การเจรจาด้ านการเปิ ดตลาดสินค้ า FTA ไทย-สหรัฐฯ อภิรดี ตันตราภรณ์ กรมเจรจาการค้ าระหว่ างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ 24 มกราคม 2549

Download Report

Transcript การเจรจาด้ านการเปิ ดตลาดสินค้ า FTA ไทย-สหรัฐฯ อภิรดี ตันตราภรณ์ กรมเจรจาการค้ าระหว่ างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ 24 มกราคม 2549

การเจรจาด้ านการเปิ ดตลาดสินค้ า
FTA ไทย-สหรัฐฯ
อภิรดี ตันตราภรณ์
กรมเจรจาการค้ าระหว่ างประเทศ
กระทรวงพาณิชย์
24 มกราคม 2549
ความสาคัญของตลาดสหรัฐฯในการทา FTA
• ตลาดส่งออกอันดับหนึ่ งของไทย การส่งออกของไทยในปี 2004 มี
มูลค่าประมาณ 15,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (ปี 2005 ม.ค.-พ.ย. ส่งออก 15,500 ล้าน
เหรียญ คิดเป็ นร้อยละ 15.4 ของการส่งออกทัง้ หมด)
Japan
14% $13,000mn
United States
15%
$15,000mn
สหรัฐฯเป็ นตลาดส่งออก
สาคัญทีส่ ดุ ของไทย
EU - 25
14%
ตลาดส่งออกของไทยปี 2004
ASEAN - 10
22%
Source: World Trade Atlas, 2006
China
8%
$7,000mn
Others
27%
ความสาคัญของตลาดสหรัฐฯในการทา FTA
• การแข่งขันเพิ่มมากขึน
้ จากจีน และประเทศทีส่ หรัฐฯ มี FTA ด้วย
เช่น CAFTA ในสินค้าพาสตา อาหารสาเร็จรูป โทรทัศน์ เสือ้ ผ้าสาเร็จรูป
18,000
16.0
17,500
10.0
150,000
8.0
100,000
6.0
4.0
50,000
ไทย
US Import Value (Mil.USD)
12.0
Share in Total Imports (%)
จีน
US Import Value (Mil.USD)
14.0
200,000
1.4
1.4
17,000
16,500
1.3
16,000
15,500
1.3
15,000
1.2
14,500
14,000
1.2
13,500
2.0
13,000
0.0
0
Value
Share
Source:
World Trade Atlas, 2006
1.1
2000 2001 20022003 2004
Value
Share
ส่วนแบ่งตลาดของสินค้าไทยในสหรัฐฯลดลงอย่างต่อเนื อ่ ง
Share in Total Imports (%)
250,000
แนวโน้ มการค้าระหว่างไทย-สหรัฐฯ
มูลค่า
%
Billion
การส่งออกของไทยไป
สหรัฐฯ
มูลค่าเพิ่มขึน้ มาก แต่
ส่วนแบ่งตลาดลดลง
17
1.30
16
1.25
ส่ วนแบ่งตลาด
Billion
การส่งออกของสหรัฐฯ
มายังไทย
มูลค่าเพิ่มขึน้ น้ อยกว่า ส่วน
แบ่งตลาดลดลงเร็วกว่า
1.20
15
2002
2003
8
2004
มูลค่า
7
%
10
9
ส่ วนแบ่งตลาด
6
2002
2003
2004
8
ความสาคัญของตลาดสหรัฐฯในการทา FTA
โครงการ GSP ของสหรัฐฯจะหมดอายุภายใน 31 ธ.ค.
2549 และไม่มีการันตีใดว่าไทยจะได้ต่ออายุ
Source: กรมศุลกากร และ WTA 2006
3,500.0
25.00%
3,000.0
20.00%
สั ดส่ วนการส่ งออกของไทย
ภายใต้ โครงการ GSP สหรัฐฯ
2,500.0
15.00%
2,000.0
1,500.0
10.00%
1,000.0
5.00%
500.0
0.0
0.00%
2001
2002
Exports Value
2003
2004
% of total exports to U.S.
ไทยพึง่ พิงการส่งออกภายใต้ GSP ของสหรัฐฯสูงขึ้นโดยตลอด
กระบวนการเจรจาลดภาษี ของไทย
• จัดกลุ่มสินค้าตามความพร้อม
สิ นค้ าอ่ อนไหวสู ง
2. สิ นค้ าปกติ 3. สิ นค้ าอ่ อนไหว ลดภาษียาวกว่ าสิ บปี
พร้ อมลดภาษีใน ลดภาษีเป็ น 0 ใน และมีมาตรการ
5 ปี
10 ปี
ปกป้องเพิม่ เติม
4.
1. สิ นค้ า
พร้ อมลดภาษี
เป็ น 0 ทันที
• หารือกับตัวแทนภาคเอกชน และหน่ วยงานอื่นๆ
ศึกษา
(ทบทวน)
จัดทา
ข้อเสนอ
หารือหน่ วยงาน
ภาครัฐ และเอกชน
ที่เกี่ยวข้อง
ปรับปรุง
ข้อเสนอ
ยื่น
ข้อเสนอ
สหรัฐฯ
ตอบสนอง
สถานะการเจรจาล่ าสุ ด
• มีการเจรจาเรื่องการลดภาษี ไปแล้ว 4 รอบ
• แลก Initial Request กับสหรัฐฯในเดือน ต.ค. 2548
• แลก Improved Offer ในเดือน ธ.ค. 2548 (สองฝ่ าย
ปรับปรุงข้อเสนอของตนเองให้ดีข้ ึน)
• ล่าสุดสามารถตกลงลดภาษี เหลือ 0 ทันทีไปแล้ว
ประมาณ 70%
• จะมีการแลกเปลี่ยน Improved Offer กันอีกครังใน
้
เดือน ก.พ. 2549 นี้
สินค้าที่ สหรัฐฯจะเปิดตลาดให้ไทย
มูลค่าการนาเข้ารวมของสหรัฐฯจากไทย $17,259mn
ลดภาษีทนั ที
$12,810mn (74%)
• เครื่องใช้ไฟฟ้ าอิเล็กทรอนิกส์
($1,400mn)
• เครื่องแก้ว เซรามิค ($267mn)
• พลาสติก
($218mn)
• ผลิตภัณฑ์จากยาง ($147mn)
• ผลิตภัณฑ์จากไม้
($140mn)
• อาหารแปรรูป
($136mn)
• ผลิตภัณฑ์เหล็ก
($120mn)
ภายใน 5 ปี
ภายใน 10 ปี
$1,790mn (11%)
 เครื่องประดับมณี / เงิน / ทอง
(11 พิกดั $738mn)
 เครื่องนุ่งห่ม (297 พิกดั $639mn)
 รองเท้า
(48 พิกดั $212mn)
 ชุดสายไฟรถยนต์(1 พิกดั $149mn)
 นาฬิกาและส่วนประกอบ
(59 พิกดั $128mn)
 ผลิตภัณฑ์พลาสติกบางรายการ
(5 พิกดั $95mn)
• เซรามิค
(15 พิกดั $44mn)
 ผักผลไม้แปรรูป (32 พิกดั $34mn)
$2,119mn (12%)







เครื่องนุ่งห่ม (823 พิกดั $1,563mn)
ปลาทูนากระป๋อง (4 พิกดั $254mn)
ยานยนต์/ชิ้นส่วน (117 พิกดั $159mn)
ข้าว
(2 พิกดั $158mn)
ผัก ผลไม้ แปรรูป (43 พิกดั $70mn)
รองเท้า
(13 พิกดั $22mn)
น้าตาล
(51 พิกดั $7mn)
สิ นค้าที่เหลือเป็ นสิ นค้า Sensitive
ที่สดุ ของสหรัฐฯ จานวน 529 พิ กดั (3%)
• เครื่องนุ่งห่ม รองเท้ากีฬา (บางรายการ)
• ปลาทูนากระป๋อง (บางรายการ)
• รถปิกอัพ
• สินค้าเกษตร TRQ ได้แก่ น้ าตาล ใบยาสูบ
สินค้าที่ ไทยจะเปิดตลาดให้สหรัฐฯ
มูลค่าการนาเข้ารวมของไทยจากสหรัฐฯ $ 7,108mn
ลดภาษีทนั ที
ภายใน 5 ปี
$5,055mn (71%)
$791mn (11%)
• เครื่องใช้ไฟฟ้ าอิเล็กทรอนิกส์
($972mn)
• เคมีภณ
ั ฑ์และปุ๋ย
($568mn)
• เหล็กและเหล็กกล้า ($241mn)
• เยื่อกระดาษและไม้ ($108mn)
• เรือ
($60mn)
• ผลิตภัณฑ์ยาง
($48mn)
• ผลิตภัณฑ์น้ามัน
($43mn)
 เครื่องใช้ไฟฟ้ าอิเล็กทรอนิกส์
($194mn)
 ผลิตภัณฑ์พลาสติกบางรายการ
($122mn)
 ข้าวสาลี
($91mn)
 อุปกรณ์ทศั นศาสตร์และอุปกรณ์
ทางการแพทย์
($73mn)
 กระดาษและหนังสือ ($53mn)
 เครื่องมือเครื่องใช้ทาด้วยโลหะ
($29mn)
ภายใน 10 ปี
$1,031mn (15%)
 เครื่องใช้ไฟฟ้ าอิเล็กทรอนิกส์
(18 พิกดั $226mn)
 ผลิตภัณฑ์เหล็ก (8 พิกดั $193mn)
 ผลิตภัณฑ์พลาสติกบางรายการ
(10 พิกดั $190mn)
 อุปกรณ์เครื่องวัดเครื่องตรวจสอบ
(4 พิกดั $96mn)
 เครื่องสาอางและสบู่ (2 พิกดั $51mn)
 เภสัชภัณฑ์
(2 พิกดั $45mn)
 เครื่องปรุงแต่งอาหาร (5 พิกดั $45mn)
สิ นค้าที่เหลือเป็ นสิ นค้า Sensitive และสิ นค้า TRQ ของไทย จานวน 93 พิ กดั (3%)
• นมและผลิตภัณฑ์นม
• ถัวเหลื
่ อง มันฝรัง่ กระเทียม กาแฟ ข้าวโพด
• ไก่ เนื้อวัว และเครื่องใน
การมีส่วนร่วมในการเจรจาลดภาษี
สินค้าทัง้ หมด 97 กลุ่ม
สิ นค้ าเกษตร
สนง. เศรษฐกิจ
การเกษตร
สิ นค้ าอุตสาหกรรม
กรมเจรจาการค้ า
ระหว่ างประเทศ
สิ่ งทอ เครื่องนุ่งห่ ม
กรมการค้ าต่ าง
ประเทศ
สนง.เศรษฐกิจการคลัง สนง.เศรษฐกิจอุตสาหกรรม กรมศุลกากร
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
สภาหอการค้าไทย
ประชาชน
ทัวไป
่
SMEs
Parliament
Media
NGOs
ทุกฝ่ ายสามารถมีส่วนร่วมในการเจรจาได้ผา่ นช่องทางและหน่ วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง
ประเด็นการเจรจาสินค้าอื่นๆ
เพื่อให้สินค้าไทยสามารถเข้าสู่ตลาดสหรัฐฯได้จริง ทีมเจรจาจาเป็ นต้องเจรจา
ในประเด็นอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการลดภาษี รวมถึงมาตรการที่สามารถใช้เพื่อ
บรรเทาผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้า
•
•
•
•
•
กฎแหล่งกาเนิดสินค้า (Rules of Origin)
กระบวนการศุลกากร (Customs Procedures)
มาตรฐานสุขอนามัย (SPS)
มาตรฐานสินค้าอุตสาหกรรม (TBT)
มาตรการปกป้ องสินค้าเกษตร (Agricultural
Safeguard)
กฎแหล่งกาเนิดสินค้า (Rules of Origin)
• แบ่งเกณฑ์การคิดแหล่งกาเนิดเป็ น 3 ประเภท คือ
>> Wholly Obtained (กฎการใช้วตั ถุดบิ ในประเทศทัง้ หมด)
เช่น สินค้าเกษตร
>> Substantial Transformation (กฎการแปรสภาพ)
- เปลีย่ นพิกดั ทางศุลกากร เช่น ปลาทูนากระป๋อง ผลไม้กระป๋อง
- ผ่านกระบวนการผลิตทีเ่ ป็ นกระบวนการทีส่ าคัญ เช่น เคมีภณั ฑ์
>> Local Content (กฎสัดส่วนการใช้วตั ถุดบิ ในประเทศ)
เช่น รถยนต์ เครือ่ งใช้ไฟฟ้า
• เกณฑ์การคิดแหล่งกาเนิดของสินค้าสิง่ ทอและเครือ่ งนุ่งห่ม
>> Yarn Forward และข้อเสนอไทยเรือ่ ง Short Supply List และ TPL (Trade
Preference Level)
มาตรการปกป้ องสินค้าเกษตร
(Special Safeguard)
• เป็ นมาตรการทีใ่ ห้ความคุม้ ครองแก่สนิ ค้าเกษตรทีม่ คี วามอ่อนไหวสูง เช่น
เนื้อวัว ผลิตภัณฑ์นม เครือ่ งในสัตว์ องุน่ สด/แห้ง เป็ นต้น (นอกเหนือจาก
TRQ)
• สินค้าทีไ่ ด้รบั ความคุม้ ครองจะเป็ นสินค้าทีย่ งั ไม่ได้รบั ความคุม้ ครองจาก
มาตรการโควตา TRQ ใน FTA
• ขณะนี้อยูร่ ะหว่างการเจรจาเรือ่ งรายการสินค้าทีจ่ ะอยูใ่ นข่ายได้รบั ความ
คุม้ ครองจากมาตรการนี้
• กระทรวงเกษตรเป็ นหน่วยงานหลักในการเจรจาเรือ่ งมาตรการปกป้อง
มาตรการสุขอนามัยพืชและสัตว์ (SPS) /
อุปสรรคทางเทคนิคและมาตรฐานสินค้า (TBT)
SPS
TBT
• ไทยเสนอให้ใช้ Mutual Recognition
Agreement เป็ นเครือ่ งมือให้สองฝา่ ย
ยอมรับมาตรฐานซึง่ กันและกัน (กาลัง
เจรจา)
• ล่าสุดได้ตกลงจัดตัง้ คณะกรรมการ
ร่วมมาตรฐานสุขอนามัยภายใต้
FTA ทีจ่ ะช่วยป้องกัน และแก้ไขเมือ่ มี
ปญั หา SPS เกิดขึน้
• สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตร
และอาหารแห่งชาติ (มกอช.) เป็ น
หน่วยงานหลักในการเจรจา
• ไทยเสนอใช้ MRA เป็ นเครือ่ งมือให้ม ี
การยอมรับมาตรฐานซึง่ กันและกัน
(กาลังเจรจา)
• ไทยผลักดันให้มกี ารจัดตัง้
คณะกรรมการร่วมด้านมาตรฐาน
TBT เช่นเดียวกับ SPS
• สานักงานมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม (สมอ.) เป็ น
หน่วยงานหลักในการเจรจา
รายละเอียดและข้อมูลเพิ่มเติม
Website
www.thaifta.com
www.dtn.moc.go.th
สอบถามข้ อมูลเพิม่ เติม Call Center
โทร. 02-507-7555
02-507-7680
02-507-7687