การบริหารการผลิตและปฏิบัติการ

Download Report

Transcript การบริหารการผลิตและปฏิบัติการ

การบริหารการผลิตและปฏิบัติการ
ผศ.ธนรัตน์ แต้ วฒ
ั นา
รองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ระบบการผลิต
มูลค่ าเพิม่
ปัจจัยนำเข้ ำ
-เงินลงทุน
-วัสดุ
-เครื่ องมือ
-แรงงาน
ระบบกำรแปรรูป
-การแปลงสภาพ
-การขนส่ง
-การเก็บรักษา
-การตรวจสอบ
ข้อมูล
ดาเนินงาน
ผลลัพธ์
-สิ นค้า
-บริ การ
-ความคิด
-ความสูญเสี ย
-ของเสี ย
ดาเนินงาน
การติดตาม
ตรวจสอบและควบคุม
ข้อมูล
ความแตกต่ างระหว่ างผลิตภัณฑ์ และบริการ
ผลิตภัณฑ์
•
•
•
•
•
•
จับต้องได้เป็ นรู ปธรรม
มีความเกี่ยวข้องกับลูกค้าน้อย
ลูกค้ามีส่วนร่ วมในการผลิตน้อย
สามารถบริ โภคเมื่อไรก็ได้
ใช้เครื่ องมือเครื่ องจักรในการผลิต
วัดและประเมินคุณภาพได้ง่าย
บริ การ
•
•
•
•
•
•
ไม่สามารถจับต้องได้
มีความเกี่ยวข้องกับลูกค้ามาก
ลูกค้ามีส่วนร่ วมมาก
ต้องบริ โภคทันที
ใช้แรงงานเป็ นส่ วนใหญ่
วัดและประเมินคุณภาพได้ยาก
กลยุทธ์ ทนี่ ิยมใช้ ในการผลิต
 กลยุทธ์สร้างความแตกต่าง เช่น ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านบริ การและ
ภาพลักษณ์
 กลยุทธ์การเป็ นผูน้ าด้านต้นทุน เช่น มุ่งความเป็ นมาตรฐานเพื่อลด
ต้นทุน เกิดความประหยัดของขนาดผลิต เป็ นต้น
 กลยุทธ์การตอบสนองอย่างรวดเร็ ว เช่น การพัฒนาสิ นค้าใหม่ การ
ปรับปรุ งสิ นค้าเดิม การส่ งมอบได้ทนั เวลา และการให้ความสาคัญ
ในการตอบคาถามลูกค้า เป็ นต้น
กลยุทธ์ ใหม่ ในการผลิต
• Quality-based บูรณาการทุกส่ วนขององค์การให้เกิดคุณภาพเพื่อสร้างความ
พึงพอใจให้กบั ลูกค้า โดยไม่มองเฉพาะสิ นค้าสาเร็ จรู ปหรื อบริ การ แต่จะ
เริ่ มตั้งแต่กระบวนการออกแบบ,ผลิตจนถึงการบริ การหลังการขาย
• Time-based เป็ นการลดเวลาในแต่ละองค์ประกอบของทุกกิจกรรม ทาให้
ค่าใช้จ่ายน้อยลง,ผลผลิตสูงขึ้นตลอดคุณภาพมีแนวโน้มที่ดีข้ ึน เริ่ มที่เวลา
ในการวางแผน,เวลาที่ใช้ในการออกแบบ,เวลาในการเปลี่ยนชนิดสิ นค้า
หรื อบริ การ และเวลาในการจัดส่ ง
กำรบริหำรคุณภำพ
• คุณภาพ(Quality)หมายถึง ลักษณะของผลิตภัณฑ์หรื อ
บริ การ ที่ทาให้เกิดความพึงพอใจหรื อตอบสนองความต้องการ
ของลูกค้า และต้องอยูภ่ าพใต้ตน้ ทุนการดาเนินงานที่เหมาะสม
• มาตรฐาน(Standard)เป็ นระดับชั้นและความสม่าเสมอ
ในคุณลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ที่ทาการผลิต ซึ่งใช้เป็ นแนวทาง
ในการปฏิบตั ิงาน
มิตขิ องคุณภาพ(ตัวอย่ างรถยนต์ )
มิติ
สมรรถนะ
ลักษณะพิเศษ
•ความปลอดภัย
•สวยงาม
•สะดวก
•Hi-tech
ผลิตภัณฑ์
ใช้งานเป็ นปกติ,ใช้วสั ดุ
คุณภาพดี
บริการ
สามารถซ่อมได้,ราคายุติธรรม,
มิตรจิต,สุ ภาพ
ABS,airbags
พื้นที่ลกู ค้ารอคอย
สะอาด/เป็ นสัดส่ วน
หาง่าย,พร้อมเรี ยกใช้
ใช้คอมพิวเตอร์ตรวจวินิจฉัย
ตกแต่งภายใน
ควบคุมง่าย,ใช้สอย
CD,กันขโมย
มิตขิ องคุณภาพ(ตัวอย่ างรถยนต์ )
มิติ
ความเชื่อมัน่
ผลิตภัณฑ์
ไม่เสี ยบ่อย,นานๆที
บริการ
ซ่อมแก้ไขตรงอาการ,ตรงเวลา
ความคงทน
ทนต่อการสึ กหรอและกัด
กร่ อน,ใช้งานเต็มที่
อันดับต้นๆ
ทางานเกินเวลา
คุณภาพที่โดดเด่น
รางวัลจากการแข่งขันการ
บริ การต่างๆ
บริ การหลังการขาย รับเรื่ องราวติชมหรื อความ รับฟังการติชมของลูกค้า
ต้องการลูกค้าต่างๆ
มำตรฐำนในกำรควบคุมคุณภำพ
•
•
•
•
•
•
•
•
มาตรฐานการออกแบบ
มาตรฐานของแบบ
มาตรฐานวัตถุดิบ
มาตรฐานการตรวจสอบ
มาตรฐานการทดสอบ
มาตรฐานเครื่ องจักร
มาตรฐานการผลิต
มาตรฐานการซ่อมบารุ ง
•
•
•
•
•
•
มาตรฐานการควบคุมการผลิต
มาตรฐานชิ้นส่ วน
มาตรฐานผลิตภัณฑ์
มาตรฐานหี บห่อ
มาตรฐานการบริ การลูกค้า
มาตรฐานการใช้งานของ
ผลิตภัณฑ์
จุดตรวจสอบทีส่ าคัญ
•
•
•
•
•
•
•
ตรวจสอบก่อนจะทางานในขั้นตอนที่มีค่าใช้จ่ายสูง
ตรวจสอบหลังจากผ่านขั้นตอนของงานที่มีโอกาสผลิตของเสี ยได้มาก
ตรวจสอบก่อนที่ชิ้นงานจะสร้างความเสี ยหายให้กบั เครื่ องจักร
ตรวจสอบถึงขั้นตอนการประกอบที่ถอดออกมาทาใหม่ไม่ได้
ตรวจสอบก่อนการรับเข้าเก็บในคลังพัสดุ
ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ที่เสร็ จแล้ว
ตรวจสอบก่อนนาส่ งลูกค้า
ความหมายของการออกแบบผลิตภัณฑ์
• การวิเคราะห์ขอ้ มูลต่างๆ เกี่ยวกับหน้าที่ใช้สอยของ
ผลิตภัณฑ์
(Function) ข้อมูลเกี่ยวกับผูบ้ ริ โภค(Consumer,User) ข้อมูล
เกี่ยวกับการตลาด(Market) แล้วนามาออกแบบหรื อปรับปรุ งผลิตภัณฑ์ เพื่อชัก
จูงผูบ้ ริ โภคเกิดความกระหายที่จะซื้ อผลิตภัณฑ์น้ นั
กระบวนการในการออกแบบผลิตภัณฑ์
Idea
generation
Feasibility
study
Product Yes Preliminary
feasible?
design
No
Final
design
Prototype
Process
planning
Design & Manufacturing
Specifications
Manufacturing
สิ่ งที่จะต้ องคานึงถึงในการออกแบบผลิตภัณฑ์
• กลุ่มเป้ าหมาย
คือกลุ่มที่เป็ นผูบ้ ริ โภคผลิตภัณฑ์
อาจจะเป็ น ผูช้ าย ผูห้ ญิง เด็ก คนชรา
หมา แมว หรื ออาจเป็ นสัตว์
ประหลาด ซูเปอร์แมน ทาร์ซาน ซึ่ ง
จะต้องออกแบบอย่างไรให้เหมาะสม
กับกลุ่มเป้ าหมาย
สิ่ งที่จะต้ องคานึงถึงในการออกแบบผลิตภัณฑ์
• รสนิยม(Style)
เป็ นเรื่ องของจิตวิทยา ถ้า
กลุ่มเป้ าหมายมีฐานะดีและมีรสนิยม
สูง จะออกแบบอย่างไรเพื่อให้เข้ากับ
รสนิยมของกลุ่มเป้ าหมายที่สุด หรื อ
เป็ นแบบสมัยใหม่เรี ยบง่าย
สิ่ งที่จะต้ องคานึงถึงในการออกแบบผลิตภัณฑ์
• กายภาพ(Ergonomics)
รู ปร่ างหน้าตาของกลุ่มเป้ าหมายเป็ นอย่างไร สัดส่ วน กริ ยา เช่นขนาดมือ ระดับ
สายตา ความสู ง ฯลฯ ซึ่ งจะต้องนามาใช้ในการออกแบบว่าผลิตภัณฑ์น้ นั ใช้งาน
อย่างไรเกี่ยวข้องกับอวัยวะใดบ้าง
สิ่ งที่จะต้ องคานึงถึงในการออกแบบผลิตภัณฑ์
• ประโยชน์ใช้สอย(Function)
คือ การใช้งาน และหน้าที่ การออกแบบที่ดีผลิตภัณฑ์ตอ้ งสามารถใช้งานได้ดีดว้ ย
สิ่ งที่จะต้ องคานึงถึงในการออกแบบผลิตภัณฑ์
• รู ปแบบของผลิตภัณฑ์
เกิดจากการนาเอารู ปทรงต่างๆ ต่อไปนี้มาดัดแปลง เช่น
•ปิ รามิด
•รู ปทรงไข่
•ทรงกรวย
•ทรงกลม
•ทรงลูกบาศก์
•ทรงกระบอก
สิ่ งที่จะต้ องคานึงถึงในการออกแบบผลิตภัณฑ์
• วัสดุ(Material)
วัสดุที่ใช้ในงานออกแบบมีหลาย
อย่าง เช่น ไม้ พลาสติก โลหะ แก้ว
ฯลฯ การเลือกใช้วสั ดุน้ นั ต้อง
สัมพันธ์และเหมาะสมกับ
ผลิตภัณฑ์ คือ มีความแข็งแรง
ทนทาน และสวยงาม
สิ่ งที่จะต้ องคานึงถึงในการออกแบบผลิตภัณฑ์
• การสื่ อความหมาย
 โดยปกติผลิตภัณฑ์ที่สาเร็ จออกมา โครงสร้างทางรู ปร่ างหน้าตาของผลิตภัณฑ์จะ
เป็ นสื่ อแสดงความหมายแทนตัวของมันเองให้ผบู ้ ริ โภคทราบทันทีวา่ มันคืออะไร
และใช้ภาระกิจแบบไหน
 ความต้องการด้านสื่ อความหมายจึงเป็ นสิ่ งที่คู่กนั กับโครงสร้างของผลิตภัณฑ์ที่
ขาดไม่ได้
การเลือกกระบวนการ
• ความหลากหลาย(Variety)
• ความยืดหยุ่น
(Flexibility)
• ปริมาณที่ต้องการ(Volume
)
การคานวณหาความต้ องการกระบวนการ
• จะต้องพยากรณ์ความต้องการแต่ละ
ผลิตภัณฑ์
• จะต้องทราบเวลาที่ใช้ในการผลิตต่อ
ผลิตภัณฑ์
• จะต้องทราบจานวนชัว่ โมง,วันทางาน
ในหนึ่งปี และจานวนผลัด
ตัวอย่ างการหาจานวนกระบวนการ
โรงงานมีเวลาทางาน 8 ชม.ต่อผลัด, ทางาน 250 วัน/ปี ต้องการหาจานวนของเครื่ องจักร
สิ นค้ า
ความต้ องการ/ปี
เวลา/หน่ วย(ชม.)
รวมเวลา(ชม.)
#1
#2
#3
400
300
700
5.0
8.0
2.0
2,000
2,400
1,400
5,800
รวม
ทางาน 8 ชม.x 250 วัน = 2000 ชม./ปี
จานวนเครื่ องจักรที่ใช้ = 5800/2000 = 2.9 ~ 3 เครื่ อง #
การวางผังโรงงาน
• คือการจัดเตรี ยม เครื่ องมือ
เครื่ องจักรและสิ่ งอานวย
ความสะดวกในการผลิต
และติดตั้งในตาแหน่งที่
เหมาะสม
หลักสาคัญพืน้ ฐานของการวางผัง
1.
2.
3.
ความสั มพันธ์ เป็ นการจัดหา
ความสัมพันธ์ของกิจกรรมต่างๆ
เนือ้ ที่ เป็ นการพิจารณาเกี่ยวกับ
เนื้อที่ต่างๆ ของกิจกรรม ทั้ง
จานวน ชนิด และรู ปร่ าง
การปรั บจัดตาแหน่ งที่ ตั้ง เป็ น
การจัดหรื อปรับตาแหน่งของ
กิจกรรมต่างๆ ให้อย่าง
เหมาะสม
การวางผังตามผลิตภัณฑ์ (Product Layout)
ตัวอย่างร้ านขายอาหาร
การวางผังตามผลิตภัณฑ์ (Product Layout)
U-shaped production line
การวางผังตามกระบวนการ(Process Layout)
การเลือกทาเลที่ต้งั
• ใกล้แห่งต่างๆ เช่น วัตถุดิบ, ขนส่ ง เพื่อ
ลดค่าใช้จ่าย
• ใกล้แหล่งลูกค้า เพื่อ JIT
• ใกล้แหล่งแรงงาน
• การสื่ อสาร
• สถานที่ต้ งั ท้องที่ต่างๆ ทัศนคติ
• ภาษี กฎหมาย การขออนุญาตต่างๆ
• คุณภาพและอายุการจัดเก็บ
• อื่นๆ เช่น คู่แข่งในพื้นที่ การขยายใน
อนาคต
การเปรียบเทียบที่ต้งั โรงงานกับบริการ
Manufacturing/Distribution
Service/Retail
ค่าใช้จ่าย
รายรับ/ยอดการซื้อ
ค่าใช้จ่ายในการขนส่ ง
สถิติประชากร : อายุ , รายได้ อื่นๆ
ค่าใช้จ่ายและความพร้อมของพลังงาน อานาจการซื้อในพื้นที่
ค่าแรง/ความพร้อม/ทักษะ
การแข่งขัน
ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง
ความหนาแน่งของลูกค้า
การเข้าออก/ที่จอดรถ
การออกแบบงาน(Job Design)
• Technical feasibility:
– เกี่ยวกับความสามารถทั้งร่ ายกายและจิตใจ
ของแรงงาน
• Economic feasibility:
– เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานที่ต่ามี
ประสิ ทธิภาพ
• Behavioral feasibility:
– เกี่ยวกับการสร้างความพึงพอใจในการทางาน
ให้แก่คนงาน
การขจัดความเบื่อหน่ ายในงาน
1. การขยายงาน(Job enlargement)เป็ นการให้คนเปลี่ยนไป
ทางานอื่นในระดับเดียวกัน เป็ นการกระจายงานในแนวราบ
2. การเพิ่มคุณค่าของงาน(Job enrichment)เป็ นการเพิ่มความ
รับผิดชอบ เป็ นการสอนการบริ หารให้กบั คนงานถือว่าเป็ นการขยายงาน
ในแนวดิ่ง
3. การหมุนเวียนงาน(Job rotation)เป็ นการเปลี่ยนทักษะของงาน
ใหม่ให้สูงขึ้นกว่าทักษะงานเดิม จะช่วยสร้างความยืดหยุน่ ในการทางาน
การวิเคราะห์ วธิ ีการทางาน(Methods Analysis)
• วิเคราะห์รายละเอียดในแต่ละขั้นตอนของ
แต่ละงาน
• แยกขั้นตอนที่เพิ่มมูลค่ากับไม่เพิ่มมูลค่า
• แก้ไขทบทวนขั้นตอนไปสู่ การเพิม่ ผลผลิต
• แก้ไขเอกสารขั้นตอนการปฏิบตั ิการที่เป็ น
มาตรฐาน
การศึกษางาน(Study the Job)
• สั ญลักษณ์ ทใี่ ช้ ในการ
วิเคราะห์ งานด้ วยผัง
การไหล
การวิเคราะห์ งานด้ วยผังการไหล
การวัดงาน(Work Measurement)
• เวลามาตรฐาน(Standard time):
– เป็ นเวลาของการทาชิ้นหนึ่ งเสร็ จ โดยที่สภาพคนงานสมบรู ณ์มีความชานาญ
ปฏิบตั ิภายใต้เครื่ องมือและขั้นตอนทางานที่ปกติ
ประโยชน์ของเวลามาตรฐาน:
– หากาลังการผลิต = เวลาทั้งหมดที่มีในการผลิตต่อวัน / เวลามาตรฐาน
– ค่าแรงในการผลิตของผลิตภัณฑ์
– ช่วยกาหนดจานวนคนงาน
– ใช้ในการวางแผนการผลิต
การกาหนดค่ าตอบแทน(Compensation)
• Time-based systems: จ่ายค่าแรง
ตามเวลาทางาน
• Output-based systems: จ่าย
ค่าแรงตามผลผลิต
• Group incentive plans: ค่า
แรงจูงใจเป็ นกลุ่ม เช่นแบ่งส่ วนกาไร(profit
sharing) แบ่งส่ วนที่ทาให้เกิดประโยชน์
(gain sharing)
การจัดการคลังสิ นค้ าและวัสดุ
• เมื่อใดสมควรสัง่ ซื้อสิ นค้า/
วัตถุดิบ
• ปริ มาณสิ นค้าที่สมควรสัง่ ซื้อ
เป็ นเท่าไร
จุดสั่ งซื้อใหม่ (Reorder Point:ROP)
• เป็ นระดับหรื อจุดของสิ นค้า/วัสดุคงเหลือที่ตอ้ งทาการสัง่ ซื้อสิ นค้า
ใหม่ เพื่อตอบคาถาม “เมื่อใดสมควรสัง่ ซื้อสิ นค้า/วัตถุดิบ”
ปริ มาณสิ นค้าคงเหลือ(หน่วย)
Q
ROP= อัตราความต้องการต่อวัน(d) x ช่วงระยะเวลารอคอยของการสัง่ ซื้ อ(L)
d = ปริ มาณความต้องการใช้สินค้าต่อปี (หน่วย)(D)
จานวนวันทางานทั้งหมดต่อปี (วัน)(W)
ROP
ระยะเวลา(วัน)
ช่วงระยะเวลารอคอย(L)
ตัวอย่ างการหาจุดสั่ งซื้อใหม่
• บริ ษทั แห่งหนึ่งต้องการใช้วตั ถุดิบเม็ดพลาสติกจานวน 8000 ตันต่อปี ซึ่ งบริ ษทั
ทางานทั้งปี 250 วัน และระยะเวลาเฉลี่ยในการสั่งซื้ อแต่ละครั้งนาน 3 วัน
อัตราการใช้สินค้าต่อวัน(d) = D/W = 8000/250
= 32 ตัน/วัน
ดังนั้นจุสั่งซื้ อใหม่(ROP) = d x L = 32 x 3
= 96 ตัน/ครั้ง
หากเม็ดพลาสติกในคลังลดต่าลงเหลือ 96 ตัน จะต้องดาเนินการสั่งซื้ อเพิ่มทันที
ปริมาณการสั่ งซื้อทีป่ ระหยัด(Economic Order Quantity :
EOQ)
• เหมาะสาหรับการใช้งานกับวัสดุ
คงคลังที่สงั่ ซื้อเป็ นครั้งๆ โดย
ไม่ได้ดาเนินงานหรื อจัดส่ งอย่าง
ต่อเนื่อง และต้องเก็บรักษาสิ นค้า
คงเหลือบางส่ วน ซึ่งจะพิจารณา
การเปรี ยบเทียบต้นทุนการสัง่ ซื้อ
และต้นทุนการเก็บรักษา
การคานวณหาปริมาณการสั่ งซื้อที่ประหยัด
Q = ปริมาณการสั่ งซื้อทีป่ ระหยัด(หน่ วย/ครั้ง)
D = ปริมาณความต้ องการสิ นค้ าในแต่ ละปี (หน่ วย/ปี )
S = ต้ นทุนการสั่ งซื้อแต่ ละครั้ง(บาท/ครั้ง)
H = ต้ นทุนการเก็บรักษาต่ อหน่ วย(บาท/หน่ วย/ปี )
Q
• ต้นทุนการสัง่ ซื้ อแต่ละปี
D.S

Q
• ต้นทุนการเก็บรักษาในแต่ละปี
Q .H

2
• ต้นทุนรวมในแต่ละปี (TAC)
D .S

 Q
2DS
H
 Q .H 
 2 

 
ตัวอย่ างของการตัดสิ นใจในการสั่ งซื้อ
•
โรงงานผลิตปากกาผลิตได้วนั ละ 500 ด้าน โรงงานจะต้องใช้สปริ ง
การประกอบ 1 ด้าม ใช้สปริ ง 1 ชิ้น โดยมีราคา 1 บาทต่อชิ้น มี
ต้นทุนการสัง่ ซื้อ 90 บาทต่อครั้ง ต้นทุนการเก็บรักษาเท่ากับ 15%
ของราคา ถ้าบริ ษทั ขายสปริ งเสนอเงื่อนไขลด 5% สาหรับซื้ออย่าง
น้อย 20000 ชิ้น ให้หา
1. ปริ มาณการสัง่ ซื้อที่ประหยัด และต้นทุนรวม
2. หาต้นทุนแต่ละทางเลือก
ปริมาณการสั่ งซื้อทีป่ ระหยัดและต้ นทุนรวม1
D = 500 ชิ้น/วัน หรื อ 500x250วัน = 125000 ชิ้น/ปี
S = 90 บาท/ครั้ง
H = (0.15)(1) = 0.15 บาท/ชิ้น/ ปี
2( 90)(125000)
Q
 12247
(0.15)
 125000(1)  (90)
ต้นทุนรวม
 126837.12
ชิ้น/ครั้ง
125000 (0.15)12247

12247
2
บาท/ปี
หาต้ นทุนแต่ ละทางเลือก
• ส่ วนลด 5% สาหรับการสั่งซื้ ออย่างน้อย 20000 ชิ้น/ครั้ง
ราคาขายสปริ ง = 1-0.05 = 0.95 บาท/ชิ้น
ต้นทุนรวม
 (125000)( 0.95) 
 120737.50
( 90)125000 ( 0.15)( 0.95) 20000

20000
2
บาท/ปี
จำกทั้งสองทำงเลือก แสดงให้ เรำเห็นว่ ำ ถ้ ำรับส่ วนลดอีก 5% และสั่ งสปริง
20000 ชิ้น/ครั้ง จะมีต้นทุนน้ อยทีส่ ุ ด ดังนั้นควรเลือกที่ 2
แบบวิเคราะห์ ทจี่ ุดคุ้มทุน
เป็ นการวิเคราะห์เพื่อหาปริ มาณที่ผลิตที่ทาให้มีค่าเท่ากับต้นทุน
การผลิตและการดาเนินงาน ซึ่งประเภทต้นทุนได้แก่
• ต้นทุนคงที่(Fixed cost)คือต้นทุนที่มีค่าคงที่ในขณะที่ปริ มาณ
การผลิตคงที่ เช่น ค่าเครื่ องจักร ค่าเสื่ อมราคา และค่าเช่าเป็ นต้น
• ต้นทุนผันแปร(Variable cost)คือต้นทุนที่เปลี่ยนแปลงไปตาม
ปริ มาณสิ นค้าที่ผลิต เช่น วัตถุดิบ และค่าแรงงานทางตรง เป็ น
ต้น
แบบวิเคราะห์ ทจี่ ุดคุ้มทุน
จานวนเงิน
รายรับ
จุดคุม้ ทุน
รายจ่าย
ต้นทุนผัน
แปร
ต้นทุนคงที่
F
BEP 
P V
F = ต้นทุนคงที่
P = ราคาต่อหน่วย
V = ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย
ตัวอย่ างการวิเคราะห์ แบบจุดคุ้มทุน
• ผูจ้ ดั การโรงงานแห่งหนึ่ งต้องการทราบว่าเขาจะต้องผลิตสิ นค้ากี่หน่วยจึง
จะคุม้ ทุนโดยที่สายการผลิตมีตน้ ทุนคงที่ 10,000 บาท ต้นทุนผันแปร 50
บาทต่อหน่วย และสิ นค้ามีราคาขาย 75 บาทต่อหน่วย
F
10000
BEP 

 400Unit
P V
75  50
เป็ นเงิน = (400)(75) = 30,000 บำท
ดังนั้นเขำจะต้ องผลิตอย่ ำงน้ อย 400 หน่ วย หรือคิดเป็ นมูลค่ ำสิ นค้ ำ 30,000 บำท