สาระสำคัญร่าง พ.ร.บ.ประกันสังคม พ.ศ.

Download Report

Transcript สาระสำคัญร่าง พ.ร.บ.ประกันสังคม พ.ศ.

ั
สาระสาค ัญร่าง พ.ร.บ.ประก ันสงคม
พ.ศ. ....
(ฉบ ับบูรณาการแรงงาน)
เสนอโดย
 นายศรีโพธิ์ วายุพักตร์
 นายสุพจน์ จารุวรรณบารุง
ทีป
่ รึกษากลุม
่ สหภาพแรงงานอุตสาหกรรมเบอร์ลา่
( ข้อมูลจากคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย )
• สถานการณ์และความจาเป็ นในการปฏิรป
ู สานักงานประกันสงั คม
ณ วันที่ 30 มิถน
ุ ายน 2553 กองทุนประกันสงั คมมีเงินรวม
707,730 ล ้านบาท แบ่งออกเป็ น
• กองทุนกรณีสงเคราะห์บต
ุ รและชราภาพ 567,010 ล ้านบาท
• กองทุนดูแลผู ้ประกันตนกรณีเจ็บป่ วย ตาย ทุพลภาพ คลอด
บุตร 94,746 ล ้านบาท
• และเป็ นกองทุนกรณีวา่ งงาน 45,974 ล ้านบาท
ิ ธิ ได ้แก่
ข ้อจากัดของการเข ้าถึงสท
้ การในโรงพยาบาลทีเ่ ลือกไว ้ ต ้อง
• ผู ้ประกันตนเข ้าไปใชบริ
พบกับปั ญหาทางด ้านบริการทางการแพทย์
• คุณภาพของยาทีด
่ ้อยกว่าปกติ
• ผู ้ประกันตนต ้องจ่ายเงินเองในการรักษาพยาบาล
• มีการยกเว ้นการเข ้าถึงบริการทางการแพทย์อก
ี หลายโรค
ด ้วยกัน
• สถานการณ์และความจาเป็ นในการปฏิรป
ู สานั กงาน
ประกันสงั คม
ิ ธิภาพ
 การบริหารงานกองทุนประกันสงั คม ทีไ่ ม่มป
ี ระสท
 กรรมการประกันสงั คมถูกแต่งตัง้ โดยรัฐมนตรีวา่ การกระทรวง
แรงงาน ถูกควบคุม แทรกแซงจากฝ่ ายราชการและการเมือง
 การบริการงานกองทุนประกันสงั คมในชว่ ง 4 ปี ทีผ
่ า่ นมา จะ
เห็นว่าการอนุมต
ั เิ งินประกันสงั คมตอบสนองต่อนโยบายของ
ฝ่ ายการเมือง จึงต ้องตัง้ คาถามว่า โครงการเหล่านีใ้ ครได ้
้ างผิดวัตถุประสงค์หรือไม่..???
ประโยชน์และนาเงินไปใชอย่
• สถานการณ์และความจาเป็ นในการปฏิรป
ู สานักงานประกันสงั คม
 การตัง้ งบประมาณดูงานต่างประเทศ รวมอยูใ่ นรายจ่ายอืน
่ ๆ ปี ละ 118
ล้านบาท
ื้ ทีด
 โครงการจัดซอ
่ น
ิ และอาคารวัฏจักร 500 ล้านบาท
 โครงการจัดหาและดาเนินการระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศแรงงาน
ของสานักงานประกันสงั คม 2,800 ล้านบาท ในปี 2549
ั พันธ์ 1,000 ล้านบาท เพือ
ื่ ประชาสม
ั พันธ์
 โครงการประชาสม
่ จัดทาสอ
่
ในรูปแบบต่างๆ เชน
้
 การใชงบประมาณในการเผยแพร่
ความรู ้เกีย
่ วกับประกันสงั คม ปี ละ 195
ล้านบาท
 งบประมาณในการสนับสนุนสภาองค์การลูกจ ้างและนายจ ้าง ปี ละ 24
้
ล้านบาท เพือ
่ ใชในการจั
ดอบรมแก่ผู ้ประกันตน
 การลงทุนในกิจการประเภทต่างๆของประกันสงั คม ทีม
่ ก
ี ารขาดทุน
• จึงมีความจาเป็ นในการปฏิรป
ู สานักงานประกันสงั คมเป็ นองค์กร
ิ ธิภาพ
อิสระ เพือ
่ การจัดการทีเ่ ป็ นอิสระ โปร่งใสและมีประสท
• คณะกรรมการบริหารประกันสงั คม ต ้องมาจากการเลือกตัง้ ไม่ถก
ู
ครอบงาจากฝ่ ายการเมือง และมีการกาหนดวาระในการดารง
่ ทีผ
ตาแหน่ง ไม่ถก
ู ผูกขาดอานาจเหมือนเชน
่ า่ นมา
• โดยเนือ
้ หาสาระสาคัญของร่าง พ.ร.บ.ประกันสงั คม พ.ศ... ทีม
ยกร่าง พ.ร.บ. จานาเสนอให ้ทราบในลาดับต่อจากนี้
การแก ้ไขเพิม
่ เติมกฎหมายประกันสงั คม คณะทางานได ้
ึ ษาพิจารณากฎหมายหลายฉบับเพือ
ศก
่ เป็ นแนวทาง
ประกอบการปรับปรุงกฎหมายประกันสงั คม ได ้แก่
1.
2.
3.
4.
พระราชบัญญัตห
ิ ลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545
พระราชบัญญัตส
ิ ข
ุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัตอ
ิ งค์การมหาชน พ.ศ. 2542
ึ ษาวิจัยเรือ
รายงานการศก
่ งการจัดตัง้ สานักงานประกันสงั คม
เป็ นองค์การมหาชน และร่างพ.ร.บ.ประกันสงั คมทีจ
่ ัดทาโดย
สถาบันวิจัยและให ้คาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
(2546)
ั
ร่าง พ.ร.บ.ประก ันสงคม
พ.ศ...(ฉบับบูรณาการแรงงาน)
มีหลักการดังนี้
ขยายความคุ ้มครองไปถึงลูกจ้างชว่ ั คราวทุกประเภทของ
สว่ นราชการ
ั
เพิม
่ บทนิยามจานวน 2 คาคือ “การประก ันสงคม”
และ “ภ ัย
พิบ ัติ”
แก ้ไขบทนิยามจานวน 4 คาคือ คาว่า “ลูกจ้าง” “นายจ้าง”
“ค่าจ้าง” “ทุพพลภาพ”
•
แก ้ไของค์ประกอบ กระบวนการได ้มา คุณสมบัต ิ
อานาจหน ้าทีแ
่ ละวาระการดารงตาแหน่งและการพ ้น
ั
จากตาแหน่งของคณะกรรมการประก ันสงคม
•
ให ้มีคณะกรรมการตรวจสอบทัง้ องค์ประกอบ
คุณสมบัต ิ กระบวนการได ้มา อานาจหน ้าที่ และ
วาระดารงตาแหน่งเพือ
่ ทาหน ้าทีต
่ รวจสอบการ
ดาเนินงานของคณะกรรมการต่างๆ
•
กาหนดให ้มีเลขาธิการสาน ักงานทีม
่ ค
ี วามรู ้
ความสามารถและประสบการณ์เหมาะสมก ับการ
ั
บริหารจ ัดการงานประก ันสงคม
โดยมาจาก
กระบวนการสรรหา
•
กาหนดให ้มีคณะกรรมการการลงทุน มี
องค์ประกอบคุณสมบัต ิ กระบวนการได ้มาและวาระ
การดารงตาแหน่งเพือ
่ ทาหน ้าทีบ
่ ริหารจัดการเกีย
่ วกับ
การจัดหาผลประโยชน์ของกองทุน
่ เงินสมทบก่อนทีผ
ิ้
• แก ้ไขหล ักเกณฑ์การสง
่ ป
ู ้ ระก ันตนจะสน
สภาพการเป็นลูกจ้างเพือ
่ ให ้ผู ้ประกันตนได ้รับประโยชน์
ิ้ สภาพการเป็ นลูกจ ้าง
ทดแทนระยะยาวขึน
้ ภายหลังสน
• แก ้ไขระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบสาหร ับผูเ้ คยเป็น
ิ้ สภาพการเป็ นลูกจ ้าง เพือ
ผูป
้ ระก ันตน และต่อมาได ้สน
่ ขยาย
ระยะเวลาการแสดงความจานงเป็ นผู ้ประกันตนต่อสานักงาน
• กาหนดให ้ร ัฐบาลจ่ายเงินสมทบเข ้ากองทุนประกันสงั คมสาหรับ
่ ก
ผู ้ประกันตนทีม
่ ใิ ชล
ู จ ้างหรือแรงงานนอกระบบเป็ นอัตราไม่
น้อยกว่าอัตราเงินสมทบทีไ่ ด ้รับจากผู ้ประกันตน
ิ้ สุดความเป็น
• แก ้ไขเงือ
่ นเวลาการไม่สง่ เงินสมทบก่อนสน
ผูป
้ ระก ันตนให ้มีระยะเวลายาวขึน
้ ซงึ่ มีผลให ้ผูป
้ ระก ันตนตาม
มาตรา 39 มีโอกาสรับประโยชน์ทดแทนนานขึน
้
•
ปร ับปรุงองค์ประกอบ คุณสมบ ัติ อานาจหน้าที่ ทีม
่ าและ
ั
วาระของคณะกรรมการประก ันสงคม
ประกอบด ้วยประธานและกรรมการอีก 4 ฝ่ ายๆ ละ 8 คนรวมเป็ น 33 คน ดังนี้
1. ประธานกรรมการ มาจากการสรรหาบุคคลทีม
่ ค
ี วามรู ้ความสามารถ
เหมาะสมกับงานประกันสงั คม
2. กรรมการโดยตาแหน่ง ประกอบด ้วย ผู ้แทนกระทรวงแรงงาน สานัก
งบประมาณ กระทรวงการคลัง กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์
ผู ้แทนสานักนายกรัฐมนตรี และเลขาธิการ สปส. รวม 8 คน
3. กรรมการฝ่ายนายจ้างและกรรมการฝ่ายผูป
้ ระก ันตน ฝ่ ายละ 8 คน
4. กรรมการผูท
้ รงคุณวุฒ ิ สรรหาโดยกรรมการข ้อ 2 และ 3
ทีม
่ าของกรรมการฝ่ายผูป
้ ระก ันตนและฝ่ายนายจ้าง
• มาจากการเลือกตัง้ โดยตรงของผู ้ประกันตนและ
นายจ ้างทีข
่ น
ึ้ ทะเบียนกับ สปส.
• ผู ้ประกันตนอาจลงสมัครรับเลือกตัง้ โดยอิสระหรือ
่ ชอ
ื่ เข้า
องค์กรเอกชน องค์กรด้านแรงงานสง
สม ัคร
• กาหนดคุณสมบ ัติผู ้แทนฝ่ ายผู ้ประกันตนและฝ่ าย
ั เจน เพือ
นายจ ้างให ้กว ้างขวางชด
่ ป้ องกันผลประโยชน์
้
ี กับการดารงตาแหน่ง
ทับซอนหรื
อมีสว่ นได ้เสย
ั
อานาจหน้าทีข
่ องคณะกรรมการประก ันสงคม
และวาระดารงตาแหน่ง
• มีอานาจกาหนดนโยบายบริหารงานและควบคุมดูแลการ
บริหารงานประกันสงั คมอย่างเต็มที,่ รวมทัง้ การเห็นชอบ
แผนงาน แผนการเงินงบประมาณของสานั กงานแต่ละปี ,
การกาหนดกฎเกณฑ์การตรวจสอบการใชจ่้ ายเงินประจาปี
ฯลฯ
• ปรับปรุงวาระดารงตาแหน่งของกรรมการให ้อยูค
่ ราวละ 4
ปี ไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน
ั
โครงสร้างการบริหารกองทุนประก ันสงคม
• นอกจากมีคณะกรรมการประกันสงั คม คณะกรรมการ
อุทธรณ์และคณะกรรมการแพทย์ ตามรูปแบบกฎหมาย
เดิมแล ้วจะมีคณะกรรมการตรวจสอบ และ
• คณะกรรมการลงทุนทีค
่ ณะกรรมการประกันสงั คม
ออกระเบียบสรรหาขึน
้ มา เพือ
่ เป็ นหลักประกันในการ
ตรวจสอบการบริการกองทุนและจัดหาผลประโยชน์การ
ลงทุนเป็ นไปอย่างโปร่งใส ติดตามควบคุมได ้โดยผู ้มี
ความรู ้ความสามารถและมีประสบการณ์
อ ัตราเงินสมทบ
• ผู ้ประกันตนมีโอกาสสามารถตรวจสอบนายจ ้าง
ได ้ว่านาสง่ เงินสมทบของผู ้ประกันตนแก่ สปส.
หรือไม่ ?
• กาหนดให ้ฐานค่าจ้างคานวณเงินสมทบ
ขึน
้ กับค่าจ้างผูป
้ ระก ันตนแต่ละราย ไม่
กาหนดอัตราสูงสุดไว ้
ิ ธิประโยชน์ทเี่ พิม
้
สท
่ ขึน
ิ ธิประโยชน์ทดแทนการขาดรายได ้เพิม
้ ตาม
• เพิม
่ สท
่ ขึน
่ จ่ายสมทบไม่ถงึ 120 เดือน มี
ระยะเวลาจ่ายเงินสมทบ เชน
ิ ธิได ้รับร้อยละ 70 ของค่าจ้าง หากจ่ายสมทบตงแต่
สท
ั้
120
ิ ธิรอ
้ ไปมีสท
เดือนขึน
้ ยละ 80 ของค่าจ้าง
ิ ธิประโยชน์ของผู ้ประกันตนทีอ
• การขยายสท
่ อกจากงาน ให ้มี
ิ ธิได ้รับประโยชน์ทดแทนยาวนานขึน
สท
้ ตามระยะเวลาจ่ายเงิน
สมทบ
ิ ธิรับประโยชน์ทดแทนต่อเนือ
– สมทบไม่เกิน 10 ปี มีสท
่ งอีก 8 เดือน
ิ ธิได ้รับประโยชน์ทดแทนต่อไปได ้อีก
้ ไป มีสท
– สมทบตงแต่
ั้
10 ปี ขึน
12 เดือน
• ผู ้ประกันตนทีป
่ ระสบอ ันตรายหรือเจ็บป่วยหรือทุพพล
ิ ธิได ้รับ
ภาพทีม
่ ใิ ชเ่ นือ
่ งจากการทางาน มีสท
ประโยชน์ทดแทนบริการทางการแพทย์ตงั ้ แต่ว ันแรกที่
เป็นลูกจ้าง
่ เสริมสุขภาพและป้องก ันโรค และ
• เพิม
่ เติมค่าสง
ตรวจสุขภาพประจาปี แก่ผู ้ประกันตน
้ การสถานพยาบาลทุก
• ผู ้ประกันตนสามารถเลือกใชบริ
ั
แห่งได้ตามทีม
่ ข
ี อ
้ ตกลงก ับสาน ักงานประก ันสงคม
ไม่วา่ กรณีปกติหรือกรณีฉุกเฉิน โดยเป็ นหน ้าทีข
่ อง
สปส. กับสถานพยาบาลจะตกลงจ่ายค่าบริการ
• ขยายการจ่ายเงินสงเคราะห์บต
ุ รจนถึง อายุไม่
เกิน 20 ปี บริบร
ู ณ์
ิ ธิระบุเป็นหน ังสอ
ื ให้บค
• ผู ้ประกันตนมีสท
ุ คลใด
รับประโยชน์ทดแทนกรณีคา่ ทาศพและเงิน
สงเคราะห์กรณีตายรวมทัง้ รับประโยชน์ทดแทน
กรณีบาเหน็ จชราภาพได ้
ิ ธิสมัคร
• ผูป
้ ระก ันตนจ่ายเงินสมทบไม่นอ
้ ยกว่า 7 เดือน มีสท
ิ้ สุด
เป็ นผู ้ประกันตนมาตรา 39 ได ้ภายใน 12 เดือน นับแต่สน
ความเป็ นผู ้ประกันตนตามมาตรา 33
 ผู ้ประกันตน ม.39 ออกเงินสมทบ 1 เท่า และรัฐบาลออก
เงินสมทบ 2 เท่า
ิ้ สุดลงเมือ
 ความเป็ นผู ้ประกันตน ม.39 สน
่ ไม่สง่ เงินสมทบ 6
เดือนติดต่อกัน ภายในระยะ 12 เดือนสง่ เงินสมทบไม่ครบ 6
เดือน
• ผูป
้ ระก ันตนตามมาตรา 40 ให ้รัฐบาลจ่ายเงินสมทบไม่นอ
้ ย
่ ก
กว่าอัตราเงินสมทบทีไ่ ด ้รับจากผู ้ประกันตนมิใชล
ู จ ้าง
• ผู ้ประกันตนไม่ต ้องจ่ายเงินสมทบกรณีวา่ งงาน น ับแต่เดือนถ ัด
จากเดือนทีม
่ อ
ี ายุ 55 ปี บริบร
ู ณ์
ิ ธิได ้รับประโยชน์ทดแทนกรณีชราภาพพร ้อมกับกรณี
• มีสท
ว่างงาน
• คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการลงทุน
• ทีม
่ าจากการทีค
่ ณะกรรมการประกันสงั คมออกระเบียบ
สรรหาขึน
้ มา เพือ
่ เป็ นหลักประกันในการตรวจสอบการ
บริการกองทุนและจัดหาผลประโยชน์การลงทุนเป็ นไป
อย่างโปร่งใส ติดตามควบคุมได ้โดยผู ้มีความรู ้
ความสามารถและมีประสบการณ์
้
โครงสร้างคณะกรรมการทีเ่ พิม
่ ขึน
• คณะกรรมการแต่งตัง้ ฯ คณะกรรมการตรวจสอบ มีจานวนไม่เกินห ้าคน
ประกอบด ้วยประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอืน
่ จากบุคคล
ดังต่อไปนี้
ี ลาง รองเลขาธิการสานักงาน
 อธิบดีกรมบัญชก
คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์
 ผู ้ทรงคุณวุฒท
ิ ม
ี่ ค
ี วามรู ้ความสามารถและประสบการณ์ เป็ น
ี ละการเงิน ด ้านกฎหมาย ด ้าน
ทีป
่ ระจักษ์ ในด ้านบัญชแ
บริหารการลงทุน สาขาละ 1 คน รวมกันไม่เกิน 3 คน
ให ้ผู ้ปฏิบต
ั ห
ิ น ้าทีด
่ ้านการตรวจสอบของสานักงานเป็ นเลขานุการ
ให ้คณะกรรมการตรวจสอบ มีอานาจหน ้าทีด
่ งั นี้
สอบทานให ้สานักงานมีการจัดทารายงานการเงินอย่างถูกต ้อง และ
ี รี่ ับรองทั่วไป
เปิ ดเผยอย่างเพียงพอตามมาตรฐานทางการบัญชท
 สอบทานให ้สานักงานมีระบบควบคุมภายใน และการตรวจสอบ
ิ ธิผล
ภายในทีม
่ ค
ี วามเหมาะสมและมีประสท
สอบทานการปฏิบต
ั ข
ิ องสานักงานให ้เป็ นไปตามกฎหมายว่าด ้วย
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข ้อกาหนดตลาดหลักทรัพย์ หรือ
กฎหมายทีเ่ กีย
่ วข ้องกับธุรกิจของสานักงาน
พิจารณาการเปิ ดเผยข ้อมูลของสานักงานในกรณีทเี่ กิดรายการเกีย
่ ว
โยงหรือรายการทีอ
่ าจมีความขัดแย ้งทางผลประโยชน์ให ้มีความ
ถูกต ้องและครบถ ้วน
ี อืน
แสวงหาความเห็นทีเ่ ป็ นอิสระจากทีป
่ รึกษาทางวิชาชพ
่ ใด เมือ
่ เห็น
ว่าจาเป็ น ด ้วยค่าใชจ่้ ายของสานักงาน
• คณะกรรมการการลงทุน จานวนรวมกันไม่เกินห ้าคน
ประกอบด ้วยประธานและกรรมการอืน
่ จากบุคคล
ดังต่อไปนี้
กากับดูแลให ้การนาเงินกองทุนประกันสงั คมไปจัดหา
ประโยชน์ตาม พรบ.นี้
เสนอแนะแนวทางการลงทุน
ปรับปรุงบริหารการลงทุน
แผนการข ับเคลือ
่ นและผล ักด ันร่วมก ัน
• สร ้างการเรียนรู ้เพือ
่ การมีสว่ นร่วมในการผลักดัน ร่าง พ.ร.บ.ฯ
ในระดับพืน
้ ที่ สหภาพ สหพันธ์และระดับองค์กร
ื่ เสนอกฎหมาย จานวน 10,000 รายชอ
ื่
• การเข ้าชอ
• การเข ้าเพือ
่ สนับสนุนการเสนอกฎหมายของสภาผู ้แทนราษฎร
ื่
จานวน 20 คน จานวน 20,000 ชอ
• การแต่งตัง้ คณะทางานในการติดตามความคืบหน ้าของร่าง
พ.ร.บ. , ประสานงานและล ้อบบีก
้ บ
ั ฝ่ ายการเมืองและภาคสว่ น
ต่างๆ ทีเ่ กีย
่ วข ้อง
• การขับเคลือ
่ นกดดันทางสงั คม / ผลักดันเชงิ นโยบาย