ดาวน์โหลดไฟล์แนบ - otopphitsanulok.com

Download Report

Transcript ดาวน์โหลดไฟล์แนบ - otopphitsanulok.com

การดักจับความร้ ู ด้วยเครื่ องมือ
“AAR”
เครื่องมือดักจับความรู้ หลังการปฏิบัติ
“After Action Review (AAR)”
• หมายถึง เครื่ องมือถอดบทเรียน หรือองค์ ความรู้
• เป็ นการรวบรวมบทเรียนที่ได้ จากการปฏิบัติ
• บางคนเรียกว่ า เครื่องมือวิเคราะห์ หลังปฏิบัติ การทบทวน
หลังปฏิบัตงิ าน การทบทวนหลังทากิจกรรม ไม่ ว่าการ
ปฏิบัตนิ ัน้ จะสาเร็จหรือล้ มเหลว
เครื่องมือดักจับความรู้ หลังการปฏิบัติ
“After Action Review (AAR)”
มีประโยชน์ อย่ างไร?
• เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การทางาน
• เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน
• เพื่อให้ ทมี สามารถทาได้ ดีขนึ ้ ในครั ง้ ต่ อไป
• เพื่อแก้ ปัญหาที่เกิดขึน้ และ
• เพื่อไม่ ให้ เกิดปั ญหานีข้ นึ ้ อีก
ขัน้ ตอนการทาAAR
8. สรุ ปได้ ชุดข้ อเสนอแนะ นาไปปฏิบัตไิ ด้ ทันที
7. วิเคราะห์ แสวงหาสิ่งที่จะทาต่ อไปให้ ดีขึน้ อย่ างไร
6. เล่ าประสบการณ์ ภายใต้ คาถามหลัก 4 คาถาม
5. ทบทวนการดาเนินงานตามวัตถุประสงค์
4. กาหนดประเด็น ถอดบทเรียน (4 คาถามสาคัญ)
3. สร้ างบรรยากาศการเรียนรู้ (คุยกันฉันมิตร ไม่ จับผิด)
2. ระบุผ้ ูเข้ าร่ วมในกระบวนการ (ทุกคนในทีมงาน)
1. กาหนดเวลา (หลังสถานการณ์ จบสิน้ ทันที)
4 คาถามสาคัญในการใช้ เครื่องมือ AAR
1.
2.
3.
4.
ท่ านมีความคาดหวังอะไรในการทางานครัง้ นัน้ ?
สิ่งที่เกิดขึน้ จริงเป็ นไปตามคาดหวังหรือไม่ อย่ างไร?
ทาไมถึงเป็ นเช่ นนัน้ ?
หากท่ านจะต้ องดาเนินการในเรื่องนัน้
ครัง้ ต่ อไป ท่ านจะทาอย่ างไร?
แบบบันทึกการดักจับความรู้หลังการปฏิบตั ิ (AAR)
ทานมี
ความคาดหวังอะไรในการทางาน
่
ครัง้ นั้น?
1
3
ทาไมถึงเป็ นเช่นนั้น?
2
สิ่ งทีเ่ กิดขึน
้ จริงเป็ นไปตามคาดหวังหรือไม่
อยางไร?
่
หากทานจะต
องด
าเนินการในเรือ
่ งนั้นครัง้
่
้
ตอไป
ทานจะท
าอยางไร?
่
่
่
4
คาดหวังอะไรกับ
งานครั ง้ นี?้
สิ่งที่เกิดขึน้ จริงคือ
อะไร?
ทาไมเป็ นเช่ นนัน้ ?
ต่ อไปจะปรั บปรุ ง
พัฒนาให้ ดีขนึ ้
อย่ างไร?
ให้ กลุ่มร่ วมกันทบทวน วิเคราะห์ และสะท้ อนประสบการณ์ ในการ
เข้ าร่ วมอบรมหลักสูตรนักวิชาการพัฒนาชุมชน โดยใช้ เครื่ องมือ
ดักจับความรู้ หลังการปฏิบัติ (After Action Review: AAR)
ให้ ส มาชิ ก ทุ ก คนเล่ า เรื่ องประสบการณ์ ก ารท างานตามประเด็ น
ต่ อไปนี ้
๑.๑ ท่ านมีความคาดหวังอะไรในการเรียนรู้จากการอบรมครัง้ นี ้
๑.๒ สิ่งที่เกิดขึน้ จริงเป็ นไปตามคาดหวังหรือไม่ อย่ างไร
๑.๓ ทาไมถึงเป็ นเช่ นนัน้
๑.๔ หากต้ องดาเนินการในเรื่องนีค้ รัง้ ต่ อไป ผู้จัดการอบรมควรทา
อย่ างไรให้ ดีกว่ าเดิม
ให้ ทุกกลุ่มกลับเข้ าที่ประชุมเวลา 14.10 น. (15.20 น.) และนาเสนอ
ผลต่ อที่ประชุม กลุ่มละ ไม่ เกิน 10 นาที
วิธีปฏบัตทิ ่ ดี ี
AAR
ทานมี
ความ
่
คาดหวังอะไรใน
การทางานครัง้
นั้น?
สิ่ งทีเ่ กิดขึน
้ จริง
เป็ นไปตาม
คาดหวังหรือไม่
อยางไร?
่
ทาไมถึงเป็ น
เช่นนั้น?
ในเรือ
่ งนี้ครัง้ ตอไป
่
จะปรับปรุง/พัฒนา
อยางไร?
่
ถอดความรู้
เขาทาได้
อย่ างไร
ทาได้ เกินความ
คาดหวัง
คู่มือ
ทาได้ ไม่ เป็ นไปตาม
ความคาดหวัง
บทเรียน
ต้ องแก้ ไข
วางแผน
ปรับปรุ ง/
พัฒนา
ข้ อพึง
ระวัง
สรุ ปเคล็ดลับการทาAAR
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ควรทา AAR ทันทีหรื อเร็วที่สุดหลังจากจบงานนัน้ ๆ
ทุกคนในทีมงานต้ องเข้ าร่ วมถอดบทเรี ยน
ใช้ คาถามปลายเปิ ดเพื่อให้ เกิดการแลกเปลี่ยน
ไม่ มีการกล่ าวโทษ ซา้ เติม ตอกยา้ ซึ่งกันและกัน ไม่ มีความเป็ นเจ้ านายหรือ
ลูกน้ อง มีแต่ บรรยากาศที่เป็ นกันเอง
มี "คุณอานวย" คอยอานวยความสะดวก กระตุ้น ตัง้ คาถามให้ ทุกคนได้ แสดง
ความคิดเห็น ข้ อเสนอแนะของตน
ถามตัวคุณเองว่ าผลที่คาดว่ าควรได้ รับคืออะไร
หันกลับมาดูว่าสิ่งที่เกิดขึน้ จริงคืออะไร
ความแตกต่ างคืออะไร ทาไมจึงแตกต่ าง
จดบันทึก เพื่อเตือนความจาว่ า วิธีการใดบ้ างที่คุณได้ เคยนามาแก้ ปัญหาแล้ ว
ข้ อคิดในการทาAAR
• อยากให้ ทุกท่ านลองนา AAR ไปใช้ กับกิจกรรมหลาย ๆ อย่ าง
ทัง้ ในส่ วนของงานประจาการจัดประชุม สัมมนากิจกรรมพัฒนาชุมชน
ต่ าง ๆ
• AAR คงไม่ ใช่ คาตองสุดท้ ายสาหรั บงานทุกอย่ าง เมื่อคนเปลี่ยน เวลา
เปลี่ยน สถานที่เปลี่ยน ปั ญหาย่ อมเปลี่ยน วิธีแก้ ปัญหาก็
ต้ องเปลี่ยนไปด้ วยเช่ นกัน
• AAR มิได้ จบลงที่เอกสารสรุ ปหรื อรายงาน แต่ จะต้ องนาไปสู่การปฏิบัติ
ครั ง้ ต่ อไปที่เกิดจากทีมงานช่ วยกันวางแผนให้ การทางานดีขนึ ้ กว่ าเดิม
• “คุณอานวย” เป็ นผู้มีบทบาทหลัก ความสาเร็จของ AAR จึงขึน้ กับีี มือ
และประสบการณ์ ของคุณอานวยเป็ นอย่ างมาก