ครม.
13
วัตถุประสงค์ ของการตรวจสอบ
1 กฎหมาย
2 วัตถุประสงค์
3 ประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผล ประหยัด คุ้มค่ า
4 ความจริง : สุ จริต
หลักเกณฑ์ และวิธีการตรวจสอบ
1 กฎหมาย ระเบียบ ข้ อบังคับ มติ ครม
2 ตรวจสอบเอกสาร
3 สั งเกตการ
4 สั มภาษณ์ /สอบถาม
5 สอบปากคา
6 วิเคราะห์ ข้อมูล
14
อานาจหน้ าที่เกีย่ วกับการตรวจเงินแผ่ นดิน [มาตรา 39 (2)]
(ผลการตรวจสอบตามลักษณะงาน)
มีลกั ษณะการตรวจสอบ ดังนี้
1) ตรวจสอบการเงิน/การตรวจสอบการเงินทั่วไป
2) ตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้ าง
3) ตรวจสอบการดาเนินงาน
4) ตรวจสอบเกีย่ วกับการจัดเก็บภาษีอากร
5) ตรวจสอบสื บสวน
15
2 ข้ อสั งเกตจากการตรวจสอบของ สตง.
2.1 ข้ อสั งเกตจากการตรวจสอบด้ านการบัญชีและ
2.1.1 ด้ านการบัญชี
2.1.2 ด้ านการเงิน-ทั่วไป
2.1.3 ด้ านการรับเงิน
2.1.4 ด้ านการจ่ ายเงิน
การเงิน
16
2.1.1 ด้ านการบัญชี
1 การบันทึกบัญชีไม่ ถูกต้ อง
2 การบันทึกบัญชีไม่ เป็ นปัจจุบัน
3 การจัดทาบัญชีไม่ ครบถ้ วน
4 การบันทึกบัญชีโดยไม่ มีใบสาคัญคู่จ่าย/เอกสารที่เกีย่ วข้ อง
5 การบันทึกรายการไม่ ตรงกับหลักฐาน
6 ไม่ จัดทาใบโอน
7 การจัดทารายงานการเงินส่ งให้ สตง. ล่ าช้ า
17
2.1.1 ด้านการบัญชี (ต่ อ)
8 การจัดทารายละเอียดประกอบรายงานการเงิน
ไม่ ครบถ้ วน/ไม่ ถูกต้ อง
7 ข้ อสังเกตจากการวิเคราะห์ รายงานการเงินและ
รายละเอียดประกอบ
10 ไม่ จัดทารายงานเงินคงเหลือประจาวัน
11 งบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร
- จัดทาล่าช้ า ไม่ ได้จัดทา จัดทาไม่ ถูกต้ อง
12 จัดทางบเดือนใบสาคัญส่ ง สตง. ล่าช้ า
18
2.1.2 ด้านการเงิน-ทั่วไป
1 เงินขาดบัญชี/เกินบัญชี
2 ไม่ นาเงินเก็บรักษาไว้ในตู้นิรภัยของทางราชการ
3 กรรมการเก็บรักษาเงินไม่ ปฏิบัติหน้ าที่ตามคาสั่ง/ระเบียบ
4 เก็บรักษาเงินไว้เกินวงเงินที่ได้รับอนุญาต
5 เงินงบประมาณเบิกจากคลังจ่ ายล่าช้ า
6 เงินงบประมาณเบิกจากคลังยังไม่ ได้จ่ายหรื อจ่ ายไม่ หมด
ไม่ นาส่ งคืนคลังหลังครบกาหนดภายใน 15 วันทาการ
19
2.1.2 ด้ านการเงิน-ทั่วไป (ต่ อ)
7 เงินรายได้ แผ่ นดินนาส่ งคลังล่ าช้ า
8 ไม่ ได้ ตรวจสอบจานวนเงินที่ได้ รับกับสาเนา
ใบเสร็จรับเงิน
9 เงินรับฝากค้ างนานไม่ จ่ายคืน/ไม่ นาส่ ง
10 เช็คเขียนสั่ งจ่ ายไม่ ถูกต้ อง
20
2.1.3 ด้านการรับเงิน
1 รับเงินแล้ วไม่ ลงบัญชี โดยไม่ ออกใบเสร็จรับเงิน
หรื อออกแต่ ไม่ นาเงินเข้ าบัญชี
2 ลงบัญชีต่ากว่าหลักฐาน ยักยอกเงินที่เหลือ
3 ทาลายหลักฐานการรับเงิน แล้วไม่ นาเงินเข้ าบัญชี
4 เอาใบเสร็จรับเงินของปี ก่อนๆ ที่เหลือหรื อเลิกใช้ มาเขียนรับเงิน
5 ยกเลิกใบเสร็จรับเงิน แล้วยักยอกเงินที่รับมา
6 ไม่ มีเลขที่พมิ พ์ไว้ในใบเสร็จรับเงิน เมื่อรับเงินจึงเขียนเลขที่
ถ้ ารายไหนจะยักยอกก็จะฉีกสาเนาฉบับที่ติดกับเล่มทิง้
21
2.1.3 ด้านการรับเงิน (ต่ อ)
7 เขียนจานวนเงินในสาเนาฉบับที่ติดกับเล่ มต่ากว่ าต้ นฉบับ
8 แก้ไขตัวเลขในสาเนาฉบับติดกับเล่มต่ากว่าที่รับจริง
9 รับเงินแล้วไม่ นาส่ งหรื อนาส่ งล่าช้ า
10 เรียกเงินจากผู้มาติดต่ อโดยไม่ ชอบด้วยกฎหมาย
11แก้ไขตัวเลขในเช็คให้ สูงขึน้ แล้วนาไปขึน้ เงินธนาคาร
แล้วยักยอกเงินที่เกิน
12 รับเงินจากลูกหนีแ้ ล้วไม่ ลงบัญชี เมื่อค้างอยู่หลายปี
ขออนุมัติตัดบัญชีเป็ นหนีส้ ู ญ
22
2.1.4 ด้ านการจ่ ายเงิน
1 ลงรายการจ่ ายในบัญชีซ้า ยักยอกเงินที่จ่าย
2 ลงบัญชีจ่ายสู งกว่ าหลักฐาน ยักยอกเงินที่เกิน
3 ลงรายการจ่ ายโดยไม่ มีหลักฐาน
4 ทาหลักฐานเท็จเพื่อเบิกเงินจากทางราชการ
5 ทาหลักฐานนาเงินฝากธนาคารแล้ วลงจ่ ายในบัญชี
โดยไม่ มีการนาเงินไปฝากจริง หรื อนาฝากแต่ เพียงบางส่ วน
6 นาใบสาคัญปี เก่ าๆมาเบิกเงินซ้าอีก
7 แก้ ไขจานวนเงินในใบสาคัญคู่จ่ายให้ สูงขึน้ เพื่อยักยอกเงิน
ส่ วนที่เกิน
8 จ่ ายเงินให้ แก่ ผ้ มู ารับเงินโดยไม่ มีใบมอบฉันทะ
23
24
2.2 ข้ อสั งเกตจากการตรวจสอบการบริหารพัสดุ/ทรัพย์สิน-จัดซื้อจัดจ้ าง
2.2.1 ประเภทของการตรวจสอบเกีย่ วกับพัสดุ/ทรัพย์ สิน
2.2.2 ข้ อสั งเกตการณ์ ตรวจสอบจัดซื้อจัดจ้ าง
25
2.2 “ข้ อสั งเกตจากการตรวจสอบการบริหารงานพัสดุ/ทรัพย์ สิน”จัดซื้อจัดจ้ าง
2.2.1 ประเภทของการตรวจสอบเกีย่ วกับพัสดุ/ทรัพย์ สิน
2.2.1.1 การตรวจสอบการบริหารงานพัสดุจากการตรวจสอบบัญชี
1 การจัดทาทะเบียนคุมพัสดุ/การบันทึกรายการรับ-จ่ ายพัสดุ
2 การให้ รหัสประจาครุ ภณ
ั ฑ์
3 การจัดเก็บ ดูแล รักษาพัสดุ
4 การใช้ ประโยชน์
5 การตรวจสอบพัสดุประจาปี การรายงาน
6 พัสดุชารุ ด เสื่ อมสภาพ สู ญหาย
26
2.2.1 ประเภทของการตรวจสอบเกีย่ วกับพัสดุ/ทรัพย์ สิน (ต่ อ)
2.2.1.2 การตรวจสอบเอกสารการจัดซื้อจัดจ้ าง
1 แผนการจัดซื้อ/จัดจ้ าง
2 ใบอนุมัติเงินประจางวด
3 รายงานขอซื้อขอจ้ าง : การอนุมัติ
4 คาสั่ งแต่ งตั้งคณะกรรมการ
5 ประกาศสอบราคา/ประกวดราคา
6 หลักฐานการเผยแพร่ ข่าว การสอบราคา/ประกวดราคา
7 การพิจารณาของคณะกรรมการ
8 ใบสั่ งซื้อ/สั่ งจ้ าง สั ญญาซื้อ/จ้ าง
9 ใบส่ งมอบงาน/ใบส่ งของ
10 หลักฐานการตรวจรับ/ตรวจงาน
11 การอนุมัติการจ่ ายเงิน
12 ใบเสร็จรับเงิน
27
2.2.1 ประเภทของการตรวจสอบเกีย่ วกับพัสดุ/ทรัพย์สิน (ต่ อ)
2.2.1.3 การสังเกตการณ์ตามสัญญาซื้อ/จ้ าง
1 สังเกตการณ์การประกวดราคา
2 สังเกตการณ์การตรวจรับพัสดุ
3 สังเกตการณ์การก่อสร้ าง
4 การปฏิบัติหน้ าที่ของคณะกรรมการ
5 การปฏิบัติตามสัญญาซื้อ/จ้ าง
28
2.2.2 ข้อสังเกตจากการตรวจสอบจัดซื้อจัดจ้ าง
2.2.2.1 ข้ อสังเกตในการทารายงานขอซื้อขอจ้ าง
1 จัดทารายงานขอซื้อขอจ้ างไม่ เป็ นไปตามระเบียบ
2 ไม่ จัดทารายงานขอซื้อขอจ้ าง
29
2.2.2 ข้ อสั งเกตจากการตรวจสอบจัดซื้อจัดจ้ าง (ต่ อ)
2.2.2.2 ข้ อสั งเกตเกีย่ วกับการเผยแพร่ ข่าวการสอบ/ประกวดราคา
1 กาหนดเวลาขาย/ให้ เอกสาร สั้นกว่า
2
3
4
5
6
7
8
9
ทาเอกสารสอบ/ประกวดราคา ไว้ จานวน
ไม่ เพียงพอกับผู้ต้องการ
ไม่ ยอมขาย/ให้ เอกสารสอบ/ประกวดราคา
ซึ่งยังไม่ หมดระยะเวลา
ส่ งประกาศประกวดราคาไม่เผยแพร่ ไม่ทวั่ ถึง หรือไม่ส่ง
ส่ งประกาศประกวดราคาไปยังหน่ วยงานต่ างๆ
ไม่ เป็ นไปตามกาหนดเวลาที่ระเบียบกาหนด
ไม่ ปิดประกาศสอบ/ประกวดราคา ณ ที่ทาการ/
ปิ ดแต่ น้อยกว่ าระยะเวลาที่กาหนด
มีการปลอมเอกสารการส่ งประกาศประกวดราคา
กาหนดเงื่อนไขในประกาศสอบราคา/
ประกวดราคาไม่ ครบถ้ วน
มีการสมยอมกันในการเสนอราคา
30
2.2.2 ข้อสังเกตจากการตรวจสอบจัดซื้อจัดจ้าง (ต่อ)
2.2.2.3 ข้อสังเกตเกีย่ วกับการรับซอง เปิ ดซอง และพิจารณาผล
(เจ้าหน้าทีผ่ ้รู ับผิดชอบ และคณะกรรมการปฏิบัติหน้ าที่ไม่ เป็ นไปตาม
ระเบียบ)
1 หมดเวลารับซองแล้ วยังมีการรับซอง
2 เปิ ดซองประกวดราคาก่ อนถึงเวลาที่กาหนด
3 ไม่ต่อรองราคา : ผู้เสนอราคาเสนอราคาสู งกว่า
วงเงินทีซ่ ื้อ-จ้ าง
4 ไม่ ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคาว่ าเป็ นไปตามเงื่อนไข
31
2.2.2 ข้ อสั งเกตจากการตรวจสอบจัดซื้อจัดจ้ าง (ต่ อ)
2.2.2.4 ข้ อสั งเกตในการทาสั ญญา/ข้ อตกลง
1 สั ญญาไม่ เป็ นไปตามตัวอย่ างแนบท้ ายระเบียบ
2 สั ญญาไม่ ระบุรายละเอียดของปริมาณงานทีจ่ ้ าง
3 เงื่อนไขในสั ญญาไม่ ตรงกับทีร่ ะบุไว้ ในประกาศสอบ/
ประกวดราคา
4 ติดอากรแสตมป์ ไม่ เป็ นไปตามประมวลรัษฎากร
5 การจ้ างทาของตั้งแต่ 200,000 บาท ไม่ ชาระอากรเป็ นตัวเงิน
ภายในกาหนดเวลาตามประมวลรัษฎากร
6 ไม่ ส่งสาเนาสั ญญา/ข้ อตกลงตั้งแต่ 1 ล้ านบาท ให้ สตง.
และ สรรพากร ภายใน 30 วัน นับจากวันลงนาม
หรื อส่ งให้ แต่ ล่าช้ ากว่ าทีก่ าหนด
32
2.2.2 ข้อสังเกตจากการตรวจสอบจัดซื้อจัดจ้าง (ต่อ)
2.2.2.5 ข้อสังเกตในการตรวจรับ การควบคุมงาน และการตรวจงานจ้าง
(คณะกรรมการ/ผู้ควบคุมงาน ปฏิบตั หิ น้าทีบ่ กพร่ อง)
1 ผู้ควบคุมงาน ไม่ ทารายงานการควบคุมงาน
2 ตรวจรับงานทั้งๆ ที่งานยังไม่ แล้วเสร็จตามสัญญา
3 ตรวจรับพัสดุ ทั้งๆที่ไม่ มีพสั ดุให้ ตรวจรับ
4 ทาใบตรวจรับเป็ นเท็จ
5 ลงนามในใบตรวจรับโดยไม่ได้ตรวจนับพัสดุ/ตรวจงานจ้าง
33
2.2.2 ข้ อสั งเกตจากการตรวจสอบจัดซื้อจัดจ้ าง (ต่ อ)
2.2.2.6 ข้ อสั งเกตในการซื้อ/จ้ าง
1 ซื้อพัสดุเกินความจาเป็ น
2 แบ่ งซื้อ/แบ่ งจ้ าง
3 ซื้อครุ ภณ
ั ฑ์ เกินราคามาตรฐาน
4 ซื้อครุ ภณ
ั ฑ์ โดยกาหนดคุณลักษณะ
เฉพาะเจาะจงเพื่อต้ องการ
ให้ ได้ สินค้ ายีห่ ้ อที่พงึ ประสงค์
34
2.2.2 ข้ อสั งเกตจากการตรวจสอบจัดซื้อจัดจ้ าง (ต่ อ)
2.2.2.7
1
2
3
4
ข้ อสั งเกตในการเบิกจ่ ายเงินเกีย่ วเนื่องจากการจัดซื้อ/จ้ าง
เบิกจ่ ายเงินให้ เจ้ าหนีล้ ่ าช้ า
เบิกเงินสดเกิน 5,000 บาท มาชาระหนีใ้ ห้ เจ้ าหนี้
เขียนเช็คสั่ งจ่ ายเงินไม่ รัดกุม
เบิกผิดหมวดรายจ่ าย
35
2.2.2 ข้ อสั งเกตจากการตรวจสอบจัดซื้อจัดจ้ าง (ต่ อ)
2.2.2.8 ข้ อสั งเกตในการควบคุมพัสดุ (การควบคุมพัสดุไม่ รัดกุม)
1 ทาบัญชีวสั ดุ/ทะเบียนครุ ภณ
ั ฑ์ ไม่ ถูกต้ องครบถ้ วน
และไม่ เป็ นปัจจุบัน
2 ไม่ ให้ หมายเลขประจาตัวครุ ภณ
ั ฑ์
3 มีวสั ดุขาด เกิน บัญชี
4 การเก็บรักษาพัสดุ ไม่ เป็ นระเบียบ
5 ครุ ภณ
ั ฑ์ สูญหาย/ชารุ ด ไม่ ดาเนินการตามระเบียบ
6 ไม่ แต่ งตั้งเจ้ าหน้ าทีต่ รวจสอบพัสดุประจาปี
7 ผู้ได้ รับแต่ งตั้งไม่ ปฏิบัติหน้ าที/่ ปฏิบัติหน้ าทีไ่ ม่ ครบถ้ วน
8 ไม่ จัดทารายงานการตรวจสอบพัสดุประจาปี
36
2.3 ข้ อสังเกตจากการตรวจสอบการจัดเก็บรายได้
1 จัดเก็บรายได้ประเภทค่าธรรมเนียม ภาษีเงินได้
และอากรแสตมป์ ต่าไป/สู งไป/ไม่ เป็ นไปตามประมาณการ
2 รายได้ค้างชาระและค้างนานเป็ นจานวนมาก
3 ไม่ จัดทาแบบแผนที่/จัดทาไม่ เป็ นปัจจุบัน
37
2.4 ข้ อสังเกตจากการตรวจสอบดาเนินงาน
1 การดาเนินงานไม่มปี ระสิทธิภาพ ประสิทธิผล ประหยัดและคุ้มค่า
2 การดาเนินงานโครงการไม่ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้
3 การดาเนินงานไม่ เป็ นไปตามภารกิจหลักที่กาหนดไว้ใน พรบ.
4 ผลการดาเนินงานล่าช้ า
5 ไม่ มีหน่ วยงานทาหน้ าที่ติดตามประเมินผลโดยตรง
38
1
2
3
4
5
6
2.5 ข้ อสั งเกตจากการตรวจสอบสื บสวน
เรื่ องที่จะรับไว้ เพื่อพิจารณาตรวจสอบสื บสวน
เรื่ องที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรื อคณะรัฐมนตรี
ขอความร่ วมมือให้ ตรวจสอบ
เรื่ องที่ผ้ วู ่ าการสั่ งการให้ ตรวจสอบเป็ นกรณีพเิ ศษ
เรื่ องที่มีผ้ รู ้ องเรียนเป็ นหนังสื อลงลายมือชื่ อ บัตรสนเท่ ห์
หรื อทางสื่ ออิเล็กทรอนิกส์
เรื่ องที่มีผ้ รู ้ องเรียนโดยวาจา
เรื่ องที่ทราบจากการตรวจสอบลักษณะงานอื่น
เรื่ องที่ทราบจากข่ าวหนังสื อพิมพ์
39
2.5 “ข้ อสั งเกตจากการตรวจสอบสื บสวน” (ต่ อ)
ผลของการตรวจสอบสื บสวน
1 ส่ งเรื่ องให้ พนักงานสอบสวนดาเนินคดี
2 ส่ งเรื่ องให้ สานักงานคณะกรรมการป้ องกัน
และปราบปรามการทุจริตแห่ งชาติ (ปปช.)
3 ส่ งเรื่ องให้ หน่ วยรับตรวจดาเนินการทางวินัย
4 ส่ งเรื่ องให้ สตง. ดาเนินการเกีย่ วกับวินัย
ทางงบประมาณและการคลัง
5 ยุติเรื่ อง
40
ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่ นดิน
ว่ าด้ วยวินัยทางงบประมาณและ
การคลัง
พ.ศ. ๒๕๔๔
41
บทอาศัยอานาจ
ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่ นดิน ว่าด้ วย
-วินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ. ๒๕๔๔ และ
-วิธีพจิ ารณาความผิดวินัยฯ พ.ศ. ๒๕๔๔
กาหนดขึน้ โดยอาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๕
และมาตรา ๑๙ แห่ งพระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญ
ว่ าด้ วยการตรวจเงินแผ่ นดิน พ.ศ.๒๕๔๒
42
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช ๒๕๔๐
การตรวจเงินแผ่นดินให้กระทาโดย
คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน และ
ผูว้ ่าการตรวจเงินแผ่นดิน
(มาตรา 312)
43
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช ๒๕๔๐
อานาจหน้าที่ของ คตง. ได้แก่
 การวางนโยบาย ..............
 การกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีพิจารณาในเรือ่ ง
วินยั ทางงบประมาณและการคลัง
 การกาหนดโทษปรับทางปกครอง
 การพิจารณาวินิจฉัยความผิดทางงบประมาณ
และการคลัง ในฐานะที่เป็นองค์กรสูงส ุด
44
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
การตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๒
คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินมีอานาจหน้าที่
การวางนโยบายการตรวจเงินแผ่นดิน
การกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีพิจารณาในเรือ่ ง
วินยั ทางงบประมาณและการคลัง
การกาหนดโทษปรับทางปกครอง
การพิจารณาวินิจฉัยความผิดทางวินยั ทาง
งบประมาณและการคลัง ในฐานะที่เป็นองค์กร
สูงส ุด(ม.15)
45
5
คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินมีอานาจหน้าที่ (ต่อ)
การจัดให้มีสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
ที่เป็นอิสระ (มาตรา 333)
กากับและเป็นองค์กรชี้ขาดสูงส ุดใน
กระบวนการทางวินยั ทางงบประมาณและ
การคลัง
แต่งตัง้ กรรมการวินยั ทางงบประมาณ
และการคลัง (ม.15)
46
6
คณะกรรมการวินยั ทางงบประมาณ
และการคลัง มีอานาจหน้าที่
พิจารณาและกาหนดโทษปรับทางปกครอง
เบื้องต้น แก่เจ้าหน้าที่หรือพนักงานของหน่วย
รับตรวจ ที่ฝ่าฝืนมาตรการเกี่ยวกับการควบค ุม
การเงินของรัฐ ที่คณะกรรมการกาหนด
47
7
มาตรการเกี่ยวกับการควบค ุมการเงินของรัฐ
มีสาระสาคัญ ดังนี้
(1) ข้อกาหนดใดที่การฝ่าฝืนจะมีโทษทางวินยั ฯ
(2) เจ้าหน้าที่ตาแหน่งใดหรือรับผิดชอบโดยตรง
ในเรือ่ งใด ๆ ที่จะเป็นผูต้ อ้ งรับผิดทางวินยั ฯ
(3) อัตราโทษปรับทางปกครอง
(ม.19)
48
8
คณะกรรมการวินยั ทางงบประมาณ
และการคลัง (ควง.)
กาหนดโทษปรับทางปกครองเบื้องต้น โดยคานึงถึง

ระดับความรับผิดชอบของตาแหน่ง

ความสาคัญของมาตรการควบค ุมการเงินของรัฐ

ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับราชการ
เจตนาของผูก
้ ระทาผิด
(ม.19)
49
9
ให้ คำวินิจฉัยลงโทษทำงวินัยของ คตง.
มีผลทำงกฎหมำยเช่ นเดียวกับคำสั่งลงโทษ
ตัดเงินเดือนที่ส่ ังโดยผู้บงั คับบัญชำของ
หน่ วยรับตรวจ
คตง. จะนำคำวินิจฉัยลงโทษทำงวินัย
งบประมำณและกำรคลังประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำด้ วยก็ได้ เพื่อปรำมผู้ละเมิดวินัย
โดยทั่วไป
(ม.24)
50
10
กำรวินิจฉัยลงโทษทำงวินัยทำง
งบประมำณและกำรคลัง ไม่ เป็ นกำร
ตัดอำนำจของผู้บังคับบัญชำของผู้ถกู
ลงโทษ ที่จะพิจำรณำลงโทษทำงวินัย
เพรำะเหตุเดียวกันนีอ้ ีก แต่ ต้องเป็ นโทษ
สถำนอื่น ซึ่งมิใช่ เป็ นโทษตัดเงินเดือน
หรือลดขัน้ เงินเดือน
(ม.25)
51
11
บทกาหนดโทษ
อัตราโทษปรับทางปกครองมี 4 ชัน้
โทษชัน้ ที่ 1 โทษปรับไม่เกินเงินเดือน 1 เดือน
โทษชัน้ ที่ 2 โทษปรับเท่ากับเงินเดือน 2 – 4 เดือน
โทษชัน้ ที่ 3 โทษปรับเท่ากับเงินเดือน 5 – 8 เดือน
โทษชัน้ ที่ 4 โทษปรับเท่ากับเงินเดือน 9 – 1 เดือน
52
15
เหต ุยกเว้นโทษ
ถ้าทาผิดเพราะต้องทาตามคาสัง่
ผูบ้ งั คับบัญชา และพิสจู น์ได้ว่า
ได้โต้แย้งหรือคัดค้านคาสัง่ นัน้ แล้ว
53
20
อาย ุความ
ขาดอาย ุความ ถ้ามิได้
ดาเนินกระบวนพิจารณาความผิด
ภายใน 5 ปี นับแต่วนั ทาผิด
54
21
กรณีความผิดทางวินัยงบประมาณและการคลัง
- การกระทาความผิดที่ต้องรับโทษทางปกครองต้ องครบองค์ประกอบและต้ อง
จงใจฝ่ าฝื นข้ อกาหนดโดยจะต้ องพิจารณาข้ อเท็จจริงตามพยานหลักฐานและ
เป็ นดุลพินิจในการวินิจฉัยชี้ขาดของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
ตัวอย่ างเฉพาะความผิดเกีย่ วกับการรับเงิน
- เจ้ าหน้ าที่การเงินรับเงินค่ าธรรมเนียมแล้ วไม่ ออกใบเสร็จรั บเงินให้ ผู้
ชาระแต่ ได้ จัดทาเอกสารระบุเงินที่ชาระโดยผู้บังคับบัญชารู้ ว่าเจ้ าหน้ าที่
กระทาความผิดแต่ ปล่ อยปละละเลยไม่ ได้ ดาเนินการถือว่ าเป็ นผู้ร่วมกระทา
ผิดด้ วย
55
องค์ ประกอบความผิด
1. เป็ นเจ้ าหน้ าที่
2. มีหน้ าทีจ่ ัดเก็บเงินหรื อรับชาระเงิน
3. รับชาระเงิน
4. ไม่ ทาหลักฐาน / ไม่ ออกหลักฐานหรื อใบเสร็จรับเงินให้ แก่ ผู้ชาระเงิน
5. จงใจ
- โทษปรับทางปกครอง ชั้น 1 ปรับไม่ เกิน 1 เดือน
- เป็ นผู้บงั คับบัญชา กระทาหรื อร่ วมกระทาความผิด โทษปรับทางปกครองชั้น 2 :
ปรับเงินเดือน 2 - 4 เดือน
56
ตัวอย่ างเฉพาะความผิดเกีย่ วกับจ่ ายเงิน
- เจ้ าหน้ าที่การเงินมีหน้ าที่จ่ายเงินได้ จ่ายเงินค่ าเวนคืนที่ดินให้ แก่นายไถ่ จานวน
1.3 ล้านบาทแต่ ทาหลักฐานว่ าจ่ ายไป 2.3 ล้านบาท ถือว่ าทาหลักฐานเท็จ
ต้ องโทษปรับทางปกครองชั้นที่ 3 แต่ ถ้าเบียดบังเอาเงินนั้นไปถือว่ าเกิดความ
เสี ยหายแก่รัฐแต่ หากเจ้ าหน้ าที่ได้ กระทาไปต้ องรับโทษปรับทางปกครองชั้นที่ 4
องค์ ประกอบความผิด
1. เป็ นเจ้ าหน้ าที่
2. กระทาหรื อร่ วมกระทาความผิด
3. เป็ นเหตุให้ เกิดความเสี ยหายแก่ รัฐ
- โทษปรับทางปกครอง ชั้นที่ 4 : ปรับเงินเดือน 9-12 เดือน
57
ตัวอย่ างเฉพาะความผิดเกีย่ วกับการก่ อหนีผ้ ูกพันกับการ
บริหารงบประมาณผัน
- รองหัวหน้ าส่ วนราชการมีหน้ าที่จัดการเกีย่ วกับเงินงบประมาณได้
ลงนามในสั ญญาจ้ างเหมาก่ อสร้ างอาคารที่ทาการสานักงานวงเงิน 180
ล้ านบาท ก่ อนได้ รับอนุมตั เิ งินประจางวดโดยไม่ ได้ รับมอบอานาจจาก
หัวหน้ าส่ วนราชการเป็ นการก่ อหนีผ้ ูกพันไปก่ อนได้ รับอนุมตั เิ งิน
ประจางวดโดยปราศจากอานาจตามพระราชบัญญัตวิ ธิ ีการ
งบประมาณ พ.ศ. 2502 ต้ องโทษปรับทางปกครองชั้นที่ 3
58
องค์ ประกอบความผิด
1. เป็ นเจ้ าหน้ าที่
2. มีหน้ าทีจ่ ัดเก็บเกีย่ วกับเงินงบประมาณ
3. จ่ ายเงิน / ก่ อหนีผ้ ูกพันก่ อนทีจ่ ะได้ รับอนุมัตเิ งินประจางวดหรื อจานวน / ก่ อ
หนีผ้ ูกพันโดยไม่ มีงบประมาณกาหนด
4. ปราศจากอานาจ / นอกเหนืออานาจ
5. จงใจ
โทษปรับทางปกครอง ชั้นที่ 3 : ปรับเงินเดือน 5 - 8 เดือน
59
ตัวอย่ างเฉพาะความผิดเกีย่ วกับการจัดเก็บ
รายได้
- เจ้ าหน้ าที่สรรพากรมีหน้ าที่จัดเก็บภาษีอากรได้ ตรวจพบว่ านาย ค.
มิได้ ยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ ประจาปี แต่ เพิกเฉยจนระยะเวลา
ล่ วงเลยมาถึง 5 ปี เรื่ องของนาย ค. ก็ยงั วางอยู่บนโต๊ ะถือว่ าละเลยไม่
เร่ งรัดจัดเก็บภาษีต้องโทษปรับทางปกครอง ชั้นที่ 2
60
องค์ ประกอบความผิด
1. เป็ นเจ้ าหน้ าที่
2. มีหน้ าทีจ่ ัดเก็บหรื อเรียกเก็บภาษีอากรหรื อค่ าธรรมเนียมหรื อรายได้ อื่น
3. ละเลยไม่ จัดเก็บหรื อไม่ เร่ งรัดจัดเก็บภาษีอากร ค่ าธรรมเนียมรายได้ อื่น
4. ภายในระยะเวลาที่กฎหมายหรื อระเบียบกาหนด
5. จงใจ
- โทษปรับทางปกครอง ชั้นที่ 2 ปรับเงินเดือน
2 - 4 เดือน
61
ตัวอย่างเฉพาะความผิดเกีย่ วกับเงินยืม
- หัวหน้ าส่ วนราชการมีหน้ าทีอ่ นุมตั ิเงินยืมได้ อนุมตั ิให้ จ่ายเงินยืมแก่ เจ้ าหน้ าทีท่ เี่ ดินทางไปราชการต่ างจังหวัด
โดยไม่ มสี ั ญญาการยืมเงินมีแต่ บนั ทึกยืมเงินระบุจานวนเงินยืมเท่ านั้นซึ่งไม่ ชอบด้ วยระเบียบการเบิกจ่ ายเงิน
จากคลัง พ.ศ. 2502 ต่ อมาบันทึกยืมเงินหายเจ้ าหน้ าทีป่ ฏิเสธการยืมถือว่ าผู้บงั คับบัญชาอนุมตั ิให้ ยืมเงินไม่
ชอบด้ วยกฎหมายเป็ นเหตุให้ เกิดความเสี ยหายแก่ รัฐต้ องโทษปรับทางปกครองชั้นที่ 3
องค์ ประกอบความผิด
1. เป็ นผู้บงั คับบัญชาหรื อเจ้ าหน้ าที่
2. มีอานาจหน้ าทีอ่ นุมตั ิเกีย่ วกับเงินยืม
3. อนุมตั ิ ให้ ยืมเงินหรื อจ่ ายเงินยืม
4. ไม่ ถูกต้ องตามกฎหมาย / ระเบียบ
5. เป็ นเหตุให้ เกิดความเสี ยหายแก่ รัฐ
6. จงใจ
- โทษปรับทางปกครองชั้นที่ 3 : ปรับเงินเดือน 5 - 8 เดือน
62
ตัวอย่ างเฉพาะกรณีความผิดเกีย่ วกับการพัสดุ
- เจ้ าหน้ าที่พสั ดุจัดทาเอกสารสอบราคาได้ กาหนดคุณลักษณะเฉพาะ
ของพัสดุที่ต้องการซื้ อที่มีจาหน่ ายโดยบริ ษัท A ซึ่ งเป็ นกิจการของ
คนต่ างด้ าวทั้งที่พัสดุดังกล่ าวไม่ จาเป็ นต้ องมีคุณลักษณะเช่ นนั้นแต่
บริษัท A มาติดต่ อให้ ผลประโยชน์ ทาให้ ทางราชการต้ องซื้ อของแพง
กว่ าที่ควรจะเป็ นถือว่ าเป็ นการปฏิบัตไิ ม่ ชอบด้ วยระเบียบกีดกันผู้ขาย
ที่เป็ นคนไทยและเอื้อประโยชน์ ให้ แก่ บริ ษัท A ทาให้ รัฐเสี ยหาย
ต้ องโทษปรับทางปกครองชั้นที่4
63
องค์ ประกอบความผิด
1. เป็ นเจ้ าหน้ าที่
2. มีหน้ าทีก่ าหนดราคากลาง/คุณสมบัตผิ ู้เสนอราคา/จัดทารายละเอียดหรื อคุณ
ลักษณะเฉพาะ
3. ปฏิบตั /ิ ละเว้ นการปฏิบัตโิ ดยมิชอบ
4. กีดกันหรื อเอือ้ ประโยชน์ แก่ ผู้มีอาชีพหรื อรับจ้ าง
5. เป็ นเหตุให้ เกิดความเสี ยหายแก่ รัฐ
6. จงใจ
- โทษปรับทางปกครอง ชั้นที่ 4 : ปรับเงินเดือน 9 -12 เดือน
64
หลักการจัดหาพัสดุ
65
หลักการจัดหาพัสดุ
ความคุ้มค่ าในการใช้ จ่ายเงิน
(Value for Money)
 ความโปร่ งใส
(Transparency)
 ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
(Efficiency and Effectiveness)
 ความรั บผิดชอบต่ อผลสาเร็ จของงาน
(Accountability)

66
หลักการจัดหาพัสดุ
• ปฏิบัตติ ามขัน้ ตอนของระเบียบจนได้ รับ
อนุมัตจิ ากผู้มีอานาจแล้ วจึงไปทาสัญญาหรือ
ข้ อตกลง
• ต้ องมีการบันทึกหลักฐานในการดาเนิน การ
พร้ อมทั ง้ เหตุ ผ ลในการพิ จ ารณาสั่ งการใน
ขัน้ ตอนที่สาคัญไว้ เพื่อประกอบการพิจารณา
67




ประกาศคณะกรรมการตรวจเงินแผ่ นดิน
เรื่ อง การจัดทาแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้ าง พ.ศ.2546 ข้ อ 4 ให้ หน่ วยรับตรวจทีม่ ี
การจัดซื้อจัดจ้ างโดยใช้ เงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ เงินรายได้ เงินกู้หรื อ
เงินอุดหนุน จัดทาแผนปฏิบัตกิ ารจัดซื้อจัดจ้ างตามหลักเกณฑ์ ดังนี้
(1) หน่ วยรับตรวจตามข้ อ 3 (1) ได้ แก่กรม และส่ วนราชการทีเ่ รียกชื่ ออย่าง
อื่นที่มีฐานะเป็ นกรม ซึ่งสั งกัดหรื อไม่ สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรื อ
ทบวง สาหรับครุ ภัณฑ์ ทมี่ รี าคาเกิน 100,000 บาท และทีด่ นิ สิ่ งก่อสร้ างทีม่ ีราคา
เกิน 2 ล้านบาท
ข้ อ 5 ให้ ผ้ รู ับตรวจเป็ นผู้รับผิดชอบในการจัดทาแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้ างตาม
แบบแนบท้ ายประกาศนี้ โดยจัดทาให้ แล้วเสร็จภายในวันที่ 15 ตุลาคม ของทุกปี
และส่ งสาเนาให้ สตง.และสตภ.แล้วแต่ กรณีจานวน 1 ชุ ดอย่ างช้ าภายใน 31 ต.ค.
ของทุกปี เว้ นแต่ การจัดซื้อจัดจ้ างโดยใช้ เงินกู้ให้ จัดทาแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้ าง
ให้ แล้วเสร็จและส่ งสาเนาให้ สตง.และสตภ.แล้ วแต่ กรณี จานวน 1 ชุ ด ภายใน 30
วันนับแต่ วนั ทีไ่ ด้ รับอนุมตั ิ เงินกู้
68
การจัดหาพัสดุ
 ห้ ามมิให้ กระทาการแบ่ งซือ
้ แบ่ งจ้ าง
 หลักเกณฑ์

ลดวงเงินที่จะซือ้ หรื อจ้ างในครั ง้ เดียวกัน
เพื่อ
 ให้ วงเงินต่ากว่ าที่กาหนด
 ให้ อานาจสั่งซือ
้ สั่งจ้ างเปลี่ยนไป
69
แนวทางการพิจารณาเรื่ องแบ่ งซือ้ แบ่ งจ้ าง
70
 วิธีซื้อและวิธีจ้าง มี 6 วิธีดงั นี้
1.วิธีตกลงราคา วงเงินไม่ เกิน 100,000 บาท
 2.วิธีสอบราคา วงเงินเกิน100,000บาทแต่ ไม่ เกิน 2,000,000 บาท
 3. วิธีประกวดราคา วงเงินเกิน 2,000,000 บาท
 4. วิธีพเิ ศษ วงเงินครั้ งหนึ่งเกิน 100,000 บาท
 5. วิธีกรณี พิเศษ วงเงิน – บาท
 6. วิธีการประมูลด้ วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ มีวงเงินตั้งแต่
2,000,000 บาทขึน้ ไป

71
อานาจการสั่ งซื้ อหรื อสั่ งจ้ างครั้ งหนึ่ง

(นอกจากวิธีพเิ ศษและวิธีกรณีพเิ ศษ)
 1. หัวหน้ าส่ วนราชการไม่ เกิน 50 ล้ านบาท
 2. ปลัดกระทรวงเกิน 50 ล้ านบาท แต่ ไม่ เกิน 100
ล้านบาท
 3. รั ฐมนตรี เจ้ าสั งกัดเกิน 100 ล้ านบาท
72
ระเบียบสานักนายกรั ฐมนตรี ว่าด้ วย
การพัสดุ พ.ศ.2535 และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม
ข้ อ 22 วรรคสอง กาหนดไว้ว่า การแบ่ งซื้อหรื อ
แบ่ งจ้ างโดยลดวงเงินที่จะซื้อหรื อจ้ างในครั้ง
เดียวกันเพื่อให้ วงเงินตา่ กว่ าที่กาหนดโดยวิธี
หนึ่งวิธีใด หรื อเพื่อให้ อานาจสั่ งซื้ อสั่ งจ้ าง
เปลีย่ นไป จะกระทามิได้
73
แนวทางการพิจารณาเรื่ องแบ่ งซือ้ แบ่ งจ้ าง
 วงเงินที่ได้ รับมาพร้ อมกันหรื อไม่
 พัสดุท่ จ
ี ะจัดหาเป็ นประเภทเดียวกัน
หรือไม่
 พิจารณาจากความต้ องการของผู้ใช้ พส
ั ดุว่า
ต้ องการใช้ พร้ อมกันหรื อไม่
74
การแบ่ งซือ้ แบ่ งจ้ าง

การจัดซือ้ พัสดุประเภทชนิดเดียวกัน แม้ ต่างขนาดและ
ราคา เมื่อมีการประมาณการความต้ องการในการใช้
งานของทัง้ ปี แล้ ว จะต้ องจัดซือ้ รวมในครั ง้ เดียวกัน เว้ น
แต่ มีเหตุผลที่ชัดเจนที่จาเป็ นต้ องแยกซือ้ ที่ไม่ ใช่ เป็ น
การแบ่ งซือ้ แบ่ งจ้ าง เพื่อประโยชน์ ในการบริ หารการ
พัสดุ จะต้ องกาหนดเงื่อนไขในการดาเนิ นการจั ดซือ้
โดยใช้ สั ญ ญาจะซื อ้ จะขายแบบราคาคงที่ ไ ม่ จ ากั ด
ปริ มาณ เพื่อออกใบสั่งซือ้ เป็ นคราว ๆให้ สอดคล้ องกับ
การใช้ งานจริง
75
การแบ่ งซื้อ/การแบ่ งจ้ าง[ที่ นร 0901/5568 ลว.9 พ.ย.26]
การแบ่ ง ซื้ อ หรื อ แบ่ ง จ้ า งโดยลดวงเงิ น ที่ จ ะซื้ อ /จ้ า งในครั้ ง เดีย วกัน
เพื่อให้ วงเงินต่ากว่ าที่กาหนดโดยวิธีหนึ่งวิธีใดหรื อเพื่อให้ อานาจสั่ งซื้อ/สั่ ง
จ้ างเปลีย่ นไปจะกระทามิได้ (ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยการพัสดุ
พ.ศ.2535และแก้ ไขเพิม่ เติม) การซื้อหรื อการจ้ างครั้งหนึ่ง หมายถึง
1. การซื้อ/การจ้ างที่มลี กั ษณะพัสดุประเภทเดียวกัน
2. มีความต้ องการใช้ ระยะเวลาเดียวกัน
3. และควรจัดหาในคราวเดียวกัน
76




-กรณีการซื้อ พัสดุประเภทเดียวกันหมายถึง การแยกประเภทตาม การจาแนกประเภท
รายจ่ ายตามหมวดรายจ่ ายตามงบประมาณเช่ น
วัสดุสานักงาน
 1.กระดาษ 2.หมึก 3.ดินสอ 4.ปากกา 5.ไม้ บรรทัดฯ
ครุภัณฑ์ สานักงาน
 1. เก้ าอี้ 2.โต๊ ะ 3.ม้ านั่ง 4.เครื่ องดูดฝุ่ น 5.เครื่ องคานวณฯ
-กรณีการจ้ างก่อสร้ างทีม่ ีลกั ษณะเดียวกันหมายถึงการแยกประเภทงานก่ อสร้ าง
ของกรมโยธาธิการและผังเมือง เช่ น
 1.งานอาคาร
5.งานประปา
 2.งานทาง
6.งานไฟฟ้ าและเครื่ องกล
 3.งานสะพานและงานท่ อเหลีย
่ ม 7.งานทางระบายนา้
 4.งานชลประทาน
8.งานระบบนา้ เสี ย
77
การกาหนด Spec
78
 ระเบียบสานักนายกรั ฐมนตรี ว่าการพัสดุ พ.ศ.2535
และแก้ ไขเพิม่ เติม

ข้ อ 15 ทวิ การจัดหาพัสดุตามข้ อบัญญัตนิ ี้ ผู้มีหน้ าที่รับผิดชอบ
ในแต่ ละขั้นตอนของการจัดหา ต้ องดาเนินการโดยเปิ ดเผย
โปร่ งใส และเปิ ดโอกาสให้ มีการแข่ งขันราคาอย่ างเป็ นธรรมฯ

ในการดาเนินการแต่ ละขั้นตอน ผู้มีหน้ าทีร่ ับผิดชอบต้ องมีการ
บันทึกหลักฐานในการดาเนินการ พร้ อมทั้งต้ องระบุเหตุผลใน
การพิจารณาสั่ งการในขั้นตอนทีส่ าคัญไว้ เพื่อประกอบการ
พิจารณาด้ วย
79
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยการพัสดุ
พ.ศ.2535และที่แก้ ไขเพิม่ เติม
ข้ อ 16 ให้ หน่ วยราชการใช้ พสั ดุทผี่ ลิตในประเทศ
หรื อกิจการของคนไทยตามหลักเกณฑ์ ดังนี้
(1) ห้ ามกาหนดรายละเอียดหรื อคุณลักษณะเฉพาะ
ซึ่งอาจมีผลกีดกันไม่ ให้ ผ้ ูผลิตหรื อผู้ขายพัสดุทผี่ ลิดใน
ประเทศ หรื อเป็ นกิจการของคนไทยสามารถเข้ าแข่ งขันกัน
ในการเสนอราคากับทางราชการ
80
การกาหนด SPEC : ใครกาหนด
2535
 หน่ วยงานที่จัดหา
 หน่ วยงานผู้ใช้ พส
ั ดุ
 2549
 คณะกรรมการ TOR

81
การกาหนด spec : กาหนดอย่ างไร
กาหนดตามความต้ องการของหน่ วยงานผู้ใช้ พสั ดุ
 ต้ องไม่ เป็ นการกีดกันทางการค้ า
 ต้ องคานึงถึงการแข่ งขันราคาที่มีผ้ ูเสนอราคาได้ หลาย
ราย
 กรณีท่ จ
ี าเป็ นต้ องกาหนดคุณลักษณะเฉพาะที่เป็ นการ
เจาะจงเนื่องจากมีความจาเป็ นต้ องใช้ งาน ใช้ วิธีพเิ ษษ

82
การกาหนด Spec
 ห้ า มก าหนดรายละเอี ย ดหรื อ คุ ณ ลั ก ษณะเฉพาะ
ของพั ส ดุ ท่ ี จ ะซื อ้ ให้ ใ กล้ เ คี ย งกั บ ยี่ ห้ อ ใดยี่ ห้ อ หนึ่ ง
หรื อของผู้ขายรายใดรายหนึ่งโดยเฉพาะ
 ห้ ามระบุย่ ห
ี ้ อสิ่งของที่ต้องการจะซือ้ ทุกชนิด
ที่สร 0203/ว.52 ล.ว. 28 มี.ค.2520
ด่ วนมาก ที่ สร 1001/223 ล.ว. 19 มี.ค.2520
 ที่ สร 0203/ว.157 ล.ว. 27 ธ.ค.2519


83
การกาหนดคุณลักษณะเฉพาะ
ขึน้ อยู่กับความต้ องการของหน่ วยงานที่จดั หา ทัง้ ความ
ต้ องการของหน่ วยงานหรื อผู้ใช้ พสั ดุ ซึ่งการกาหนด
คุณลักษณะเฉพาะนัน้ ต้ องไม่ เป็ นการกีดกันทางการค้ า
และต้ องคานึงถึงการแข่ งขันราคาที่มีผ้ ูเสนอราคาได้
หลายราย
 กรณีท่ จ
ี าเป็ นต้ องกาหนดคุณลักษณะเฉพาะที่เป็ นการ
เจาะจงเนื่องจากมีความจาเป็ นต้ องใช้ งาน ใช้ วิธีพเิ ษษ

84
คอมพิวเตอร์

การกาหนดให้ คอมพิวเตอร์ ต้องใช้ ระบบปฏิบัติการ
(Operating System) เป็ น Microsoft XP Home
เป็ นการกาหนดเฉพาะเจาะจงเลือกสินค้ าแทนการ
กาหนดคุณสมบัตขิ องผลิตภัณฑ์ และเป็ นการกีดกัน
ผลิตภัณฑ์ ท่ ผี ลิตในประเทษ หรื อไม่
85
คอมพิวเตอร์ (ต่ อ)

การกาหนดคุณลักษณะให้ ใช้ ซอฟแวร์ Microsoft XP Home
 ใช้ กันอย่ างแพร่ หลาย ใช้ งานง่ ายเหมาะสมกับการใช้ งานของสถานษึกษา
 มีผ้ ูท่ จ
ี ะแนะนาแก้ ไขปั ญหาได้ ง่าย
 โปรแกรมประยุกต์ (Applications) ที่ใช้ สอนนักเรี ยนในโรงเรี ยนส่ วนใหญ่ ทั่ว
ประเทษสามารถใช้ งานได้ บนระบบปฏิบัตกิ าร Microsoft
 โปรแกรมประยุกต์ (Applications) ไม่ สามารถใช้ งานระบบปฏิบัตท
ิ ่ เี ป็ น Open
Source ได้
 โครงการใช้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ท่ ต
ี ดิ ตัง้ ระบบปฏิบัตกิ ารที่เป็ น Open Source จะ
ก่ อให้ เกิดปั ญหากับโรงเรี ยนเป็ นอย่ างมาก เนื่องจากต้ องเปลี่ยน
ระบบปฏิบัตกิ ารที่เป็ น Open Source มาเป็ น Microsoft ก่ อน จึงจะใช้ งานได้
และจะทาให้ เกิดค่ าใช้ จ่ายขึน้ ภายหลังการจัดซือ้
86
การกาหนดคุณลักษณะเฉพาะของครุ ภัณฑ์






ความต้ องการในการใช้ งาน
พิจารณาถึงคุณสมบัตดิ ้ านเทคนิคเป็ นสาคัญ
มีผ้ ูเข้ าเสนอราคาแข่ งขันกันได้ เป็ นจานวนหลายรายแล้ ว
ทาให้ เกิดการแข่ งขันในระหว่ างผู้เข้ าเสนอราคาทั่วไปได้
ไม่ ถือว่ าเป็ นการกาหนดโดยเฉพาะเจาะจงเพื่อเอือ้ ประโยชน์ แก่ ผ้ ูค้า ราย
ใดรายหนึ่งเป็ นการเฉพาะ
ไม่ เป็ นการขัดต่ อมติคณะรั ฐมนตรี แจ้ งตามหนังสือสานักเลขาธิการ
คณะรั ฐมนตรี ที่ สร ๐๒๐๓/ว ๑๕๗ ลงวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๑๙ ที่
กาหนดหลักเกณฑ์ ห้ามมิให้ ส่วนราชการกาหนดคุณลักษณะเฉพาะ ของ
สิ่งของที่จะซือ้ ให้ ใกล้ เคียงกับยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง หรื อของผู้ขาย รายใด
รายหนึ่งโดยเฉพาะ
87
การใช้ พัสดุท่ ผี ลิตในประเทษ

มติคณะรัฐมนตรี 29 พ.ค. 2550 ให้ ยกเลิกมติ ดังนี ้
1.1 วันที่ 13 มีนาคม 2544 (ว 51) เรื่อง การนาเข้ าพัสดุ
จากต่ างประเทษ และการจ้ างที่ปรึกษาต่ างประเทษ
1.2 วันที่ 12 มิถุนายน 2544 (ว 116) เรื่อง การซักซ้ อม
ความเข้ าใจมติคณะรั ฐมนตรี ตาม 1.1
1.3 วันที่ 22 ตุลาคม 2544 ( ว 212) เรื่ อง หลักเกณฑ์
การใช้ พัสดุท่ ผี ลิตในประเทษและการจ้ างที่ปรึกษาไทย
88
การจัดหาพัสดุท่ มี ีผลิตในประเทษ
มีให้ ใช้ อย่ างเคร่ งครั ด
 ถ้ าไม่ มี ..... ให้ จัดหาตามหลักเกณฑ์ ปกติ
 มี

แต่ ไม่ เพียงพอ
 มีน้อยราย
 จาเป็ นต้ องใช้ ของนอก
 จาเป็ นต้ องนาเข้ า
 ในกรณีท่ เี ป็ นประโยชน์ ย่ ง
ิ กว่ า ให้ เสนอรั ฐมนตรี

89
พัสดุท่ นี าเข้ าจากต่ างประเทษ


เป็ นความรั บผิดชอบของหัวหน้ าหน่ วยงานของรั ฐ
หลักเกณฑ์


เป็ นการจัดหาอะไหล่ ซึ่งมีความจาเป็ นต้ องระบุย่ หี ้ อ หรื อ
คุณลักษณะเฉพาะ และจาเป็ นต้ องนาเข้ าจากต่ างประเทษ
เป็ นการจัดหาครั ง้ หนึ่งที่มีวงเงินไม่ เกิน ๒ ล้ านบาท หรื อราคาพัสดุ
ที่นาเข้ าจากต่ างประเทษมีราคาต่ อหน่ วยไม่ เกิน ๒ ล้ านบาท
90
การใช้ พัสดุท่ ผี ลิตในประเทษ : ว 83

การใช้ พัสดุท่ ผี ลิตจากต่ างประเทษ หรื อนาเข้ าจาก
ต่ างประเทษ หมายถึง การใช้ หรื อนาเข้ าพัสดุท่ ผี ลิต
สาเร็จรู ปแล้ วจากต่ างประเทษไม่ ว่านาเข้ าโดยคู่สัญญา
หรื อบุคคลอื่นใด

หนังสือสานักเลขาธิการคณะรั ฐมนตรี ที่
นร ๐๕๐๕/ว 83 ลงวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๐
91
การจัดหาพัสดุ
ให้ ใช้ พสั ดุท่ ผี ลิตในประเทษและกิจการของคนไทย
 ให้ สนับสนุ นสินค้ าไทย
 มาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุสาหกรรม (มอก.)
 มาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุสาหกรรม (มอก.) + ISO
 ที่ได้ จดทะเบียนรั บรองผลิตภัณฑ์

92
การกาหนดคุณลักษณะเฉพาะ : งานก่ อสร้ าง
 โครงการก่ อสร้ าง
 แบบรู ปรายการก่ อสร้ าง
 บัญชีแสดงประมาณงานและรายการก่ อสร้ าง
(BOQ)
 ราคากลาง
93
ความหมาย : งานก่อสร้าง
หมายความรวมถึง
๑. งานเคลื่อนย้ายอาคาร
๒. งานดัดแปลง งานต่อเติม งานรือ้ ถอนและงาน
ซ่อมแซมซึ่งส่วนราชการเห็นว่ามีความจาเป็ นจะต้องมี
การควบคุมและดูแลการปฏิบตั ิ งานของผูร้ บั จ้าง
ตลอดเวลาดาเนินการตามความเหมาะสม
(ว 1939 ลว 24 ก.พ.2537)
94
งานก่ อสร้ าง
งานปรับปรุ งอาคารที่เป็ นการปรั บปรุ งภายในอาคาร
ไม่ กระทบต่ อโครงสร้ างเดิม โดยการรื อ้ ผนังเดิมกัน้
ใหม่ เป็ นกระจกกัน้ ห้ องประชุม ย้ ายดวงไฟ ย้ าย
เครื่ องปรั บอากาษ ติดตัง้ มู่ล่ ีกนั ้ ปรั บแสง กัน้ เป็ น
Partition ปูกระเบือ้ งยาง ปรั บปรุ งห้ องประชุม
ห้ องสมุด ถือเป็ นงานดัดแปลง
 หากจาเป็ นต้ องมีการควบคุมดูแลการปฏิบต
ั ิงานของ
ผู้รับจ้ างตลอดเวลา จึงถือเป็ นงานก่ อสร้ าง

95
ความหมาย : ราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ
ราคาค่าก่อสร้างในงานก่อสร้างของทางราชการในแต่ละ
โครงการ ซึ่งได้จากการประเมินหรือคานวณตามหลักเกณฑ์
ที่คณะรัฐมนตรีกาหนด ราคากลางงานก่อสร้างของทาง
ราชการจึงไม่ใช่ราคามาตรฐานของงานก่อสร้าง แต่เป็ น
ราคาที่ทางราชการยอมรับไม่สงู จนผูป้ ระกอบการได้กาไร
มากเกินกว่าที่ควรได้รบั และเป็ นราคาที่ไม่ตา่ จน
ผูป้ ระกอบการไม่สามารถที่จะดาเนินการก่อสร้างได้
96
เอกสารประกวดราคา auction
ซือ้











จ้ าง
เอกสารแนบท้ าย
คุณสมบัตขิ องผู้เสนอราคา
หลักฐานการเสนอราคา
การเสนอราคา
หลักประกันซอง
หลักเกณฑ์ และสิทธิในการพิจารณาราคา
การทาสัญญา
อัตราค่ าปรับ
การรับประกันความชารุ ดบกพร่ อง
การจ่ ายเงินล่ วงหน้ า
ข้ อสงวนสิทธิในการเสนอราคาและอื่น ๆ





ค่ าจ้ างและการจ่ ายเงิน
การหักเงินประกันผลงาน
การปรับราคาค่ างานก่ อสร้ าง
มาตรฐานฝี มือช่ าง
การปฏิบัตติ ามกฎหมายและระเบียบ
97
เอกสารประกวดราคา




ใช้ ตามแบบที่ กวพ. กวพ.อ. กาหนด
ใช้ ตามแบบที่ผ่านการตรวจสอบจากสานักงานอัยการสูงสุด
ว 124 ลว 9 เม.ย. 2550 ..... ต้ องกาหนดวันเสนอราคา auction
ว 302 ลว 21 ก.ค. 2549 ..... ให้ เพิ่มหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขการยึด
หลักประกันซอง
98
คุณสมบัตผิ ้ ูเสนอราคา

คุณสมบัตทิ ่ วั ไป
- เป็ นผู้มีอาชีพขายพัสดุ / รั บจ้ างงาน ตามที่ประกาษ
- ไม่ เป็ นผู้ถูกแจ้ งเวียนชื่อผู้ทงิ ้ งานของทางราชการ หรื อห้ ามติดต่ อหรื อ
ห้ ามเข้ าเสนอราคากับทางราชการ
- ไม่ เป็ นผู้ท่ มี ีผลประโยชน์ ร่วมกันกับผู้เสนอราคารายอื่น ณ วันประกาษ
หรื อไม่ เป็ นผู้มีการกระทาอันเป็ นการขัดขวางการแข่ งขันราคาอย่ างเป็ น
ธรรม
- ไม่ เป็ นผู้ได้ รับเอกสิทธิ์หรื อความคุ้มกันซึ่งอาจปฏิเสธไม่ ยอมขึน
้ ษาลไทย
เว้ นแต่ รัฐบาลของผู้เสนอราคาได้ มีคาสั่งให้ สละสิทธิ์และความคุ้มกัน
- ** ผ่ านการคัดเลือกผู้มีคุณสมบัตเิ บือ
้ งต้ นในการซือ้ การจ้ าง
99
คุณสมบัตผิ ้ ูเสนอราคา : งานก่ อสร้ าง

คุณสมบัตพ
ิ เิ ษษ
- ผ่ านการคัดเลือกผู้มีคุณสมบัตเิ บือ
้ งต้ น
(** เลือกตามความจาเป็ น)
- เป็ นนิตบิ ุคคลและมีผลงานก่ อสร้ างประเภทเดียวกัน
กับงานที่จ้างในวงเงินไม่ เกินร้ อยละ 50 ของวงเงิน
งบประมาณหรือประมาณการ
(** เลือกตามความจาเป็ น)
( นร (กวพ) 1305 / ว 7914 ลว 22 กันยายน 2543)
100
ข้ อเสนอด้ านเทคนิค






รู ปแบบ คุณลักษณะ คุณสมบัตทิ างเคมีหรื อฟิ สิกส์
ส่ วนประกอบอื่นในตัวพัสดุ
หนังสือมอบอานาจ ต้ องปิ ดอากรแสตมป์
หลักประกันซอง
** หนังสือรั บรองผลงาน
** บัญชีรายการก่ อสร้ าง / ใบแจ้ งปริมาณงาน
บัญชีรายการเอกสารอื่นตามที่ประกาษกาหนด
101
หนังสือรับรองผลงาน

ผลงานประเภทเดียวกันกับงานที่ประกวดราคาจ้ า ง
หมายถึง
ผลงานที่ใช้ เทคนิคในการดาเนินการเหมือนกันกับงานที่
ประกวดราคาจ้ าง
 เป็ นผลงานในสัญญาเดียว
 เป็ นสั ญญาผู้รับจ้ างได้ ทางานแล้ วเสร็ จตามสั ญ ญา ที่
ได้ มีการส่ งมอบงานและตรวจรับเรียบร้ อยแล้ ว

102
ผลงานการก่ อสร้ าง


คาว่ า “ผลงานการก่ อสร้ างประเภทเดียวกันกับ
งานที่ประกวดราคาจ้ าง” คือ ผลงานการ
ก่ อสร้ างที่ใช้ เทคนิคในการก่ อสร้ างเดียวกันกับ
งานที่ประกวดราคาจ้ าง
ต้ องเป็ นผลงานที่กระทาสัญญากับส่ วนราชการ
รั ฐวิสาหกิจหรื อเอกชน ซึ่งเป็ นผู้ว่าจ้ างโดยตรง
ไม่ ใช่ ผลงานอันเกิดจาการรั บจ้ างช่ วง
103
การกาหนดคุณสมบัตขิ องผู้เสนอราคางานจ้ างก่ อสร้ าง
(ว 11441 ลว 28 พ.ย.2539)
ผลงานก่ อสร้ างประเภทเดียวกันกับงานที่ประกวดราคาจ้ าง
 ต้ องการผู้ท่ ม
ี ีประสบการณ์ ของงานประเภทเดียวกัน
 มูลค่ าของงานที่ผ้ ูรับจ้ างเคยดาเนินการมาแล้ ว
 ภายใต้ การบริ หารสัญญาเดียวกัน
ความเห็น
“ ในเอกสารประกวดราคา..มีทงั ้ สัญญาเดียว หรือหลายสัญญารวมกัน
อาจทาให้ เกิดการแข่ งขันราคาที่ไม่ เป็ นธรรมในระหว่ าง ผู้เสนอราคา
ด้ วยกัน ”
104
-พระราชบัญญัติว่าด้ วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่ อหน่ วยงาน
ของรัฐ พ.ศ.2542 มาตราบางส่ วนที่เกีย่ วข้ องกับผู้เสนอราคาบางมาตรา
มาตรา 8 ผู้ใดโดยทุจริตทาการเสนอราคาต่ อหน่ วยงานของรัฐโดยรู้
ว่ าราคาที่เสนอนั้นต่ามากเกินกว่ าปกติจนเห็นได้ ชัดว่ าไม่ เป็ นไปตามลักษณะ
สิ นค้ าหรื อบริการ หรื อเสนอผลประโยชน์ ตอบแทนให้ แก่ หน่ วยงานของรั ฐ
สู งกว่ าความเป็ นจริงตามสิ ทธิที่จะได้ รับ โดยมีวัตถุประสงค์ เป็ นการกีดกัน
การแข่ งขันราคาอย่ างเป็ นธรรมและการกระทาเช่ นว่ านั้ น เป็ นเหตุ ให้ ไม่
สามารถปฏิบัติให้ ถูกต้ องตามสั ญญาได้ ต้ องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ หนึ่งปี ถึง
สามปี และปรั บร้ อยละห้ าสิ บของจานวนเงินที่มีการเสนอราคา หรื อของ
จานวนเงินทีม่ ีการทาสั ญญากับหน่ วยงานของรัฐแล้วแต่ จานวนใดจะสู งกว่ า
105
ในกรณีทไี่ ม่ สามารถปฏิบัตใิ ห้ ถูกต้ องตามสั ญญาได้ ตาม
วรรคหนึ่ง เป็ นเหตุให้ หน่ วยงานของรัฐต้ องรับภาระค่ าใช้ จ่าย
เพิม่ ขึน้ ในการดาเนินการให้ แล้ วเสร็จตามวัตถุประสงค์ ของ
สั ญญาดังกล่ าว ผู้กระทาผิดต้ องชดใช้ ค่าใช้ จ่ายให้ แก่ หน่ วยงาน
ของรัฐนั้นด้ วย
ในการพิจารณาคดีความผิดเกีย่ วกับการเสนอราคาต่ อ
หน่ วยงานของรัฐ ถ้ ามีการร้ องขอ ให้ ศาลพิจารณากาหนด
ค่ าใช้ จ่ายทีร่ ัฐต้ องรับภาระเพิม่ ขึน้ ให้ แก่ หน่ วยงานของรัฐตาม
วรรคสองด้ วย
106
-พระราชบัญญัติว่าด้ วยความผิดเกีย่ วกับการเสนอราคาต่ อ
หน่ วยงานของรัฐ พ.ศ.2542 มาตราบางส่ วนที่เกีย่ วข้ องกับ
เจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐโดยตรง
มาตรา 10 เจ้ าหน้ าทีใ่ นหน่ วยงานของรัฐผู้ใดซึ่งมีอานาจหน้ าทีใ่ นการ
อนุมัติการพิจารณาหรื อดาเนินการใดๆ ที่เกีย่ วข้ องกับการเสนอราคาครั้งใด
รู้หรื อมีพฤติการณ์ ปรากฏชัดแจ้ งว่ าควรรู้ว่าการเสนอราคาครั้งนั้นมีการ
กระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินีล้ ะเว้ นไม่ ดาเนินการเพื่อให้ มีการ
ยกเลิกการดาเนินการเกีย่ วกับการเสนอราคาในครั้งนั้นมีความผิดฐานกระทา
ความผิดต่ อตาแหน่ งหน้ าทีต่ ้ องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ หนึ่งปี ถึงสิ บปี และ
ปรับตั้งแต่ สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท
107
มาตรา 11 เจ้ า หน้ า ที่ ใ นหน่ ว ยงานของรั ฐ ผู้ ใ ด หรื อ ผู้ ไ ด้ รั บ มอบหมายจาก
หน่ วยงานของรั ฐผู้ใดโดยทุจริ ตทาการออกแบบ กาหนดราคา กาหนดเงื่อนไข หรื อ
กาหนดผลประโยชน์ ตอบแทน อันเป็ นมาตรฐานในการเสนอราคาโดยมุ่งหมายมิให้ มี
การแข่ งขันในการเสนอราคาอย่างเป็ นธรรม หรื อเพื่อช่ วยเหลือให้ ผ้ ูเสนอราคารายใดได้
มีสิทธิเข้ าทาสั ญญากับหน่ วยงานของรั ฐโดยไม่ เป็ นธรรม หรื อเพื่อกีด กันผู้เสนอราคา
รายใดมิให้ มีโอกาสเข้ าแข่ งขันในการเสนอราคาอย่ างเป็ นธรรม ต้ องระวางโทษจาคุก
ตั้งแต่ ห้าปี ถึงยี่สิบปี หรื อจาคุกตลอดชี วิต และปรั บตั้งแต่ หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท
มาตรา 12 เจ้ าหน้ าที่ในหน่ วยงานของรั ฐผู้ใดกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติ
นี้ หรื อกระทาใดๆ โดยมุ่งหมายมิให้ มีการแข่ งขันราคาอย่ างเป็ นธรรมเพื่อเอือ้ อานวยแก่
ผู้เข้ าทาการเสนอราคารายใดให้ เป็ นผู้มีสิทธิทาสั ญญากับหน่ วยงานของรัฐ มีความผิด
ฐานกระทาผิดต่ อตาแหน่ งหน้ าที่ ต้ องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ ห้าปี ถึงยี่สิบปี หรื อจาคุก
ตลอดชีวติ และปรับตั้งแต่ หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท
108
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยการพัสดุ พ.ศ. 2535
และแก้ ไขเพิม่ เติมข้ อ 50 คณะกรรมการพิจารณาผลการ
ประกวดราคามีหน้ าทีส่ รุปได้ ดงั นี้
(1) ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคา ใบเสนอราคา เอกสารหลักฐาน
ต่ างๆ พัสดุตัวอย่ าง แคตตาล๊อก หรื อแบบรูปและรายการละเอียด แล้ ว
คัดเลือกผู้เสนอราคาทีถ่ ูกต้ องตามเงื่อนไขในเอกสารประกวดราคา
(2) พิจารณาคัดเลือกสิ่ งของ หรื องานจ้ าง หรื อคุณสมบัติของผู้เสนอ
ราคาที่ตรวจสอบแล้วตาม (1) ซึ่งมีคุณภาพและคุณสมบัตเิ ป็ น
ประโยชน์ ต่อทางราชการ แล้วเสนอให้ ซื้อหรื อจ้ างผู้เสนอราคารายที่
คัดเลือกไว้ แล้วซึ่งเสนอราคาต่าสุ ด
109
 ความหมายของคาว่ า”ซึ่งมีคุณภาพและคุณสมบัติที่
เป็ นประโยชน์ ต่อทางราชการ” การพิจารณาคุณภาพ
และคุณสมบัตทิ เี่ ป็ นประโยชน์ ต่อทางราชการนี้ มุ่ง
หมายถึงการพิจารณาจากเกณฑ์ ในส่ วนที่ทาง
ราชการไม่ สามารถกาหนดไว้ เป็ นเงื่อนไขในเอกสาร
สอบราคาได้ เช่ น การพิจารณาประวัติการใช้ งานของ
พัสดุทเี่ สนอราคามานั้น หรื อประวัตกิ ารปฏิบัติตาม
สั ญญาของผู้เสนอราคาเป็ นต้ น”
(ที่ นร (กวพ) 1204/7892 ลว.31 ส.ค.2536)
110
 ความหมายของคาว่ า”ซึ่ งมีคุณภาพและคุณสมบัตท
ิ เี่ ป็ น
ประโยชน์ ต่อทางราชการ” หมายถึงการคัดเลือกในเรื่ องของ
คุณภาพและคุณสมบัติทเี่ ป็ นประโยชน์ ต่อราชการ ซึ่งขั้นตอนดังกล่าวนี้
ทางราชการจะสามารถพิจารณากลัน่ กรองในเรื่ องคุณภาพและ
คุณประโยชน์ ของพัสดุอนั เป็ นเงื่อนไขในส่ วนทีไ่ ม่ สามารถกาหนดไว้
เป็ นลายลักษณ์ อกั ษรในเอกสารสอบราคาหรื อประกวดราคาได้ เช่ น ใน
เรื่ องของการใช้ งาน หรื อผลงานทีผ่ ่ านมาของผู้เสนอราคาเป็ นต้ น ซึ่งใน
เรื่ องนีห้ ากปรากฏแก่ส่วนราชการว่ า พัสดุหรื องานจ้ างใดมีคุณสมบัติที่
ไม่ เป็ นคุณประโยชน์ ต่อทางราชการ คณะกรรมการฯก็สามารถทีจ่ ะไม่
รับพิจารณาผู้เสนอราคารายนั้นๆ ได้ และสามารถพิจารณารับราคาจากผู้
เสนอราคาทีไ่ ด้ ผ่านการคัดเลือกในชั้นนีแ้ ละมีราคาตา่ สุ ด”
(ที่ นร (กวพ)1205/5318 ลว.13 มิ.ย.2538)
111
การขัดขวางการแข่ งขันราคาอย่ างเป็ นธรรม หมายความว่ าการที่ผู้เสนอราคา
หรื อ ผู้ เ สนองานรายหนึ่ ง หรื อ หลายรายกระท าการอย่ า งใดๆ อัน เป็ นการ
ขัดขวาง หรื อเป็ นอุปสรรค หรื อไม่ เปิ ดโอกาสให้ มีการแข่ งขันราคาอย่ างเป็ น
ธรรมในการเสนอราคาหรื อเสนองานต่ อหน่ วยงานไม่ ว่าจะกระทาโดยการ
สมยอมกันหรื อโดยการให้ ขอให้ หรื อรั บว่ าจะให้ เรี ยกรั บ หรื อยอมจะรั บเงิน
หรื อทรัพย์ สินหรื อประโยชน์ อื่นใด หรื อใช้ กาลังประทุษร้ ายหรื อข่ มขู่ว่าจะใช้
กาลังประทุษร้ าย หรื อการแสดงเอกสารเป็ นเท็จ หรื อกระทาใดๆโดยทุจริ ต
ทั้งนี้โดยมีวัตถุประสงค์ ที่จะแสวงหาประโยชน์ ในระหว่ างผู้เสนอราคาหรื อผู้
เสนองานด้ วยกัน หรื อเพื่อประโยชน์ แก่ ผู้เสนอราคาหรื อผู้เสนองานรายหนึ่ง
รายใดเป็ นผู้มีสิทธิทาสั ญญากับหน่ ายงานของราชการฯ นั่นหรื อหลีกเลีย่ งการ
แข่ งขันราคาอย่ างเป็ นธรรม หรื อเพื่อให้ เกิดความได้ เปรียบกับหน่ วยราชการฯ
มิใช่ เป็ นไปในทางการประกอบธุรกิจปกติ
112
การคานวณราคากลางราคาวัสดุก่อสร้ าง
(กรณีการสื บราคาท้ องตลาด)
1.- ยีห่ ้ อ ก ราคา = 4 ล้านบาท
2.- ยีห่ ้ อ ข ราคา = 5 ล้านบาท
3.- ยีห่ ้ อ ค ราคา = 6 ล้านบาท
113
วิธีปฏิบัติหลังจากสื บราคาจากท้ องตลาดแล้ วมีวธิ ีดังนี้
นาราคากลางของยีห่ ้ อทีม่ ีราคาตา่ สุ ดเป็ นราคา
กลาง จากตัวอย่ างคือราคา 4 ล้ านบาท วิธีนีผ้ ู้มีหน้ าที่
คานวณราคากลาง/เจ้ าหน้ าพัสดุต้องนาราคา ยีห่ ้ อ วัน
เดือน ปี จากร้ านต่ างที่สืบราคามาจัดทาบันทึกแสดง
รายละเอียดของการสื บราคาและการกาหนดราคา
ประกอบไว้ ด้วย
(ด่ วนทีส่ ุ ด ที่ กค ๐๔๒๑.๕/ว๒๗ ลว. ๓๐ มี.ค.๒๕๕๕)
114
ตัวอย่างทะเบียน(ตารางการสืบราคาท้องตลาด)
ลาดับ
ที่
รายการ
ซื้อ/จ้าง
1.
พัสดุ A
2.
พัสดุ A
3.
พัสดุ A
จานวน ราคา
ชื่อ ว.ด.ป. จนท.
ต่อ กิจการ, ที่สืบ ผู้สืบ
หน่วย ยีห่ ้อ ราคา ราคา
(ล้าน
บาท)
1
4 ยี่ห้อ ก 10 ต.ค. น.ส.
53
สวย
1
5 ยี่ห้อ ข 13 ต.ค. น.ส.
53
สวย
1
6
ยี่ห้อ ค
16 ต.ค. น.ส.
53
สดใส
หมายเหตุ/
เอกสารประกอบ
ใบเสนอราคา
เอกสารการ
สืบราคาทาง
Internet
เอกสาร
จากใบสั่งซื้อของ
หน่วยงานอื่นๆ
115
การประเมินราคาในงานประกวดราคาจ้ างก่อสร้ าง
1.ขอบเขตของการประเมินราคา
การประเมิ น ราคา ให้ ใ ช้ เ ฉพาะการประกวดราคา
ก่ อสร้ าง และกรณีที่จะมีการประเมินราคาได้ จะต้ อง
เป็ นการประกวดราคาที่ ป รากฏว่ า ผู้ เ สนอราคาที่
คัดเลือกไว้ แล้ วตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วย
การพัส ดุ พ.ศ. 2521 และที่ แ ก้ ไ ขเพิ่ม เติ ม ข้ อ 41 (2)
วรรคแรก เสนอราคาอยู่ ใ นวงเงิ น ที่ จ ะจ้ า ง โดยให้
พิจารณาประเมินราคาเฉพาะผู้เสนอราคาที่คัดเลือกไว้
แล้ ว ซึ่งเสนอราคารวมตา่ สุ ดเท่ านั้น
116
2.วิธีการประเมินราคา
ให้ คณะกรรมการพิ จ ารณาผลการประกวดราคา
ตรวจสอบราคาที่ผ้ ู เสนอราคาได้ เสนอไว้ ในรายการที่เป็ น
หั ว ข้ อ ใหญ่ ข องส่ วนการก่ อ สร้ า งว่ า ถู ก ต้ อ งหรื อ ไม่ หาก
ปรากฏว่ าราคาของรายการใดสู งผิดปกติไม่ ถูกต้ องตามความ
เป็ นจริ ง ก็ให้ เชิ ญผู้เสนอราคารายนั้ นมาเจรจาเพื่ อปรั บลด
ราคาลงมา แล้ วแก้ ไขยอดรวมให้ ต รงกัน ซึ่ งเมื่ อ ประเมิ น
ราคาปรั บลดแล้ ว จะทาให้ ยอดรวมใหม่ ต่ากว่ ายอดรวมที่ผ้ ู
เสนอราคาได้ เสนอราคาไว้ เดิม
[หนังสื อ ที่ (กวพ)1002/ว 6 ล.ว. 16 1 ก.พ. 2532]
117
การประเมินราคาในงานประกวดราคาจ้ างก่ อสร้ าง
สรุปว่ า การประกวดราคาซื้อหรื อจ้ าง ในกรณีผู้เสนอราคาทีค่ ดั เลือกไว้
แล้ ว รวมทั้งกรณีทมี่ ีการปรับลดราคาหลังจากประเมินราคาแล้ ว เสนอราคาอยู่ใน
วงเงินงบประมาณ ให้ ถือเป็ นหลักการว่ าไม่ สมควรให้ มีการต่ อรองราคาในระดับ
ใดอีก
1. ขอบเขตของการประเมินราคา
การประเมินคาคา ให้ ใช้ เฉพาะการประกวดราคาจ้ างก่ อสร้ าง และกรณีที่
จะมีการประเมินราคาได้ จะต้ องเป็ นการประกวดราคาทีป่ รากฏว่ าผู้เสนอราคาที่
คัดเลือกไว้ แล้ วตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยการพัสดุ พ.ศ.2521 และ
ทีแ่ ก้ ไขเพิม่ เติม ข้ อ 41 (2)วรรคแรก เสนอราคาอยู่ในวงเงินทีจ่ ะจ้ าง โดยให้
พิจารณาประเมินราคาเฉพาะผู้เสนอราคาทีค่ ดั เลือกไว้ แล้ว ซึ่งเสนอราคารวม
ตา่ สุ ดเท่ านั้น
(ที่ นร (กวพ) 1002/ว 6 ลงวันที่ 16 ก.พ. 2532 )
118
บัญชีรายการก่อสร้าง(B.O.Q)
รายการ
ราคากลาง (ทางราชการ)
ผูเ้ สนอราคา
จานวน
(1)
หน่วย
(2)
ราคา/
หน่วย(3)
รวม
(4)
จานวน
(1)
หน่วย
(2)
ราคา/
หน่วย
(3)
รวม
(4)
1.1
เสาเข็ม
เจาะ
10
ต้ น
20,000
200,000
10
5
ต้ น
ต้ น
30,000
60,000
300,000
300,000
1.2 งาน
โครง
หลังคา
พร้ อม
หลังคา
500
ตร.ม.
1,500
750,000
600
ตร.ม.
2,500
1,500,000
1.หมวด
โครงสร้ าง
รวม
950,000
1,800,000
119
บัญชีรายการก่อสร้าง(B.O.Q)
รายการ
ราคากลาง (ทางราชการ)
ผูเ้ สนอราคา
จานวน
(1)
หน่วย
(2)
ราคา/
หน่วย
(3)
รวม
(4)
จานวน
(1)
หน่วย
(2)
ราคา/
หน่วย
(3)
รวม
(4)
2.1 โคม
200
ชุด
3,000
600,000
150
ชุด
4,000
600,000
2.2
SWITCH
20
ชุด
150
3,000
20
ชุด
100
2,000
2.งานดวง
โคม-สวิทซ์
รวม
603,000
602,000
รวมทั้งสิ้น
50,553,000
45,402,000
(รายการที่
1-100)
120

ในกรณีทรี่ าคากลางทีค่ ณะกรรมการกาหนดราคากลางคานวณไว้ แตกต่ างกับราคาของ
ผู้เสนอราคารายทีส่ ่ วนราชการเห็นสมควรจ้ างตั้งแต่ ร้อยละ 15 ขึน้ ไป โดยใช้ ราคาของ
ผ้ เู สนอราคารายทีส่ ่ วนราชการเห็นสมควรจ้ างเป็ นฐานในการคานวณ
(ที่ กค 0408.5/ว 9 ลว.7 มี.ค. 2550)
 ตัวอย่ าง ราคากลาง
2,000,000 บาท

ผู้เสนอราคาตา่ สุ ด
1,720,000 “

ต่ากว่ าราคากลาง
280,000 “

คิดเป็ นร้ อยละของราคาที่ประกวดได้

= ( 280,000 x 100) = 16.28 %

1,720,000 (ราคาที่ประกวดได้ ) (กรณีนีถ้ ูกต้ อง)

x = (280,000 x 100 ) = 14.00 % (วิธีนใี้ ช้ ตัวหารผิด)

2,000,000(ราคากลาง)

121
ตัวอย่ าง
ราคากลาง
2,000,000 บาท
ผู้เสนอราคาต่าสุ ด
2,260,000 “
สู งกว่ าราคากลาง
260,000 “
คิดเป็ นร้ อยละของราคาที่ประกวดได้
= 260,000 X 100 = 11.50 %
2,260,000
(กรณีนีท้ างราชการดาเนินการต่ อไปไม่ ได้ เพราะราคาทีป่ ระกวดได้ เกินวงเงิน
งบประมาณทีไ่ ด้ รับเกิน 10 %และเงินงบประมาณที่ได้ รับเท่ ากับราคากลาง)
122
 วิธีการป้ องกันตนเองจากการทุจริ ต
1. ไม่ ทุจริต คือตัวเราเองไม่ ทาทุจริตไม่ ทาให้ เกิดความผิดพลาดจน
เกิดการจริตขีน้ ต้ องยึดมั่นในใจตนเองว่ าการทุจริตเป็ นสิ่ งที่ตวั เรา
ยอมรับไม่ ได้
 2. อย่ าให้ ผ้ ูอื่นสงสั ยว่ าทุจริ ต บางครั้ งเราอาจประมาทเลินเล่ อมัก
ง่ ายทาให้ คนอื่นสงสั ยว่ าเราทุจริตได้ ฉะนั้นเราต้ องรอบคอบหา
พยานหลักฐานไว้ ยืนยันเพื่อช่ วยให้ เห็นว่ าเราไม่ ทุจริต
 3. อย่ าให้ คนอื่นทุจริ ต ความหมายก็คือเราต้ องป้ องกันมิให้
ผู้เกีย่ วข้ องกับเรากระทาทุจริต

123
3 สาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางแก้ ไข
3.1 “สาเหตุของความบกพร่ องต่ างๆ และการทุจริต”
1 ระบบการควบคุมภายในของหน่วยงานไม่เหมาะสม
2 เจ้าหน้าที่ขาดความรับผิดชอบ ประมาทเลินเล่อ ไม่เอาใจใส่
ต่อการปฏิบัติงานเท่าที่ควร
3 เจ้าหน้าที่ขาดความรู้ความเข้าใจในระเบียบ
ข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวกับงานที่จปะ ฏิบัติ
4 ผู้บริหารไม่ได้กากับดูแลการปฏิบัติงานตามที่ควรจะเปน
5 การตั้งใจที่จะไม่ปฏิบัติตามระเบียบต่างๆ เพื่อผลประโยชน์
ต่อตนเองและพวกพ้อง
6 ความต้องการอยากได้ในสิ่งที่ไม่ใช่ของตน (ความโลภ/ความไม่รู้จักพอ)
124
3.2 “ผลกระทบ”
1 ทางราชการเสี ยหายจากข้ อบกพร่ องต่ างๆ และทุจริต
- สู ญเสี ยเงินงบประมาณโดยไม่ จาเป็ น
- ใช้ ประโยชน์ จากพัสดุไม่ ได้ ตามวัตถุประสงค์
2 ประชาชนได้ รับความเดือดร้ อนจากการกระทา
ของเจ้ าหน้ าที่ของรัฐ
3 ประเทศชาติไม่ เจริญ
125
3.3 “แนวทางแก้ไข”
1 ให้ความรู้ด้านกฎหมายและระเบียบต่างๆ
2 ผู้บริหารให้ความสาคัญกับการควบคุม/
กากับดูแลผู้ใต้บังคับบัญชา
3 จัดให้มีระบบการควบคุมภายในที่ดี
3.1 การจัดแบ่งส่วนงานที่ชัดเจน
3.2 มีการมอบหมายอานาจให้ผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน
3.3 มีบุคลากรที่ดีเหมาะสมกับงาน
3.4 มีระบบการปองกันรักษาพัสดุ
3.5 มีการตรวจสอบภายในที่เปนอิสระอย่างแท้จริง
4 การปลูกจิตสานึกที่ดีและมีจิตสานึกสาธารณะ
126
ที่ นว 89/2497
กรมสารบรรณคณะรัฐมนตรีฝายบริหาร
1 เมษายน 2497
เรื่อง ข้าราชการอ้างว่าไม่รู้กฎหมายและระเบียบแบบแผนในหน้าที่
เรียน (เวียนกระทรวงทบวงกรม)
ด้วยในคราวประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2497 ได้พิจารณาเห็นว่า
ข้าราชการแต่ละคนย่อมมีหน้าที่ๆจะต้องรับผิดชอบตามตาแหน่งหน้าที่ของตนหากไม่ได้ปฏิบัติงาน
ในหน้าที่ก็ดี หรือละเว้นมิได้ปฏิบัติก็ดี เปนเหตุให้เกิดความเสียหายแก่ราชการแล้ว จะอ้างว่าไม่ รู้กฎหมาย
หรือระเบียบแบบแผนข้อบังคับของทางราชการมิได้
จึงได้ลงมติว่า ข้าราชการผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง จะอ้างว่าไม่รู้
กฎหมายหรือระเบียบแบบแผนข้อบังคับอันตนจะต้องปฏิบัติและอยู่ในหน้าที่ของตนมิได้การที่ข้าราชการ
ปฏิบัติงานไม่ชอบด้วยกฎหมายระเบียบแบบแผนก็ดี หรือละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายและระเบียบ
แบบแผนกาหนดก็ดี ให้ถือว่าเปนการผิดวินัยหรือหย่อนสมรรถภาพ แล้วแต่กรณี และให้ผู้บังคับบัญชา
พิจารณาลงโทษตามควรแต่กรณีต่อไป
จึงขอยืนยันมา
ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง
(ลงนาม) ชานาญอักษร
(หลวงชานาญอักษร)
เลขาธิการคณะรัฐมนตรีฝายบริหาร
127
อ.เกรี ยงไกร นิศากร
TEL.081-9229162
128