- สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์

Download Report

Transcript - สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์

วัสดุในการก่ อสร้ าง: ส่ วนที่ 2/3.2
เรี ยบเรี ยงโดย
รศ.ดร.สิ ทธิชัย แสงอาทิตย์
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
สานักวิชาวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุนารี
1
วัสดุในการก่ อสร้ าง: ส่ วนที่ 2/3 (วัสดุทใี่ ช้ ในงานก่ อสร้ าง)
- เหล็กโครงสร้าง (structural steel)
- คอนกรี ต (Concrete)
- ไม้ (timber)
- อิฐดินเผา (brick)
- ผลิตภัณฑ์คอนกรี ต
- คอนกรี ตบล๊อค (concrete block)
- พื้นคอนกรี ตสาเร็ จรู ป (precast concrete slab)
- เสาเข็มคอนกรี ต (concrete pile)
- ท่อคอนกรี ตเสริ มเหล็ก
2
ไม้ (Timber)
3
ไม้ (Timber)
ไม้เป็ นวัสดุพ้นื ฐานที่ถูกนามาใช้ในงานก่อสร้าง
มาเป็ นเวลานานแล้ว ในปัจจุบนั เนื่องจากป่ าไม้มี
จานวนลดลงมาก ทาให้ไม้มีราคาแพง ซึ่งเป็ นผลทา
ให้มีการนาวัสดุอื่นๆ เช่น เหล็กและคอนกรี ต มาใช้
แทนไม้มากขึ้น อย่างไรก็ตาม การใช้ไม้กย็ งั คงเห็น
อยูไ่ ด้ทวั่ ไป โดยเฉพาะในการก่อสร้างที่อยูอ่ าศัย
เนื่องจากไม้มีความสวยงาม
4
ลักษณะของเนือ้ ไม้
สมบัติต่างๆ ของไม้ถูกกาหนดโดยลักษณะของเนื้อไม้
เปลือกไม้
ชั้นของเยือ่ เจริ ญ - มีหน้าที่ในการ
สร้างเซลล์ให้กบั ต้นไม้
กระพี้ - ชั้นสะสมอาหารของต้นไม้
แกนไม้ - ชั้นของเนื้อไม้ภายในที่
มักมีสีเข้มที่สุด ซึ่งเป็ นชั้นไม้ที่มี
ความแข็งแรงและทนทาน
วงปี - ลายวงที่เป็ นชั้นๆ ของกระพี้
และแกนไม้
รัศมีไส้ - ลายเส้นที่อยูใ่ นแนวรัศมี
ของไม้
5
ตาหนิของไม้ (Defects in lumber)
มีผลกระทบต่อกาลัง ความคงทน และการใช้งานของไม้
แอ่น
คด
บิด
เบ้า
• เช็ค (Check) คือรอยแตกตามความยาวของ
ไม้ตดั ข้ามวงปี เนื่องจากการแห้งตัวที่ไม่
สม่าเสมอของไม้
• เชค (Shake) คือรอยแตกตามเสี้ ยน ระหว่าง
วงปี ซึ่ งมักเกิดจากการกระทาของลม
• เวนน์ (Wayne) เป็ นรอยเปลือกไม้ที่เกิด
จากการตัดไม้ใกล้กบั เปลือกไม้มากไป
• ตาไม้ (Knots) - ถ้าตาไม้อยูใ่ นส่ วนของคาน
ที่ตอ้ งรับแรงดึงแล้ว กาลังจะมีค่าลดลงมาก
• พิทช์พอคเกท (Pitch pocket) เป็ นช่องว่าง
ระหว่างวงปี ของไม้และมียางไม้อยู่
6
มาตรฐานการทดสอบ
ASTM D143: Standard Methods of Testing Small Clear Specimens of
Timber
ASTM D198: Standard Methods of Static Tests of Timbers in Structural
Sizes
สมบัติทางกลของไม้ที่ทดสอบได้
Compressive strength parallel to the grain
Modulus of elasticity parallel to the grain
Tensile strength parallel to the grain
Compressive strength perpendicular to the grain
Modulus of rupture (bending strength)
Longitudinal shear strength (horizontal shear)
7
Shear modulus
สมบัติของไม้
ไม้เป็ นวัสดุออโทโทรปิ ค (orthotropic material) โดยมีสมบัติทางกลที่
แตกต่างกันในแกนตั้งฉากหลัก 3 แกน: ในแนวแกน ในแนวรัศมี และในแนว
เส้นสัมผัสวงปี
8
ไม้มี stress-strain curve ซึ่งขึ้นอยูก่ บั ทิศทางการทดสอบ
Stress-strain ขนานไปกับเสี้ ยนไม้
(คล้ายคลึงกับวัสดุเปราะ)
Stress-strain ตั้งฉากกับเสี้ ยนไม้
(คล้ายคลึงกับวัสดุเหนียว )
จุด proportional limit ถูกใช้กาหนดกาลังรับแรงในช่วงยืดหยุน่ ของไม้
(elastic strength) เนื่องจากไม้ไม่มีจุด yielding ที่ชดั เจน
9
ตัวอย่ างสมบัติทางกลของไม้ ชนิดต่ างๆ ในประเทศไทย
เหล็ก
7.8
เหล็ก
1,200 2,000,000
10
กาลังรับแรงดึงของไม้
 แรงดึงในแนว ┼ กับเสี้ ยนไม้ทาให้เสี้ ยนไม้แตกแยกออกจากกัน
ทาให้กาลังรับแรงดึงของไม้ในแนวดังกล่าวมีค่าประมาณ 1/10
ของกาลังรับแรงดึงของไม้ในแนว // เสี้ ยนเท่านั้น
11
 กาลังรับแรงดึงของไม้ในแนว // เสี้ ยน >> กาลังรับแรงกดอัดใน
แนว // เสี้ ยน (อาจถึง 3 เท่า) และกาลังรับแรงเฉือนมาก ดังนั้น
ข้อจากัดในการออกแบบไม้รับแรงดึง เช่น ในโครงข้อหมุน คือ ไม้
มักวิบตั ิโดยแรงเฉือนหรื อแรงกดอัด โดยเฉพาะบริ เวณที่มีหน่วย
แรงเข้มข้น (stress concentration) เช่น ที่จุดเชื่อมต่อ
12
กาลังรับแรงกดอัดของไม้
 เมื่อแรงกดอัดกระทาในแนว // เสี้ ยนไม้แล้ว เสี้ ยนไม้ที่แข็งแรง
ที่สุดจะเป็ นตัวรับแรง ดังนั้น การวิบตั ิของไม้จึงเป็ นการวิบตั ิแบบ
เปราะที่เกิดจากการโก่งเดาะของเสี้ ยนไม้เป็ นหลัก โดยเป็ นการแตก
ออกในทิศ // เสี้ ยน
ใช้ในการออกแบบเสาหรื อชิ้นส่ วนรับแรงกดอัด
เช่น เสาและชิ้นส่ วนโครงข้อหมุน
13
กาลังรับแรงกดอัดของไม้
 เมื่อแรงกดอัดกระทาในแนว ┼ กับเสี้ ยนไม้แล้ว เสี้ ยนไม้ที่แข็งแรง
และอ่อนแอจะร่ วมกันรับแรง ดังนั้น กาลังรับแรงกดอัดของไม้ใน
แนวดังกล่าวจะมีค่าน้อยกว่ากาลังรับแรงในแนว // เสี้ ยน 3 ถึง 4 เท่า
และการวิบตั ิของไม้จะเป็ นการวิบตั ิแบบบดแตก (crushing) ของ
เสี้ ยนไม้
ใช้ในการออกแบบชิ้นส่ วนโครงสร้างที่รับ
แรงกด (bearing) เช่น ตรงจุดที่แรงกระทาต่อ
คาน และบริ เวณจุดรองรับ
14
ลักษณะการวิบตั ิของ
ไม้แตกต่างจากของ
คอนกรี ตและ
เหล็กหล่อ เนื่องจากไม้
ประกอบด้ วยเสี้ยนไม้
จานวนมากที่มีการ
จัดเรียงตัวในทิศทาง
ขนานเสี้ยน
ไม้ที่ถูกกระทาโดยแรงกดอัดในแนวตั้งฉากกับเสี้ ยนไม้จะเกิดการอัดแตก
(crushing) ของเนื้อไม้
ไม้ที่ถูกกระทาโดยแรงกดอัดในแนวขนานกับเสี้ ยนไม้จะเกิดการโก่งเดาะ
ของเสี้ ยนไม้ ซึ่งทาให้เกิดการแตกร้าว (rupture) ของเนื้อไม้
15
กาลังรับแรงดัดและความแกร่ งของไม้
- สาคัญเนื่องจากไม้มกั ถูกใช้ทาคาน แป ตง
- ทดสอบแบบกดสามจุดหรื อสี่ จุด โดยมีขนาด 50x50
x750 mm และ span 710 mm
- ขึ้นอยูก่ บั
- กาลังรับแรงกดอัดของไม้ในแนว // เสี้ ยน
- กาลังรับแรงเฉือนของไม้ในแนว // เสี้ ยน
 เมื่อคานไม้มีอตั ราส่ วนของระยะ span ต่อความลึก > 10 แล้ว คานไม้
มักจะวิบตั ิเนื่องจากแรงกดอัดหรื อแรงดึงในแนว // เสี้ ยน
16
 ถ้าคานไม้มีอตั ราส่ วนของระยะ span ต่อความลึก < 10 แล้ว คานไม้
มักจะวิบตั ิเนื่องจากแรงเฉือนในแนว // เสี้ ยน
 ไม้ที่มีค่าความแกร่ งสูงกว่าเป็ นไม้ที่มีเนื้อแน่นมากกว่าไม้ที่มีค่าความ
แกร่ งต่ากว่า
17
การวิบัติของคานไม้
1. วิบตั ิโดยแรงดึงที่ผวิ ด้านนอกสุ ดของตัวอย่างทดสอบที่ถูกกระทาโดยแรงดึง ดูรูป a.) ถึง d.)
2. วิบตั ิโดยแรงกดอัดที่ผวิ ด้านนอกสุ ดของตัวอย่างทดสอบที่ถกู กระทาโดยแรงกดอัด ดูรูป e.)
3. วิบตั ิโดย lateral deflection ของส่ วนของคานไม้ที่ถกู กระทาโดยแรงกดอัด
4. วิบตั ิโดย horizontal shear ไปตามแนวเสี้ ยนบริ เวณแกน neutral axis ของคาน ดูรูป f.)
5. วิบตั ิในลักษณะของการกดอัดบริ เวณที่ concentrated load กระทา
18
ปัจจัยทีม่ ีผลกระทบต่ อกาลังและความแกร่ งของไม้
1. ชนิดของไม้
มาตรฐาน วสท. 1002-16 ได้แบ่งไม้ก่อสร้างออกได้เป็ น 5 ประเภทคือ
- ไม้เนื้ออ่อนมาก
- ไม้เนื้ออ่อน
- ไม้เนื้อแข็งปานกลาง
- ไม้เนื้อแข็ง
- ไม้เนื้อแข็งมาก
19
ตัวอย่ างสมบัติทางกลของไม้ ชนิดต่ างๆ ในประเทศไทย
เหล็ก
2,400 2,000,000
20
2. ปริมาณความชิ้น - เมื่อไม้มีปริ มาณความ
ชิ้นสูงจะทาให้ cellulose/lignin ของเสี้ ยน
ไม้มีความอ่อนตัวลง ทาให้ไม้มีกาลังลดลง
- ไม้สดมีความชื้น 35-55%
- ความชื้นในการใช้งานไม่ควรเกิน 19%
- ทดสอบหาความชื้นของไม้โดยการ
อบแท่งไม้ขนาด 25x25x50 mm ที่
101-105oC จนมีน้ าหนักคงที่
(ประมาณ 24 ชม)
ไม้จะหดตัวเมื่อสูญเสี ยความชื้นและยืดตัว
เมื่อได้รับความชื้น และการเปลี่ยนแปลง
ความชื้นอาจทาให้ไม้บิดได้
FSP = fiber saturation point
21
3. ความถ่ วงจาเพาะ - กาลังและความแกร่ งของไม้ข้ ึนอยูก่ บั ปริ มาณเยือ่ ไม้
(cellulose) ดังนั้น เมื่อไม้มีปริ มาณความชื้นที่เท่ากันแล้ว ไม้ที่มีความ
ถ่วงจาเพาะสูงกว่าจะมีกาลังและความแกร่ งมากกว่าไม้ที่มีความ
ถ่วงจาเพาะต่ากว่า
- เยือ่ ไม้ทุกชนิดมีความถ่วงจาเพาะเท่าๆ กันคือ 1.5
- ความถ่วงจาเพาะของไม้แตกต่างกันเพราะไม้มีการเรี ยงเยือ่ ไม้ไม่
เหมือนกัน
- ไม้ที่ใช้ในการก่อสร้างทัว่ ไปมีความถ่วงจาเพาะ 0.7-1.1 หรื อมีความ
หนาแน่น 700-1,100 kg/m3
22
4. ระยะเวลาในการกระทาของแรง - ถ้าไม้
ถูกกระทาโดยแรงที่มีค่าสูงพอและเป็ น
ระยะเวลานานแล้ว ไม้อาจจะเกิดการ
วิบตั ิโดย creep ขึ้นได้
5. ลักษณะ ขนาด และตาแหน่ งของตาหนิ
ในไม้
23
ขนาดของไม้ ที่ใช้ ในงานโครงสร้ าง
การเรี ยกขนาดหน้าตัดไม้มี 2 แบบคือ
1. ขนาดเดิม (nominal size) เป็ นขนาดหน้าตัดไม้ที่รวมส่ วนที่เสี ย
ไปในการตัดไม้จากซุง ซึ่งขนาดที่แท้จริ งจะเล็กกว่า แต่เป็ นขนาด
ที่ใช้ในการสัง่ ซื้อและคิดราคา
2. ขนาดที่ไสแล้ว เป็ นขนาดหน้าตัดไม้ที่เล็กกว่าขนาดเดิมประมาณ
- 9 mm (3/8 นิ้ว) สาหรับขนาดที่ไม่ใหญ่กว่า 150 mm (6 นิ้ว)
- 13 mm (1/2 นิ้ว) สาหรับขนาดที่ใหญ่กว่า 200 mm (8 นิ้ว)
หมายเหตุ: การสัง่ ไม้ค่อนข้างแปลก เพราะขนาดหน้าตัดมีหน่วยเป็ นนิ้ว
ความยาวมีหน่วยเป็ นเมตร แต่ประมาณที่สงั่ และคิดราคามีหน่วยเป็ น
ลูกบาศก์ฟุต
24
ลักษณะหน้ าตัดไม้ ในท้ องตลาด
1. ไม้พ้นื (plank) ได้แก่ ไม้ที่หนาไม่เกิน 25 mm (1 นิ้ว) แต่
มีความกว้างมาก ใช้ทาพื้น ฝา เชิงชาย ขนาดที่มีขายคือ
ความหนา: 13 (1/2 นิ้ว) 19 (3/4 นิ้ว) 25 (1 นิ้ว) mm
ความกว้าง: 50 (2 นิ้ว) 100 (4 นิ้ว) 150 (6 นิ้ว) 200 (8 นิ้ว) mm
2. ไม้เสา (post) เป็ นไม้หน้าตัดรู ปสี่ เหลี่ยมจัตุรัส มีขนาดที่มี
ขายดังนี้
50 (2 นิ้ว) 75 (3 นิ้ว) 100 (4 นิ้ว) 150 (6 นิ้ว) 200 (8 นิ้ว) mm
Note: ขนาดไม้มาตรฐานจะเป็ นตัวกาหนดขนาดของช่วง
และความสูงของอาคาร
25
ลักษณะหน้ าตัดไม้ ในท้ องตลาด (ต่ อ)
3. ไม้ทาคาน (beam, joist, stringer) ได้แก่ ไม้ที่หนาเกิน 25
mm (1 นิ้ว) แต่มีความกว้าง ใช้ทาตง คาน อกไก่ แป เคร่ า
ขนาดที่มีขายคือ
ความกว้าง: 38 (1.5 นิ้ว) 50 (2 นิ้ว) mm
ความลึก: 75 (3 นิ้ว) 100 (4 นิ้ว) 125 (5 นิ้ว) 150 (6 นิ้ว) mm
200 (8 นิ้ว) 250 (10 นิ้ว) 300 (12 นิ้ว) mm
ที่มา: www.thaiengineering.com
26
ไม้ ที่ใช้ ทาแบบหล่อคอนกรีต
แบ่งตามลักษณะการใช้งานได้ 2 ชนิดคือ
1. ไม้ แบบ - เป็ นไม้ทาแบบหล่อคอนกรี ต
มักหนา 25 mm (1 นิ้ว) กว้าง 100 mm (4
นิ้ว) ขึ้นไป
2. ไม้ ยึดแบบและคำ้ ยัน - เป็ นไม้สาหรับยึดไม้แบบและใช้ค้ ายันรับ
น้ าหนักคอนกรี ตในขณะที่คอนกรี ตยังไม่แข็งตัว โดยมักมีขนาด
38x75 mm (1.5x3 นิ้ว)
27
การผุของไม้
1. การผุที่เกิดจากภูมิอากาศ ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและความชื้น
ของอากาศ โดยเฉพาะไม่ที่อยูใ่ นสภาพเปี ยกและแห้งสลับกันไป
ถ้าไม้อยูใ่ ต้ระดับน้ าตลอดเวลาจะไม่ผโุ ดยความชื้น เช่น เสาเข็มไม้ใน
กทม. จะต้องตอกให้อยูใ่ ต้ระดับน้ าใต้ดิน
2. การผุที่เกิดจากเชื้อรา โดยจะกินเนื้อไม้ ทาให้เนื้อไม้ยยุ่ การอบแห้งไม้
จะช่วยกาจัดเชื้อรา และการป้ องกันที่ดี คือป้ องกันไม้จากความชื้น และ
อากาศ โดยการเคลือบไม้ดว้ ยสารเคมี
28
แมลงทาลายไม้
ได้แก่ ปลวกและมอด โดยจะกินเนื้อไม้
จากภายในและดูไม่ออกจากภายนอก
โดยปลวกจะทิ้งเศษไม้เป็ นผงเล็กๆ ขนาดเม็ดน้ าตาลทรายละเอียดในบริ เวณ
ที่ปลวกกิน ส่ วนมอดจะมีขยุ เป็ นผงตกอยูห่ รื อทิ้งคาอยูบ่ นไม้
การป้ องกันปลวกทาได้ 2 วิธีคือ
1. การป้ องกันที่ตวั ไม้ โดยการทาหรื อเคลือบน้ ายาป้ องกันปลวก
2. การป้ องกันไม่ให้ปลวกเข้าถึงตัวไม้ เช่น การพ่นน้ ายากันปลวกบน
ดิน ซึ่งอาจทาทั้งบริ เวณบ้าน หรื อทาเฉพาะรอบๆ บ้าน การไม่ใช้ไม้
ในการก่อสร้างในส่ วนที่สูงจากพื้นดินน้อยกว่า 1 เมตร และการใช้
29
โล่ห์กนั ปลวก
การป้องกันไฟไหม้ ไม้
เมื่อไม้ถูกไฟไหม้จนมีอุณหภูมิประมาณ 150 oC
แล้ว gas ไวไฟในไม้จะระเหยออกมาและติดไฟ ทา
ให้ผวิ ไม้ไหม้เป็ นถ่าน
เมื่อไม้มีอุณหภูมิประมาณ 200oC แล้ว ไม้จะเริ่ มไหม้ โดยไม้ขนาด
เล็กจะไหม้ไฟเร็ วกว่าไม้ขนาดใหญ่ เพราะไม้ช้ นั นอกที่ไหม้เป็ นถ่าน
จะทาหน้าที่เป็ นฉนวนกันความร้อนให้กบั ไม้ดา้ นใน
ไม้จะถูกทาให้ทนไฟได้สูงขึ้นโดยการอัดสารเคมี เช่น โมโน
แอมโมเนียฟอสเฟต ไดแอมโมเนียฟอสเฟต โมโนแมกนีเซียมฟอสเฟต
และกรดฟอสเฟอริ ค เข้าไปในเนื้อไม้โดยใช้ความดัน
30
สารเคมีรักษาไม้
สารเคมีที่ใช้ทาหรื ออัดเข้าไปในเนื้อไม้ภายใต้ความดันเพื่อรักษาเนื้อ
ไม้ที่นิยมใช้มีดงั นี้
1. ครี โอโสท (creosote) เป็ นสารเคมีที่ไม่ละลายน้ า ติดไม้ทนนาน แต่
ทาสี ทบั ไม่ค่อยติด โดยป้ องกันการผุและแมลงกินไม้ได้ดี แต่กลิ่นเหม็น
มาก จึงใช้เฉพาะในอาคารที่ไม่ใช่ที่อยูอ่ าศัย เช่น เสาเข็ม เสารั้ว
2. สารพวกเกลือที่ละลายน้ าได้ เช่น Wolman salt (ชื่อการค้าของ
บริ ษทั Koppers) ใช้ทาหรื ออัดเข้าไปในเนื้อไม้ โดยทาสี ทบั ได้ดี
3. สารอินทรี ย ์ เช่น เพนตาคลอโรฟี นอล (Pentachlorophenal) ใช้ทา
เนื้อไม้ป้องกันเชื้อราและแมลง เมื่อแห้งจะไม่ละลายน้ า ทาสี ทบั ได้ดี และ
ไม่มีกลิ่น
31
32
ข้ อดีและข้ อเสี ยในการใช้ ไม้ ในการก่อสร้ าง
ข้ อดี
1. ความสวยงาม
2. ความง่ายในการก่อสร้างและนามาใช้ใหม่
3. อัตราส่ วนของกาลังต่อน้ าหนักที่สูง
4. เป็ นฉนวนกันความร้อนที่ดีเยีย่ ม
5. ทนทาน - ถ้าได้รับการออกแบบ ก่อสร้าง และดูแลรักษาที่เหมาะสม
33
ข้ อเสี ย
1. สมบัติที่ไม่แน่นอน - สมบัติของไม้มีการ
เปลี่ยนแปลงไปตามชนิดของไม้จากส่ วนหนึ่งของ
ต้นไม้ไปยังอีกส่ วนหนึ่ง และจากพื้นที่ที่ตน้ ไม้
เติบโต
2. การตอบสนองต่อสภาวะแวดล้อม - อุณหภูมิและความชื้นทาให้ไม้มี
การเปลี่ยนแปลงกาลัง ความแกร่ ง และขนาด
3. มีพฤติกรรมที่ข้ ึนอยูก่ บั เวลา – เกิดการคืบ (creep) ขึ้น
4. ผุกร่ อนได้ง่าย - ถ้าโครงสร้างไม้ไม่ได้รับการดูแลรักษาที่ดี
34
ไม้ อดั (plywood)
เป็ นไม้แผ่นที่ได้จากการนาไม้แผ่นบาง (หนา 2.5-6.5 mm) 3-7 แผ่น
มาอัดติดกันเป็ นแผ่นด้วยกาว โดยทัว่ ไปจะมีแนวเสี้ ยนตั้งฉากกันใน
ลักษณะที่ทาให้ไม้อดั สมดุลย์ ดังนั้น ไม้อดั จึงมีสมบัติทางกลดีท้ งั
สองทิศทาง ไม่ค่อยบิดงอ และมีการหดหรื อขยายตัวในระนาบน้อย
ที่มา: สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 3
โดยไม้แผ่นบางได้จากการปอกหรื อฝานต้นซุงที่มีความชื้นสู ง โดยการ
35
อบไอน้ า เพื่อป้ องกันการแตกของไม้ผวิ
ขนาดมาตรฐาน: กว้าง 1.2 m ยาว 2.4 m
และหนา 4, 6, 10, 15 และ 22 mm
ไม้อดั ต้องมีความชื้น 9-15% โดย
ทดสอบเหมือนไม้ ใช้ ตย. 75x150 mm
ที่มา: http://www.thaiplywood.com/thai/npro-ply.php
มอก. 178-2538 กาหนดแผ่นไม้อดั ออกเป็ น 3 ประเภทตามลักษณะการใช้
งาน คือ
1. ประเภท I ใช้งานภายนอก (Exterior Plywood)
เป็ นไม้อดั ที่ผลิตด้วยกาวพิเศษ ซึ่งทนทานต่อสภาพลมฟ้ าอากาศได้ดี
เหมาะสาหรับใช้งานภายนอกอาคารหรื อในที่ซ่ ึงถูกน้ าหรื อเปี ยกชื้น เช่น
ผนังภายนอก แบบหล่อคอนกรี ตและต่อเรื อ
36
2. ประเภท II ใช้งานภายใน (Interior Plywood)
เป็ นไม้อดั ที่ผลิตด้วยกาว ซึ่งทนความเปี ยกชื้นในเวลาจากัด เหมาะ
สาหรับใช้ในงานภายในอาคาร หรื อในที่ซ่ ึงไม่ถูกละอองน้ า เช่น ตกแต่งผนัง
ภายใน เฟอร์นิเจอร์ และฝ้ าเพดาน
3. ประเภท III ใช้งานชัว่ คราว
เป็ นไม้อดั ที่ผลิตด้วยกาว ซึ่งไม่ทนความเปี ยกชื้น เหมาะสาหรับใช้งาน
ชัว่ คราว เช่น ทาลังบรรจุสิ่งของหรื อป้ ายโฆษณากลางแจ้งในระยะสั้น
37
มอก. 178-2538 กาหนดชั้นคุณภาพของไม้อดั เป็ น 3 ชั้นตามลักษณะของ
ไม้บางที่ทาเป็ นไม้หน้าและไม้
ชั้นที่ 1 - ไม้ช้ นั นอกต้องเป็ นแผ่นเดียวหรื อสองแผ่นต่อกันประมาณ
กึ่งกลาง โดยมีสีเรี ยบสนิทกลมกลืนกัน (การต่อแผ่นไม้บางทาได้เฉพาะใน
ชั้นแนวขนานเสี้ ยนเท่านั้น) ไม่มีรอยผุ ตา รู แมลง และตาหนิอื่นๆ
ชั้นที่ 2 - ไม้ที่ต่อไม่จาเป็ นต้องมีสีกลมกลืนกันหรื อมีหน้ากว้างเท่ากัน
อาจมีตาไม้ 2-3 ตา มีรูมอดเล็กน้อย มีรอยแตกกว้างไม่เกิน 1 mm และมีรอย
ปะได้บา้ ง แต่ตอ้ งแนบสนิท
ชั้นที่ 3 – มีตาหนิและรู แมลงได้มากกว่าชั้นที่ 1 และ 2 และอาจมีรอยฉีก
แต่ตอ้ งไม่มีผลเสี ยต่อการใช้งาน
38
อิฐดินเผา (Brick)
39
อิฐดินเผา (Brick)
มาตรฐาน ASTM นิยามอิฐดินเผาตันและอิฐดินเผากลวงไว้ดงั นี้
อิฐดินเผาตันเป็ นอิฐที่มีพ้นื ที่หน้าตัดสุ ทธิในการรับแรง
แบกทานในทุกๆ ระนาบที่ขนานกับพื้นที่รับแรงดังกล่าวที่
ไม่นอ้ ยกว่า 75%
อิฐดินเผากลวงเป็ นอิฐที่มีพ้นื ที่หน้าตัดสุ ทธิอยูร่ ะหว่าง
40%-75%
การที่อิฐดินเผามักจะมีรูกลวงก็เพื่อทาให้อิฐถูกเผาได้
อย่างสมบูรณ์ ซึ่งทาให้อิฐมีกาลังรับแรงต่างๆ ที่สูงขึ้น
40
 วัสดุก่อ (masonry) เป็ นวัสดุประกอบที่ได้จากการนาก้อนอิฐดินเผา
(masonry brick) หรื อคอนกรี ตบล็อก (concrete masonry unit) มา
จัดเรี ยงในรู ปแบบต่างๆ และใช้ปูนก่อ (mortar) เป็ นตัวประสาน
 ปูนก่อได้จากการผสมปูนซีเมนต์ซิลิกา (เช่น ปูนตราเสื อ) ทราย และน้ า
หรื อปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ (เช่น ปูนตราช้าง) ปูนขาว ทราย และน้ า ใน
อัตราส่ วนที่พอเหมาะ
41
อิฐดินเผาเป็ นวัสดุเปราะมีกาลังรับแรงกดอัดที่ค่อนข้างสูงและมีกาลังรับแรง
ดึงต่า โดย ASTM C62 แบ่งอิฐดินเผาที่ใช้ในการก่อสร้างออกเป็ น 3 เกรดคือ
1. Severe weathering หรื อ SW ต้านทานการกัดกร่ อนสูงและมีกาลังรับแรง
กดอัดไม่นอ้ ยกว่า 20.7 MPa จากค่าเฉลี่ยอย่างน้อย 5 ก้อน
2. Moderate weathering หรื อ MW ต้านทานการกัดกร่ อน
ได้ปานกลางและมีกาลังรับแรงกดอัดไม่นอ้ ยกว่า 17.3
MPa จากค่าเฉลี่ยอย่างน้อย 5 ก้อน
3. No weathering หรื อ NW ต้านทานต่อการกัดกร่ อนได้
ต่า มักใช้ภายในอาคาร และมีกาลังรับแรงกดอัดไม่นอ้ ย
กว่า 10.3 MPa จากค่าเฉลี่ยที่อย่างน้อย 5 ก้อน
42
สมบัติของอิฐดินเผา
กาลังรับแรงกดอัด
กาลังรับแรงกดอัดของอิฐดินเผาขึ้นอยูก่ บั
ชนิดของดินเหนียวที่ใช้ในการผลิต
กรรมวิธีการผลิต
ระดับที่ดินเหนียวถูกเผา
สาหรับอิฐที่ทาจากดินเหนียวชนิดเดียวกันและกรรมวิธีการผลิตที่
เหมือนกันแล้ว อิฐที่ถูกเผาที่อุณหภูมิสูงกว่าและเป็ นเวลาที่นานกว่า
จะเป็ นอิฐที่มีกาลังสูงกว่า
43
เปอร์ เซ็นต์ การดูดซึมนา้ และค่ าสั มประสิ ทธิ์การอิม่ ตัว
- ดัชนีที่บ่งบอกถึงความคงทนแข็งแรงและกาลังของอิฐดินเผา
ถ้าอิฐมี % การดูดซึมน้ าและค่าสัมประสิ ทธิ์การอิม่ ตัวที่ต่าแล้ว
อิฐดังกล่าวจะมีความพรุ นน้อยกว่าอิฐที่มี % การดูดซึมน้ าและ
ค่าสัมประสิ ทธิ์การอิ่มตัวที่สูงกว่า
อัตราการดูดซึมนา้ เริ่มต้ น
รุ พรุ นที่อยูใ่ นอิฐดินเผาจะดูดน้ า (โดยเฉพาะจากปูนก่อ) เข้าสู่อิฐหรื อ
suction ซึ่งจะทาให้พนั ธะ (bond) ที่จะเกิดขึ้นระหว่างอิฐและปูนก่อไม่
สมบูรณ์ และจะทาให้น้ าซึมผ่านรอยต่อของอิฐและปูนก่อได้ง่าย
44
มาตรฐานการทดสอบ
- ASTM C67: Methods of sampling and Testing Brick and Structural
Clay Tile.
- ASTM C109: Test Method for Compressive Strength of Hydraulic
Cement Mortar.
- ASTM C190: Test Method for Tensile Strength of Hydraulic Cement
Mortar.
- ASTM C1072: Method for Measurement of Masonry Flexural Bond
Strength.
- ASTM E518: Test Methods for Flexural Bond Strength of masonry.
45
ข้ อดีและข้ อเสี ยในการใช้ อฐิ ก่อในการก่อสร้ าง
ข้ อดี
1. มีความแข็งแรงและคงทน
2. มีความทึบเสี ยงสูง
3. มีความต้านทานต่อไฟไหม้สูง
4. เก็บรักษาอุณหภูมิภายในตัวโครงสร้างได้ดี
5. มีความสวยงามเนื่องจากสามารถที่จะนามาก่อสร้างให้มีรูปแบบใดๆ ได้
6. มีราคาค่อนข้างถูกและค่าบารุ งรักษาต่า
7. ไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อมมากเท่าวัสดุชนิดอื่นๆ เช่น คอนกรี ตและเหล็ก
ข้ อเสี ย
1. การวิเคราะห์และออกแบบที่ตอ้ งการรายละเอียดที่สูงและถูกต้อง
2. การก่อสร้างโครงสร้างอิฐก่อต้องใช้ฝีมือแรงงานที่มีคุณภาพสูง
46
จบการบรรยาย
ส่ วนที่ 3.2
47